52
25 5 7 T R a i n Êํҹѡ¨Ñ´¡Ò÷ÃѾÂҡûÒäÁ·Õ่ 13 (ʧ¢ÅÒ) ÊÃØ»¼Åâ¤Ã§¡Òý¡ÍºÃÁÃÒɮà ËÅÑ¡Êٵà ¡ÒúÃÔËÒèѴ¡Òþ×é¹·Õè â´Â¡ÒÃʹѺʹع¨Ò¡ÀÒ¤ÃÑ° i n g http://issuu.com/frmo13/docs

สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

Embed Size (px)

DESCRIPTION

เอกสารรายงานสรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฏรหลักสูตร การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2557 โดยส่วนจัดการป่าชุมชน สำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 13 (สงขลา)

Citation preview

Page 1: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

2 5 5 7

T R a i n

Êํҹѡ¨Ñ´¡Ò÷ÃѾÂҡû�ÒäÁ�·Õ่ 13 (ʧ¢ÅÒ)

ÊÃØ»¼Åâ¤Ã§¡Òý�¡ÍºÃÁÃÒÉ®Ã Ë ÅÑ ¡ ÊÙ µ à ¡ Ò Ã º ÃÔ Ë Ò Ã ¨Ñ ´ ¡ Ò Ã ¾×é ¹ ·Õè â ´  ¡ Ò Ã Ê ¹Ñ º Ê ¹Ø ¹ ¨ Ò ¡ À Ò ¤ ÃÑ °

i n g

http://issuu.com/frmo13/docs

Page 2: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

คํานํา

สํานักจัดการทรัพยากรปาไมที่ 13 (สงขลา) ไดดําเนินการจัดกิจกรรมฝกอบรม

ราษฎร หลักสูตร การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ ระหวางวันที่ 20 – 21

กุมภาพันธ 2557 ณ ศูนยถายทอดเทคโนโลยีดานวิจัยปาไมสงขลา ภาคใต หมูที่ 1 ตําบลเขาพระ

อําเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา โดยเปนกิจกรรมตามแผนงานอนุรักษและจัดการทรัพยากรธรรมชาติ

ผลผลิตที่ 1 พื้นท่ีปาไมไดรับการบริหารจัดการ กิจกรรมหลักสงเสริมการจัดการปาชุมชน กิจกรรม

สงเสริมการจัดการปาชุมชน การดําเนินกิจกรรมในครั้งนี้สําเร็จลุลวงลงดวยดีและไดรับผลตอบรับ

เปนที่นาพอใจ

การสรางความเขมแข็งใหกับองคกรชุมชน ทั้งการสรางองคความรูที่หลากหลาย

การแลกเปลี่ยนประสบการณดําเนินงานปาชุมชนของทุกชุมชนที่เขารวมการฝกอบรมครั้งนี้ คาดหวัง

ไดวาจะเกิดประโยชนทัง้ตอชุมชนเอง และตอการปฏิบัติงานสงเสริมการจัดการปาชุมชนของเจาหนาที่

ปาไมใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตอไปในอนาคต สํานักจัดการทรัพยากรปาไมที่ 13

(สงขลา) ยินดีนอมรับทุกความคิดเห็นเพื่อจะนําไปแกไข ปรับปรุง พัฒนา และผลักดันการปฏิบัติงานทุก

ภารกิจที่เกี่ยวเนื่องกับปาชุมชนใหประสบผลสําเร็จ อํานวยประโยชน ตอบสนองตอความตองการของ

ประชาชน โดยมุงมั่นปฏบิัติภารกิจอยูบนพื้นฐานวิสัยทัศนของกรมปาไม ท่ีมุงเนนเปนหนวยงานหลักใน

การจัดการทรัพยากรปาไม เพื่อประโยชนสูงสุดของประเทศ

สํานักจัดการทรัพยากรปาไมท่ี 13 (สงขลา)

มีนาคม 2557

Page 3: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

สารบัญ

เรื่อง หนา

สรุปผลการฝกอบรม โครงการฝกอบรมราษฎร

หลักสูตร การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ ประจําป 2557 1

สรุปผลความพึงพอใจการถายทอดความรู

การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ ประจําป 2557 3

แผนภูมิแทงสรุปภาพรวมประเมินความพึงพอใจ 5

หลักการเศรษฐกิจพอเพียง 9

กฎหมายวาดวยการปาไมที่เกี่ยวของกับการจัดการปาชุมชน 15

แนวคิดและหลักการสงเสริมการมีสวนรวมการบริหารจัดการปาชุมชน 17

การใชประโยชนไมเทพทาโรและการทําผลิตภัณฑจากน้ํามัน 21

หอมระเหยเทพทาโร

สรุปผลการระดมความคิดในการจัดทําแผนการบริหารจัดการปาชุมชน 30

ภาคผนวก

โครงการฝกอบรมราษฎร หลักสูตร การบริหารจัดการพื้นที่

โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ ประจําป 2557

คํากลาวรายงานตอประธานในพิธีเปดโครงการฝกอบรมราษฎร

คํากลาวของประธานในพิธีเปดโครงการฝกอบรมราษฎร

คํากลาวรายงานตอประธานในพิธีปดโครงการฝกอบรมราษฎร

คํากลาวของประธานในพิธีปดโครงการฝกอบรมราษฎร

คําสั่งแตงตั้งคณะทํางานดําเนนิการจัดฝกอบรมราษฎร หลักสูตร

การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ ประจําป 2557

Page 4: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

สรุปผลการฝกอบรม

โครงการฝกอบรมราษฎร

หลักสูตร “การบริหารจัดการพื้นท่ีโดยการสนับสนุนจากภาครัฐ”

ประจําป 2557

1. ชื่อกิจกรรม โครงการฝกอบรมราษฎรหลักสูตร การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุน

จากภาครัฐ

2. หนวยงาน สวนจัดการปาชุมชน สํานักจัดการทรัพยากรปาไมท่ี 13 (สงขลา)

3. ผูรับผิดชอบหลักของกิจกรรม สวนจัดการปาชุมชน สํานักจัดการทรัพยากรปาไมท่ี 13

(สงขลา)

4. หลักการและเหตุผล กรมปาไม ซึ่งมีหนาท่ีโดยตรงในการดูแลบํารุงรักษาทรัพยากร

ปาไมของชาติเล็งเห็นวาการมสีวนรวมของชุมชนตอการจัดการ

ทรัพยากรปาไม เปนสิ่งท่ีมีความสําคัญอยางยิ่ง ดังนั้น กรมปาไมจึงได

สงเสริมและสนับสนุนใหชุมชนในทองถิ่นตาง ๆ เกิดความรูสึกรวมเปน

เจาของทรัพยากรปาไม และมีสวนรวมกับเจาหนาท่ีของรัฐในการจัดการ

ปา ตลอดจนใชเปนแหลงอาหารและไมใชสอยตามธรรมชาติ ซึ่งเปน

แนวทางท่ีสอดคลอง และสนับสนุนแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงแนวทาง

หนึ่ง ท่ีสามารถเสริมสรางใหสมาชิกชุมชนเหลานั้นมีความผูกพัน และ

สามารถพัฒนาภูมิปญญาและศักยภาพของชุมชนในการจัดการปา

ดังนั้น เพื่อเปนการเสริมสรางใหสมาชิกชุมชนมีการพัฒนา

ภูมิปญญาและศักยภาพของชุมชนในการจัดการปา ใหตอบสนอง

ทั้งในดานการอนุรักษและเอื้อตอความเปนอยูที่ดีขึ้น การฝกอบรม

ใหความรูแกชุมชน ดานวิชาการการบริหารจัดการปา และการพัฒนา

อาชีพดานปาไม จึงนับเปนปจจัยสําคัญของความสําเร็จดังกลาว

1

Page 5: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

5. กิจกรรม

5.1 วิธีดําเนินการ

ดําเนินการฝกอบรมตัวแทนราษฎรจากหมูบานเปาหมายกิจกรรมสงเสริมการจัดการ

ปาชุมชน ในพื้นที่จังหวัดสงขลาและจังหวัดสตูล ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2557 จํานวน 2 หมูบาน

หมูบานละ 10 คน รวม 20 คน ประกอบดวยภาคบรรยาย ภาคศึกษาดูงาน และภาคการระดม

ความคิด ดังนี้

ภาคบรรยาย จัดหลักสูตรการบรรยายโดยเนนใหผูเขารับการฝกอบรมมีความรู

ความเขาใจเกี่ยวกับการบริหารจัดการปาและแนะนําแนวทางในการสงเสริมพัฒนาอาชีพดานปาไม

จํานวน 2 วิชา ดังนี้

1. แนวคิดและหลกัการในการดําเนนิงานสงเสริมการจัดการปาชุมชน

2. การจัดทําแผนบริหารจัดการปาชุมชน

ภาคการศึกษาดูงาน จัดการศึกษาดูงานในพื้นที่ที่มีการบริหารจัดการปาชุมชน

ที่ประสบความสําเร็จโดยเปนที่ยอมรับของสังคม เพื่อใหผูเขารับการฝกอบรมไดเรียนรูวิธีการและ

เทคนิคในการบริหารจัดการพื้นที่ปาชุมชนจากประสบการณของชุมชนซึ่งประสบความสําเร็จในการ

ดําเนินการ

ภาคการระดมความคิด ใหผู เขารับการฝกอบรมระดมความคิดในการวางแผน

ดานการบริหารจัดการปาในพืน้ที่หมูบานของตนเอง โดยสรุปปญหา สาเหตุ ความมุงหวัง มาตรการ

หรือแนวทางในการบรรลุความมุงหวัง

5.2 พื้นท่ีดําเนินการ

ภาคบรรยาย ณ ศูนยถายทอดเทคโนโลยีดานวิจัยปาไมสงขลา ภาคใต หมูที่ 1

ตําบลเขาพระ อําเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

5.3 ระยะเวลาดําเนินการ 20 – 21 กุมภาพันธ 2557

5.4 ผลการดําเนินงาน

ผูเขารับการฝกอบรม จํานวน 20 คน เปนตัวแทนจากหมูบานเปาหมายกิจกรรม

สงเสริมการจัดการปาชุมชน ประจําป 2557 ในพื้นท่ีจังหวัดสงขลาและจังหวัดสตูล ดังนี้

1. บานคลองหวยบา หมูที่ 2 ตําบลปาแกบอหิน อําเภอทุงหวา จังหวัดสตูล

2. บานสวน หมูที่ 8 ตําบลควนโส อําเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา

2

Page 6: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

สรุปผลความพึงพอใจการถายทอดความรู “การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนนุจากภาครัฐ”

กิจกรรมสงเสริมการจัดการปาชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2557

ความรูความเขาใจกอนและหลังการฝกอบรม

หัวขอฝกอบรม ระดับความรูความเขาใจ

มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด กอนการฝกอบรม 1. แนวคิดและหลกัการในการดําเนนิงานสงเสริมการจัดการปาชุมชน 0 13 (65%) 6 (30%) 1 (5%) 0 2. การจัดทําแผนบริหารจัดการปาชุมชน 3 (15%) 9 (45%) 5 (25%) 3 (15%) 0 3. ศึกษาดูงาน ณ ศูนยถายทอดเทคโนโลยีดานวิจัยปาไมสงขลา ภาคใต 1 (5%) 10 (50%) 6 (30%) 3 (15%) 0 4. อื่น ๆ ที่เหมาะสมตามสภาพทองถิ่นและความตองการเรียนรูของราษฎร 0 13 (65%) 6 (30%) 1 (5%) 0 หลังการฝกอบรม 1. แนวคิดและหลกัการในการดําเนนิงานสงเสริมการจัดการปาชุมชน 1 (20%) 12 (60%) 4 (20%) 3 (15%) 0 2. การจัดทําแผนบริหารจัดการปาชุมชน 2 (10%) 11 (55%) 6 (30%) 1 (5%) 0 3. ศึกษาดูงาน ณ ศูนยถายทอดเทคโนโลยีดานวิจัยปาไมสงขลา ภาคใต 3 (15%) 9 (45%) 6 (30%) 2 (10%) 0 4. อื่น ๆ ที่เหมาะสมตามสภาพทองถิ่นและความตองการเรียนรูของราษฎร 2 (10%) 10 (50%) 7 (35%) 1 (5%) 0

Page 7: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

ความพึงพอใจในการถายทอดความรู “การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนบัสนุนจากภาครัฐ”

หัวขอ ระดับความรูความเขาใจ

มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด ดานพิธีการ พิธีการในการเปด–ปดการฝกอบรม 0 10 (50%) 8 (40%) 2 (10%) 0 ดานสถานที่/เวลา/กําหนดการ 1. ความเหมาะสมของสถานทีใ่นการจัดฝกอบรม 2 (10%) 11 (55%) 6 (30%) 1 (5%) 0 2. ความเหมาะสมของหองจัดอบรม เวที แสง และเสียง 1 (5%) 12 (60%) 6 (30%) 1 (5%) 0 3. ความสะดวกสบายในการเดินทาง 3 (15%) 11 (55%) 6 (30%) 0 0 4. ความเหมาะสมของสถานที่ศกึษาดูงาน 2 (10%) 13 (65%) 4 (20%) 1 (5%) 0 5. ความเหมาะสมของระยะเวลาในการจัดฝกอบรม 0 16 (80%) 3 (15%) 1 (5%) 0 6. การประชาสัมพนัธขอมูลขาวสารตาง ๆ เกี่ยวกับการจัดฝกอบรม 1 (5%) 14 (70%) 4 (20%) 1 (5%) 0 ดานที่พัก/อาหารและเครื่องดื่ม 1. ความปลอดภัย/สะดวกสบายของหองพัก 3 (15%) 11 (55%) 5 (25%) 1 (5%) 0 2. รายการและรสชาตอิาหาร 1 (5%) 15 (75%) 3 (15%) 1 (5%) 0 3. ของวาง (ขนมและเครื่องดื่ม) 3 (15%) 10 (50%) 7 (35%) 0 0 ดานหัวขอ/เนื้อหาบรรยาย 1. ความเหมาะสมของเนื้อหาบรรยาย 3 (15%) 15 (75%) 2 (10%) 0 0 2. ความเหมาะสมของระยะเวลาในการบรรยายแตละหัวขอ 2 (10%) 14 (70%) 2 (10%) 2 (10%) 0 ดานวิทยากร 1. ความรูความเขาใจในเนื้อหาที่บรรยายของวิทยากร 5 (25%) 12 (60%) 3 (15%) 0 0 2. ความสามารถและทักษะในการสื่อสารและถายทอดเนื้อหา 0 15 (75%) 4 (20%) 1 (5%) 0 3. สื่อ – อุปกรณ ประกอบการบรรยาย 2 (10%) 12 (60%) 6 (30%) 0 0 4. การบริหารจัดการเวลาในการบรรยาย 1 (5%) 12 (60%) 6 (30%) 1 (5%) 0 ดานประโยชนที่ไดรับและการนําไปใช 1. ประโยชนที่ไดรับจากการเขารวมฝกอบรม 5 (25%) 12 (60%) 3 (15%) 0 0 2. ความเปนไปไดในการนาํไปใชในการปฏิบัติงาน 2 (10%) 13 (65%) 4 (20%) 1 (5%) 0 3. ภาพรวมการจัดฝกอบรมในครั้งนี ้ 3 (15%) 9 (45%) 7 (35%) 1 (5%) 0

Page 8: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

0

15

5

0

20

10

15

10

65

45

50

65

60

55

45

50

30

25

30

30

20

30

30

35

5

15

15

5

15

5

10

5

0

0

0

0

0

0

0

0

0 5 10 15 20 25 30 35 40 45 50 55 60 65 70 75 80 85 90 95 100

แนวคิดและหลักการในการดําเนินงานสงเสริม

การจัดการปาชุมชน (กอนฝกอบรม)

การจัดทําแผนบริหารจัดการปาชุมชน

(กอนฝกอบรม)

ศึกษาดูงาน ณ ศูนยถายทอดเทคฯดานวิจัยปาไม

สงขลา (กอนฝกอบรม)

อื่น ๆที่เหมาะสมตามสภาพทองถิ่นและความ

ตองการเรียนรูของราษฎร (กอนฝกอบรม)

แนวความคิดและหลักการในการดําเนินงานสงเสริม

การจัดการปาชุมชน (หลังอบรม)

การจัดทําแผนบริหารจัดการปาชุมชน (หลังอบรม)

ศึกษาดูงาน ณ ศูนยถายทอดเทคฯดานวิจัยปาไม

สงขลา (หลังอบรม)

อื่น ๆ ที่เหมาะสมตามสภาพทองถิ่นและความ

ตองการเรียนรูของราษฎร (หลังอบรม)

รอยละของผูตอบแบบประเมิน

นอยที่สุด

นอย

ปานกลาง

มาก

มากที่สุด

แผนภูมทิี่ 1 แผนภูมิสรุปภาพรวมประเมินความพึงพอใจของผูเขารับการฝกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการพื้นท่ีโดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

ประจําป 2557 สํานักจัดการทรัพยากรปาไมที่ 13 (สงขลา)

5

Page 9: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

0

10

5

15

10

0

5

50

55

60

55

65

80

70

40

30

30

30

20

15

20

10

5

5

0

5

5

5

0

0

0

0

0

0

0

0 5 10 15 20 25 30 35 40 45 50 55 60 65 70 75 80 85 90 95 100

พิธีการในการเปด-ปดอบรม

ความเหมาะสมของสถานที่ในการฝกอบรม

ความเหมาะสมของหองจัดอบรมฯ

ความสะดวกสบายในการเดินทาง

ความเหมาะสมของสถานที่ดูงาน

ความเหมาะสมของระยะเวลาฝกอบรม

การประชาสัมพันธขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการอบรม

รอยละของผูตอบแบบประเมิน

นอยมาก

นอย

ปานกลาง

มาก

มากท่ีสุด

6

แผนภูมิที ่1 (ตอ) แผนภูมิสรุปภาพรวมประเมินความพึงพอใจของผูเขารับการฝกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการพ้ืนที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

ประจําป 2557 สํานักจัดการทรัพยากรปาไมที่ 13 (สงขลา)

Page 10: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

15

5

15

15

10

25

0

10

55

75

50

75

70

60

75

60

25

15

35

10

10

15

20

30

5

5

0

0

10

0

5

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0 5 10 15 20 25 30 35 40 45 50 55 60 65 70 75 80 85 90 95 100

ความปลอดภัย/สะดวกสบายของหองพัก

รายการและรสชาติอาหาร

ของวาง (ขนมและเครื่องดื่ม)

ความเหมาะสมของเนื้อหาบรรยาย

ความเหมาะสมของระยะเวลาในการบรรยาย

ความรูความเขาใจในเนื้อหาที่บรรยาย

ความสามารถและทักษะในการสื่อสาร

สื่อ-อุปกรณ ประกอบการบรรยาย

รอยละของผูตอบแบบประเมิน

นอยมาก

นอย

ปานกลาง

มาก

มากท่ีสุด

7

นอยมาก

แผนภูมิที่ 1 (ตอ) แผนภูมิสรุปภาพรวมประเมินความพึงพอใจของผูเขารับการฝกอบรม หลักสูตร การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

ประจําป 2557 สํานักจัดการทรัพยากรปาไมท่ี 13 (สงขลา)

แผนภูมิที่ 1 (ตอ) แผนภูมิสรปุภาพรวมประเมินความพึงพอใจของผูเขารับการฝกอบรม หลักสูตร การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ ประจําป 2557

สํานักจัดการทรัพยากรปาไมที่ 13 (สงขลา)

Page 11: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

ÀÒ¤ºÃÃÂÒÂ

Page 12: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

หลักการเศรษฐกจิพอเพียง

เศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาชี้ถึงแนวการดํารงอยู และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ

ตั้งแตระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนา และบริหารประเทศใหดําเนินไป

ในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อใหกาวทันตอโลกยุคโลกาภิวัตน ความพอเพียง

หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเปนที่จะตองมีระบบภูมิคุมกันในตัวที่ดี

พอสมควรตอการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้ จะตอง

อาศัยความรอบรู ความรอบคอบ และความระมัดระวังอยางยิ่ง ในการนําวิชาการตาง ๆ มาใชในการ

วางแผน และการดําเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะตองเสริมสรางพ้ืนฐานจิตใจของคนในชาติ

โดยเฉพาะเจาหนาท่ีของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ใหมีสํานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย

สุจริต และใหมีความรอบรูที่เหมาะสม ดําเนินชีวิต ดวยความอดทน ความเพียร มีสติ ปญญา และความ

รอบคอบ เพื่อใหสมดุล และพรอมตอการรองรับการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว และกวางขวางทั้งดาน

วัตถุ สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเปนอยางดี

การนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้เปนกรอบแนวความคิดและทิศทางการพัฒนาระบบเศรษฐกิจ

มหภาคของไทย ซึ่งบรรจุอยูในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-

2554) เพื่อมุงสูการพัฒนาท่ีสมดุล ยั่งยืน และมีภูมิคุมกัน เพื่อความอยูดีมีสุข มุงสูสังคมที่มีความสุข

อยางยั่งยืน หรือที่เรียกวา สังคมสีเขียว (Green Society) ดวยหลักการดังกลาว แผนพัฒนาฯฉบับที่ 10

นี้ จะไมเนนเรื่องตัวเลขการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ แตยังคงใหความสําคัญตอระบบเศรษฐกิจ

แบบทวิลักษณ หรือระบบเศรษฐกิจที่มีความแตกตางกันระหวางเศรษฐกิจชุมชนเมืองและชนบท

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ ไดรับการเชิดชูสูงสุดจากสหประชาชาติ(UN) โดยนายโคฟ อันนัน

ในฐานะเลขาธิการองคการสหประชาชาติ ไดทูลเกลาฯถวายรางวัล The Human Development Lifetime

Achievement Award แดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เมื่อ 26 พฤษภาคม 2549 และไดมีปาฐกถา

ถึงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงวาเปนปรัชญาที่สามารถเริ่มไดจากการสรางภูมิคุมกันในตนเองสูหมูบาน

และสูเศรษฐกิจในวงกวางขึ้นในที่สุด เปนปรัชญาที่มีประโยชนตอประเทศไทยและนานาประเทศ โดยที่

องคการสหประชาชาติ ไดสนับสนุนใหประเทศตางๆที่เปนสมาชิก 166 ประเทศ ยึดเปนแนวทางสูการ

พัฒนาประเทศแบบยั่งยืน

Page 13: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพยีง

การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ตั้งอยูบนพื้นฐานของทางสายกลาง และ

ความไมประมาท โดยคํานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสรางภูมิคุมกันที่ดีในตัว ตลอดจน

ใชความรู ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจ และการกระทํา ปรัชญา

ของเศรษฐกิจพอเพียง มีหลักพิจารณาอยู 5 สวน ดังนี้

1. กรอบแนวคิด เปนปรัชญาที่ชีแ้นะแนวทางการดํารงอยู และปฏิบัติตนในทางที่ควร

จะเปน โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนํามาประยุกตใชไดตลอดเวลา และ

เปนการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา มุงเนนการรอดพนจากภัยและวิกฤต

เพื่อความมั่นคง และความยั่งยนืของการพัฒนา

2. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนํามาประยุกตใชกับการปฏิบัติตนไดในทุก

ระดับ โดยเนนการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอยางเปนขั้นตอน

3. คํานิยาม ความพอเพียงจะตองประกอบดวย 3 คุณลักษณะ พรอม ๆ กันดังนี้

1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไมนอยเกินไป และไมมากเกินไป

โดยไมเบียดเบียนตนเอง และผูอื่น เชน การผลิต และการบริโภคที่อยูในระดับพอประมาณ

2. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น

จะตองเปนไปอยางมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปจจัยที่เกี่ยวของตลอดจนคํานึงถึงผลที่คาดวา

จะเกิดขึ้นจากการกระทํานั้น ๆ อยางรอบคอบ

3. การมีภูมิคุมกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวใหพรอมรับผลกระทบ

และการเปลี่ยนแปลงดานตาง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคํานึงถึงความเปนไปไดของสถานการณตาง ๆ ท่ีคาดวา

จะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกลและไกล

4. เงื่อนไข การตัดสินใจและการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ใหอยูในระดับพอเพียงนั้น

ตองอาศัยทั้งความรู และคุณธรรมเปนพื้นฐาน กลาวคือ

1. เงื่อนไขความรู ประกอบดวย ความรอบรูเกี่ยวกับวิชาการตาง ๆ ที่เกี่ยวของ

อยางรอบดาน ความรอบคอบที่จะนําความรูเหลานั้นมาพิจารณาใหเชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการ

วางแผน และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ

10

Page 14: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

2. เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะตองเสริมสรางประกอบดวย มีความตระหนัก

ในคุณธรรม มีความซื่อสัตยสุจริต และมีความอดทน มีความเพียร ใชสติปญญาในการดําเนินชีวิต

5. แนวทางปฏิบัติ / ผลท่ีคาดวาจะไดรับ จากการนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

มาประยุกตใช คือ การพัฒนาที่สมดุล และยั่งยืน พรอมรับตอการเปลี่ยนแปลงในทุกดาน ทั้งดาน

เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม ความรู และเทคโนโลยี

เศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหมตามแนวพระราชดําริ

เศรษฐกิจพอเพียง และแนวทางปฏิบัติของทฤษฎีใหม เปนแนวทางในการพัฒนาที่นําไปสู

ความสามารถในการพึ่งตนเอง ในระดับตางๆ อยางเปนขั้นตอน โดยลดความเสี่ยงเกี่ยวกับความ

ผันแปรของธรรมชาติ หรือการเปลี่ยนแปลงจากปจจัยตางๆ โดยอาศัยความพอประมาณและ

ความมีเหตุผล การสรางภูมิคุมกันที่ดี มีความรู ความเพียรและความอดทน สติ และปญญา

การชวยเหลือซึ่งกันและกันและความสามัคคี

เศรษฐกิจพอเพียงความหมายกวางกวาทฤษฎีใหม โดยที่เศรษฐกิจพอเพียงเปนกรอบแนวคิด

ที่ช้ีบอกหลักการ และแนวทางปฏิบัติของทฤษฎีใหม ในขณะที่แนวพระราชดําริเกี่ยวกับทฤษฎีใหม หรือ

เกษตรทฤษฎีใหม ซึ่งเปนแนวทางการพัฒนาการเกษตรอยางเปนขั้นตอนนั้น เปนตัวอยางการใชหลัก

เศรษฐกิจพอเพียงในทางปฏิบัติท่ีเปนรูปธรรมเฉพาะในพืน้ที่ที่เหมาะสม ทฤษฎีใหมตามแนวพระราชดําริ

อาจเปรียบเทียบกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมีอยู 2 แบบ คือ แบบพื้นฐาน กับแบบกาวหนา ไดดังนี้

ความพอเพียงในระดับบุคคล และครอบครัวโดยเฉพาะเกษตรกรเปนเศรษฐกิจพอเพียงแบบพื้นฐาน

เทียบไดกับทฤษฎีใหม

ขั้นท่ี 1 ที่มุงแกปญหาของเกษตรกรที่อยูหางไกลแหลงน้ํา ตองพึ่งน้ําฝน และประสบ

ความเสี่ยงจากการท่ีน้ําไมพอเพียง แมกระท่ังสําหรับการปลูกขาวเพื่อบริโภคและมีขอสมมติวา มีที่ดิน

พอเพียงในการขุดบอเพื่อแกปญหาในเรื่องดังกลาว จากการแกปญหาความเสี่ยงเรื่องน้ํา จะทําให

เกษตรกรสามารถมีขาวเพื่อการบริโภค ยังชีพในระดับหนึ่ง และใชที่ดินสวนอื่น ๆ สนองความตองการ

พืน้ฐานของครอบครัว รวมทั้งขายในสวนที่เหลือเพื่อมีรายไดที่จะใชเปนคาใชจายอื่นๆ ที่ไมสามารถผลิต

เองได ทั้งหมดนี้เปนการสรางภูมิคุมกันในตัวใหเกิดขึ้น ในระดับครอบครัว อยางไรก็ตาม แมกระทั่งใน

ทฤษฎีใหมขั้นที่ 1 ก็จําเปนที่เกษตรกรจะตองไดรับความชวยเหลือจากชุมชน ราชการ มูลนิธิ และ

ภาคเอกชน ตามความเหมาะสมความพอเพียงในระดับชุมชน และระดับองคกรเปนเศรษฐกิจพอเพียง

แบบกาวหนาซึ่งครอบคลุมทฤษฎีใหม

11

Page 15: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

ขั้นท่ี 2 เปนเรื่องของการสนับสนุนใหเกษตรกรรวมพลังกันในรูปกลุมหรือสหกรณ หรือ

การที่ธุรกิจตาง ๆ รวมตัวกันในลักษณะเครอืขายวิสาหกิจ กลาวคือ เมื่อสมาชิกในแตละครอบครัว หรือ

องคกรตาง ๆ มีความพอเพียงขั้นพื้นฐานเปนเบื้องตนแลวก็จะรวมกลุมกันเพื่อรวมมือกันสรางประโยชน

ใหแกกลุม และสวนรวมบนพื้นฐานของการไมเบียดเบียนกัน การแบงปนชวยเหลือซึ่งกันและกันตาม

กําลังและความสามารถของตน ซึ่งจะสามารถทําใหชุมชนโดยรวม หรือเครือขายวิสาหกิจนั้น ๆ

เกิดความพอเพียงในวิถีปฏิบัติอยางแทจริงความพอเพียงในระดับประเทศเปนเศรษฐกิจพอเพียงแบบ

กาวหนาซึ่งครอบคลุมทฤษฎีใหม

ขั้นท่ี 3 ซึ่งสงเสริมใหชุมชน หรอืเครอืขายวิสาหกิจ สรางความรวมมือกับองคกรอื่น ๆ

ในประเทศ เชน บริษัทขนาดใหญ ธนาคาร สถาบันวิจัย เปนตน

การสรางเครือขายความรวมมือในลักษณะเชนนี้ จะเปนประโยชนในการสืบทอด

ภูมิปญญา แลกเปลี่ยนความรู เทคโนโลยี และบทเรียนจากการพัฒนา หรือ รวมมือกันพัฒนา

ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงทําใหประเทศอันเปนสังคมใหญอันประกอบดวยชุมชน องคกร และธุรกิจ

ตาง ๆ ที่ดํ าเนินชีวิตอยางพอเพียงกลายเปนเครือขายชุมชนพอเพียงที่ เชื่อมโยงกันดวยหลัก

ไมเบียดเบียน แบงปน และชวยเหลือซึ่งกันและกันไดในที่สุด

การผลิตตามทฤษฎีใหมสามารถเปนตนแบบการคิดในการผลิตท่ีดีได ดังนี ้

1. การผลิตนั้นมุงใชเปนอาหารประจําวันของครอบครัว เพื่อใหมีพอเพียงในการบริโภค

ตลอดป เพื่อใชเปนอาหารประจําวันและเพื่อจําหนาย

2. การผลิตตองอาศัยปจจัยในการผลิต ซึ่งจะตองเตรียมใหพรอม เชน การเกษตร

ตองมีน้ํา การจัดใหมีและดูแหลงน้ํา จะกอใหเกิดประโยชนทั้งการผลิต และประโยชนใชสอยอื่น ๆ

3. ปจจัยประกอบอื่น ๆ ที่จะอํานวยใหการผลิตดําเนินไปดวยดี และเกิดประโยชน

เชื่อมโยง (Linkage) ที่จะไปเสริมใหเกิดความยั่งยืนในการผลิต จะตองรวมมือกันทุกฝาย ทั้งเกษตรกร

ธุรกิจ ภาครัฐ ภาคเอกชน เพื่อเชื่อมโยงเศรษฐกิจพอเพียงเขากับเศรษฐกิจการคา และใหดําเนิน

กิจการควบคูไปดวยกันได

การผลิตจะตองตระหนักถึงความสัมพันธระหวางบุคคล กับ ระบบ การผลิตนั้นตองยึดมั่นใน

เรื่องของ คุณคา ใหมากกวา มูลคา ดังพระราชดํารัส ซึ่ งไดนําเสนอมากอนหนานี้ที่ว า

12

Page 16: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

“…บารมีนั้น คือ ทําความดี เปรียบเทียบกับธนาคาร …ถาเราสะสมเงินใหมาก เราก็

สามารถท่ีจะใชดอกเบี้ย ใชเงินที่เปนดอกเบี้ย โดยไมแตะตองทุนแตถาเราใชมากเกินไป หรือเรา

ไมระวัง เรากินเขาไปในทุน ทุนมันก็นอยลง ๆ จนหมด…ไปเบิกเกินบัญชีเขาก็ตองเอาเรื่อง ฟอง

เราใหลมละลาย เราอยาไปเบิกเกินบารมีท่ีบานเมือง ที่ประเทศไดสรางสมเอาไวตั้งแตบรรพ

บุรุษของเราใหเกินไป เราตองทําบาง หรือเพิ่มพูนใหประเทศของเราปกติมีอนาคตที่มั่นคง

บรรพบุรุษของเราแตโบราณกาล ไดสรางบานเมืองมาจนถึงเราแลว ในสมัยนี้ที่เรากําลัง

เสียขวัญ กลัว จะไดไมตองกลัว ถาเราไมรักษาไว…”

การจัดสรรทรัพยากรมาใชเพื่อการผลิตที่คํานึงถึง คุณคา มากกวา มูลคา จะกอใหเกิด

ความสัมพันธระหวาง บุคคล กับ ระบบ เปนไปอยางยั่งยืน ไมทําลายทั้งทุนสังคมและทุนเศรษฐกิจ

นอกจากนี้จะตองไมติดตํารา สรางความรู รัก สามัคคี และความรวมมือรวมแรงใจ มองการณไกลและ

มีระบบสนับสนุนที่เปนไปได

ประการท่ีสําคัญของเศรษฐกิจพอเพียง

1. พอมีพอกิน ปลูกพืชสวนครัวไวกินเองบาง ปลูกไมผลไวหลังบาน 2-3 ตน พอที่จะมี

ไวกินเองในครัวเรือน เหลือจึงขายไป

2. พออยูพอใช ทําใหบานนาอยู ปราศจากสารเคมี กลิ่นเหม็น ใชแตของที่ เปน

ธรรมชาติ (ใชจุลินทรยีผสมน้ําถูพื้นบาน จะสะอาดกวาใชน้ํายาเคมี) รายจายลดลง สุขภาพจะดีขึ้น

(ประหยัดคารักษาพยาบาล)

3. พออกพอใจ เราตองรูจักพอ รูจักประมาณตน ไมใครอยากใครมีเชนผูอื่น เพราะเรา

จะหลงติดกับวัตถุ ปญญาจะไมเกิด

"การจะเปนเสือนั้นมันไมสําคัญ สําคัญอยูที่ เราพออยูพอกิน และมีเศรษฐกิจ

การเปนอยูแบบพอมีพอกิน แบบพอมีพอกิน หมายความวา อุมชูตัวเองได ใหมีพอเพียงกับตัวเอง"

13

Page 17: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

กฎหมายวาดวยการปาไมที่เกี่ยวของกับการจัดการปาชุมชน

ในปจจุบันนี้ (2545) ประเทศไทยไดมีกฎหมายเกี่ยวกับการปาไมท่ีประกาศใชบังคับ

แลว รวมจํานวน 5 ฉบับ ไดแก

พ.ร.บ. ปาไมพุทธศักราช 2484

พ.ร.บ. ปาสงวนแหงชาติ พ.ศ. 2507

พ.ร.บ. อุทยานแหงชาติ พ.ศ. 2504

พ.ร.บ. สงวนและคุมครองสัตวปา พ.ศ. 2535

พ.ร.บ. สวนปา พ.ศ. 2535

การจัดทําโครงการปาชุมชนในเขตพื้นท่ีปาตามพระราชกําหนดปาไม พุทธศักราช 2484

บทกฎหมายที่ใชอางองิ

พระราชบัญญัติปาไม พุทธศักราช 2484

1. มาตรา 17 (วาดวยการทําไมหวงหาม) บทบัญญัติในสวนนี้มิใหใชบังคับในกรณี

ดังตอไปนี้

(1) พนักงานเจาหนาที่จัดทําไปเพื่อประโยชนในการบํารุงปา การคนควา หรือ

ทดลองในทางวิชาการ

(2) การเก็บหาเศษไม ปลายไมตายแหง ท่ีลมขอนนอนไพรอันมีลักษณะเปนไมฟน

ซึ่งไมใชไมสัก หรือไมหวงหามประเภท ข. ไปสําหรับใชสอยในบานเรือนแหงตน/หรือประกอบกิจ

ของตน

2. มาตรา 32 (วาดวยของปาหวงหาม)

บทบัญญัติในสวนนี้มิใหใชบังคับในกรณีพนักงานเจาหนาที่จัดทําไปเพื่อโยชน

ในการบํารุงปา การคนควา หรือการทดลองในทางวิชาการ

3. ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ เรื่องแตงตั้งเจาหนาท่ีตามพระราชบัญญัติปา

ไม พุทธศักราช 2484 ลงวันท่ี 1 กันยายน 2525 ขอ 2 (35)

Page 18: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

หนาท่ีและสิทธิท่ีไดรับจากโครงการปาชุมชน โครงการปาชุมชนที่ไดรับอนุมัติจากอธิบดีกรมปาไมแลว กํานัน/ผูใหญบาน ซึ่งเปนพนักงาน

เจาหนาท่ีตามพระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติ พ.ศ. 2507 และพระราชบัญญัติปาไม พุทธศักราช

2484 ประชาชน ในพื้นที่จะมีหนาท่ีและสิทธิ ดังตอไปนี้

โครงการปาชุมชนในพื้นท่ีปาสงวนแหงชาติ

1. กํานัน/ผูใหญบานเปนพนักงานเจาหนาท่ี จะตองดําเนินการตามกิจกรรมที่ไดรับอนุมัติตาม

โครงการปาชุมชน เพื่อประโยชนในการดูแลรักษา

2.ในกรณีมีความจําเปนจะตองใช ไมหรือของปาใหดําเนินการตามมาตรา 15 แห ง

พระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติ พ.ศ. 2507 กฎกระทรวงฉบับที่ 1,106 (2528) วาดวยการปาไม

ในเขตปาสงวนแหงชาติ ขอ 3 ระเบียบกรมปาไมวาดวยการอนุญาตทําไมในเขตปาสงวนแหงชาติ

พ.ศ. 2529 ขอ 20 กฎกระทรวงฉบับที่ 1,107 (2528) วาดวยการเก็บหาของปา ในเขตปาสงวน

แหงชาติ ขอ 2 ระเบียบกรมปาไมวาดวยการอนุญาตเก็บหาของปาภายในเขตปาสงวนแหงชาติ

พ.ศ. 2529 ขอ 17

โครงการปาชุมชนในเขตปาตามพระราชบัญญัติปาไม พุทธศักราช 2484

1. กํานัน/ผูใหญบานเปนพนักงานเจาหนาท่ี จะตองดําเนินการตามกิจกรรมที่ไดรับอนุมัติตาม

โครงการปาชุมชน เพื่อประโยชนในการคุมครองดูแลรักษาปา

2.ในกรณีที่มีความจําเปนจะตองใชประโยชนจากไมหรือของปาใหดําเนินการตามมาตรา

17,25,32 แหงพระราชบัญญัติปาไม พุทธศักราช 2484 และประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ

ลงวันที่ 22 มกราคม 2531 ขอ 3 ตอไป

15

Page 19: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

พระราชบัญญัติปาไม 2484

ความหมาย 1. “ปาไม” หมายความวา ท่ีดินที่ยังมิไดมีบุคคลไดมาตามกฎหมายที่ดิน

2. “ไม” หมายความวา ไมสักและไมอ่ืนทุกชนิดที่เปนตน เปนกอ เปนเถา รวมตลอดถึงไม

ที่นําเขามาในราชอาณาจักร ไมไผทุกชนิด ปาลม หวาย ตลอดจนราก ปุม ตอ เศษ ปลายและกิ่ง

ของสิ่งนั้น ๆ ไมวาจะถูกตัดทอน เลื่อย ผา ถาก ขุด หรือกระทําโดยประการอ่ืนใด

3. “ไมหวงหาม”

- ประเภท ก. ไมหวงหามธรรมดา ไดแก ไมซึ่ งการทําไมจะตองไดรับอนุญาต

จากพนักงาน เจาหนาท่ีหรือไดรับสัมปทาน

- ประเภท ข. ไมหวงหามพิเศษ ไดแก ไมหายากหรือไมที่ควรสงวน ซึ่งไมอนุญาตใหทําไม

เวนแตรัฐมนตรีจะไดอนุญาตในกรณีพิเศษ

4. “ไมสักและไมยาง” ทั่วไปในราชอาณาจักร ไมวาจะขึ้นอยูท่ีใดเปนไมหวงหามประเภท ก.

5. “ไมชนิดอื่นในปา” จะเปนไมหวงหามชนิดใด ใหกําหนดโดยพระราชกฤษฎีกา

6. “ของปา” หมายความวา บรรดาของที่เกิด หรือมีขึ้นในปาตามธรรมชาติ คือ

ก. ไม รวมทั้งสวนตาง ๆ ของไม ถานไม น้ํามัน ยางไม ตลอดจนสิ่งอ่ืน ๆ ที่เกิดจากไม

ข. พืชตาง ๆ ตลอดจนสิ่งอ่ืน ๆ ที่เกิดจากพืชนั้น

ค. รังนก ครั่ง รวงผึ้ง ขี้ผึ้ง และมูลคางคาว

ง. หินที่ไมใชแรตามกฎหมายวาดวยแรและหมายความรวมถึงถานไมที่บุคคลทําขึ้นดวย

7. ของปาอยางใดในทองที่ใดจะเปนของปาหวงหาม ใหกําหนดโดยพระราชกฤษฎีกา

8. ผูใดเก็บหาของปาหวงหาม หรือทําอันตรายดวยประการใด ๆ แกของปาหวงหามในปา

ตองไดรับอนุญาตจากพนักงานเจาหนาที่ และตองเสียคาภาคหลวง

9. ผูใดนําไมหรือของปาเคลื่อนที่ ตองมีใบเบิกทางของพนักงานเจาหนาท่ีกํากับไปดวย

ตามขอกําหนดในกฎกระทรวง

ที่ดินที่มิใช “ปา” ตามกฎหมายวาดวยปาไมนั้น คือ ท่ีดินที่มีเอกสารของทางราชการกรมท่ีดินที่ออกให

ไดแก โฉนดที่ดิน โฉนดแผนที่ โฉนดตราจอง ตราจองท่ีตราวา “ไดทําประโยชนแลว “ นส.3, นส. 3 ก,

นส. 3 ข, แบบหมายเลข 3, นส.2, และสค. 1 เปนตน

16

Page 20: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

แนวคิดและหลักการสงเสริมการมีสวนรวมการบริหารจัดการปาชุมชน

แนวคิดเกี่ยวกับปาชุมชน

แนวคิดเกี่ยวกับ “ปาชุมชน” จัดเปนแนวคิดที่ไดรับการยอมรับอยางแพรหลาย

ปจจุบันมีการดําเนินงานทางดานนี้อยางกวางขวาง

กรมปาไม (2537) ไดอธิบายแนวคิดเกี่ยวกับ “ปาชุมชน” คือ แนวความคิดในการ

ใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการจัดการทรัพยากรปาไม ทั้งนี้เพื่อใหปาชุมชนเปนเครื่องมือสําคัญ

ในการลดความขัดแยงระหวางคนกับปาไม และคนกับคนดวยกันเองในการจัดการทรัพยากรปาไม

โดยการเสริมสรางความรูความเขาใจแกประชาชนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อการผลิต

อยางสมดุล และยั่งยืน ดวยการวางรากฐานการใชประโยชนที่ดินเพื่อการปาไมและการเกษตร

การอยูอาศัยอยางเหมาะสมกลมกลืน รวมทั้งการผสมผสานการผลิตดานการเกษตร และการปาไม

ในพื้นที่เดียวกัน ในรูปแบบของระบบวนเกษตร ที่ผสมผสานวิธคีิดของชนบทที่สงบสุขอยางแทจริง

กรมปาไม (2554) ไดอธิบายแนวคิดเกี่ยวกับปาชุมชนคือ รูปแบบการบริหารจัดการ

ทรัพยากรปาไม ท่ีไดใหความสําคัญตอผูรับประโยชนที่ใกลชิดปาที่สุด ซึ่งพึ่งพิงและอาศัยอยูกับแหลง

ปาไม ใหไดเขามามีสวนรวมในการรักษาปาที่ใกล ๆ หมูบาน เพื่อผลประโยชนของตน แนวความคิด

ดังกลาวนี้ ไดกอใหเกิดรูปแบบการจัดการปาในพื้นที่ขนาดเล็ก ที่เรียกวา “ปาชุมชน”

การสงเสริมกระบวนการมีสวนรวม

นโยบายปาไมของภาครัฐ ไดใหความสําคัญในการจัดการปาไมอยางยั่งยืน โดยสงเสริม

และสนับสนุนใหประชาชนเขามามีสวนรวม และเปนไปตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

พุทธศักราช 2540 ท่ีไดกําหนดบทบาทหนาที่ของภาครัฐจะตองสงเสริมและสนับสนุนใหประชาชน

มีสวนรวมในการสงวน บํารุงรักษา และใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ และความหลากหลาย

ทางชีวภาพอยางสมดุล (มาตรา 79)

ในสวนของกรมปาไม ไดกําหนดทิศทางการอนุรักษความสมบูรณของพื้นที่ปา

โดยใหชุมชนทองถิ่นมีบทบาทสําคัญในการจัดการปารวมกับรัฐในรูปแบบของ “ปาชุมชน” มีการปรับ

บทบาทของภาครัฐ และใชชองทางของกฎหมายเปดโอกาสใหชุมชนเขามามีสวนรวมในการจัดการ

ทรัพยากรปาไมไดอยางถูกกฎหมาย โดยจัดทําโครงการปาชุมชนเพื่อขออนุมัติจากกรมปาไม และ

Page 21: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

ภาครัฐเปนผูใหการสนับสนุนสรางความเขาใจในคุณคาของปาไมตอสิ่งแวดลอม ตลอดจนสรางคุณคา

ขององคกรชุมชนที่สามารถดูแลปาไดประสบผลสําเร็จ

“การมีสวนรวม” ในการดําเนินงานปาชุมชน เปนการรวมกันระหวางพนักงานเจาหนาที่

ตามกฎหมายวาดวยการปาไม หรือเจาหนาที่อื่นของกรมปาไมอันประกอบดวย กํานัน ผูใหญบาน

นักวิชาการปาไม เจาพนักงานปาไม เจาหนาที่ปาไมฯลฯ ที่สังกัดกรมปาไม เปนตน กับกลุมราษฎร

ในชุมชนที่รวมดําเนินการตามที่กฎหมายใหอํานาจและรับรองสิทธ์ิไวในพื้นที่ท่ีกําหนด คือในการควบคุม

ดูแล รักษา หรือบํารุงปา ในพื้นที่ปาไม (กรมปาไม, 2553)

เครือขายการมีสวนรวมในการบริหารจัดการปาชุมชน

1. บทบาทของชุมชนในการมสีวนรวมบริหารจัดการปาชุมชน

โดยพื้นฐานของสังคมไทยเปนสังคมเกษตรกรรม วิถีชีวิตของคนในชนบทตองอาศัย

พึ่งพิงปาอยางแยกไมออก ปาเปนแหลงตนน้ําลําธาร (ชุมชนใชน้ําทั้งในชีวิตประจําวัน และการเกษตร)

แหลงไมใชสอย แหลงอาหารท่ีอุดมสมบูรณซึ่งมีหมุนเวียนใหเลือกเก็บกินทุกฤดูกาล อาทิ ผักสารพัด

ชนิด ผลไมปา เห็ด เผือก มัน หนอไม แมลงตาง ๆ ท้ังท่ีอยูในดิน บนตนไม ในลําหวย ในปามีสมุนไพร

นานาชนิด ปาเปนที่อยูอาศัยของสัตวปา และบางแหงยังเชื่อวาเปนที่อยูของเจาปาเจาเขา เทวดาอารักษ

ที่ปกปองคุมครองชุมชนใหรมเย็นเปนสุข

วิถีชีวิตที่ตองพึ่งพิงปา ทําใหผูคนในชุมชนตาง ๆ ไมวาจะเปนคนบนภูเขา คนพื้นราบ

หรือคนที่อยูติดทะเล จําเปนตองดูแลรักษาปา สั่งสมและถายทอดภูมิปญญาในการใชประโยชนจากปา

ไมใหกาวล้ําไปสูการทําลาย เพราะถือวาปาเปนสมบัติของทุกคนที่ตองรักษาไวชั่วลูกชั่วหลาน

รูปแบบและวิธีการจัดการปาของชุมชนในอดีต จึงมักจะแฝงอยูในความเชื่อ จารีต

ประเพณี เชน ปาขุนน้ํา (ปาตนน้ํา) มีผีขุนน้ํารักษาอยู หามเขาไปรุกล้ํา มีการแบงเปนปาหวงหามซึ่ง

อนุรักษไวเพื่อประกอบพิธีกรรมตามความเชื่อ ปาตนน้ําเพื่อเก็บรักษาไวเปนตนน้ําลําธาร และปาใชสอย

ซึ่งอยูบริเวณชุมชนเพื่อชุมชนไดใชประโยชน เชน เลี้ยงสัตว เก็บผลผลิตจากปา เปนตน

18

Page 22: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

ในการบริหารจัดการปาโดยทั่วไป ชุมชนจะกันพื้นที่ทํากินออกจากปาใหชัดเจนไมให

ขยายที่ทํากินเพิ่มอีก แบงพืน้ที่ปาเปนเขตอนุรักษ และเขตปาใชสอยอยางชัดเจน รวมกันวางแผนงาน

เพื่อฟนฟู ดูแลรักษา และกําหนดกฎเกณฑในการใชประโยชนจากปา เชน ทําแนวกันไฟ จัดกิจกรรม

ปลูกปาทุกป จัดกิจกรรมรณรงคใหความรู เพื่อสรางจิตสํานึกรักปา โดยมีการตั้งคณะกรรมการ

ปาชุมชนประจําหมูบานขึ้นมากํากับดูแล

การจัดการปามิใชภารกิจของรัฐหนวยงานใดหนวยงานหนึ่งตามลําพัง หรือมิใชของ

บุคคลภายนอกคนใดคนหนึ่ง แตกลุมบุคคลที่สําคัญที่สุดคือ สมาชิกของชุมชนทองถิ่นซึ่งตองเขามามี

สวนรวม ดังนั้น แนวคิดในการจัดการปาโดยชุมชนมีสวนรวมคือ ชุมชนทองถิ่นมีจิตสํานึกถึงหนาที่

ในการดูแลรักษาปาและมีสิทธิที่จะใชประโยชนจากปาไปพรอมๆกัน

ดังนั้น ภาคชุมชนจึงถือไดวามีบทบาทสําคัญในการเขามามีสวนรวมในการบริหาร

จัดการปา ท้ังดานการอนุรักษ และการใชประโยชนจากปาชุมชน การรวมกําหนดกฎ กติกา หลักเกณฑ

การจัดทําฐานขอมูลทรัพยากรปาไม ความหลากหลายทางชีวภาพของปาชุมชน ตลอดจนการถายทอด

และยกระดับภูมิปญญาทองถิ่นในการจัดการปารวมกับความรูสมัยใหม โดยความสําเร็จของการ

บริหารจัดการปาชุมชนคือ ตองเปนความคิดริเริ่มของชุมชน และเปนความรวมมือของประชาชนใน

ชุมชน โดยการมสีวนรวมทุกระดับ ตั้งแตการรวมรับรู การรวมใหขอมูล การรวมคิด/วางแผนการ

ตัดสินใจ การมีสวนรวมลงมือปฏิบัติตามที่ไดตัดสินใจ การมีสวนรวมในการแบงปนผลประโยชนที่

เกิดขึ้นจากการดําเนินงาน และการมีสวนรวมตรวจสอบประเมินผล สรุปบทเรียนของการทํางาน

เพื่อปรับปรุงแกไข และขยายผลสูชุมชนอื่น ๆ โดยสรางภาคี การมีสวนรวม เพื่อรับการ

สนับสนุนจากภายนอกชุมชน ในดานความรูในการบริหารองคกร ความรูทางวิชาการ และเทคโนโลยี

ทางการปาไม การสนับสนุนวัสดุอุปกรณที่จําเปนและการสนับสนุน การจัดตั้งกองทุนพัฒนาปาชุมชน

ของหมูบาน เปนตน

2. บทบาทขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในการมสีวนรวมบริหารจัดการปาชุมชน

เนื่องจากองคกรปกครองสวนทองถิ่น (หรือ อปท.) เปนหนวยงานของรัฐที่ใกลชิดกับ

ชาวบานมากที่สุด มีโอกาสรับรูถึงศักยภาพและขอจํากัดของการพัฒนาในระดับพ้ืนที่ สามารถทําความ

เขาใจไดลึกซึ้งถึงปญหาดานเศรษฐกิจ และสังคมของทองถิ่นที่ตนเองปกครองดูแล

19

Page 23: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

จากอํานาจหนาที่ที่ไดรับมอบหมายภายใตพระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ

ใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.2552 อปท.จึงมีบทบาทสําคัญในการผลักดันกระบวนการ

แก ไขปญหาของชุมชนในทองถิ่นที่ตนเองรับผิดชอบ มีหนาที่ตองทําในการคุมครอง ดูแล และ

บํารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

3. บทบาทของภาคเอกชนและองคกรพัฒนาเอกชนในการมีสวนรวมบริหารจัดการปาชุมชน

เนื่องจากปจจุบันกระแสความตื่นตัวตอแนวคิดการทําธุรกิจที่ตองคํานึงถึงความ

รับผิดชอบตอสังคม (Corporate Social Responsibility) หรือ CSR กําลังมีมากขึ้น ซึ่งปจจัยที่ทําใหองคกร

จํานวนมากตางหันมาใหความสนใจในเรื่องการทํา CSR นั้น มาจากการดําเนินงานของอุตสาหกรรม

และธุรกิจที่มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอม หรือสรางปญหาทางสังคมและเศรษฐกิจตอประชาชน ซึ่งนับวัน

ยิ่งทวีความรุนแรงขึ้น ประกอบกับสภาพสังคมและการเมืองสมัยใหมท่ีประชาชน และผูบริโภคมีความรู

ความเขาใจในการรักษาสิทธิ และความคุมครองมากขึ้น องคกรธุรกิจเหลานี้จึงจําเปนตองหันมาใสใจ

รับผิดชอบตอสังคม และทํากิจกรรม CSR เพื่อแกปญหาในเชิงรุก

20

Page 24: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

¡ÒÃãª�»ÃÐ⪹ äÁ�à·¾·Òâà áÅСÒ÷íÒ¼ÅÔµÀѳ±¨Ò¡¹éíÒÁѹ ËÍÁÃÐàËÂà·¾·ÒâÃ

Page 25: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

1

การใชประโยชนไมเทพทาโรและการทําผลิตภัณฑจากน้ํามัน

หอมระเหยเทพทาโรทรรศนีย พัฒนเสรี

กลุมงานพัฒนาผลิตผลปาไม สํานักวิจัยและพัฒนาการปาไม กรมปาไม

1การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

การใชประโยชนเทพทาโรการใชประโยชนเนื้อไม (ลาํตนและราก)

เนื้อไม ใชเปนสวนผสมในตํารับยาแกทองรวง หอบหืด อาเจียน บําร ุงโลหิตในสตรีที่รอบเดอืนมาไมปกต ิ รากใชทํายาแกไข

ใชในการกอสราง ทําไมบุผนัง ทําแจว พาย กรรเชียงใชทําเครื่องเรือน ตู หีบใสผา เตียง สารปองกันตัวเรอืด ไร มด มอด ใชในงานแกะสลัก เปนสินคา OTOP ของจังหวัดตรังเศษไมจากงานแกะสลัก นําไปบดบรรจถุุงเปนเครื่องหอม

เชนเดียวกับบุหงา หรือผสมกาวทํางานปน ทําธูปหอม ทําแทงกํายานนําไปกลั่นนํ้ามันหอมระเหย ใชในธุรกิจสปา เครื่องสําอาง ทําเปน

ผลิตภัณฑที่มีมูลคาเพิม่2การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

การใชประโยชนเทพทาโรการใชประโยชนจากผล และใบ

ผลและใบ กลั่นน้ํามันหอมระเหยใชทําผลิตภัณฑตางๆ

ผล บีบเอาน้ํามันใชทาแกปวดเมื่อย เคล็ดขดัยอก ร ักษาแผลสด แผลเรื้อรัง แผลไฟไหมนํ้าร อนลวก แกแมลงสัตวกัดตอย แกปวดฟน

กากผลที่เหลือจากการสกัดน้ํามันออกแลวนําไปบดละเอียดใชผสม ทําธูปหอม หรือแทงกํายาน

ยอดออนรับประทานเปนผักสด มีกลิ่นหอมจากน้ํามันหอมระเหย ใชใสในแกงมัสมั่นแทนใบกระวาน หรือตากแหงชงเปนชาสมุนไพร ด ื่มบําร ุงรางกาย

3การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

น้ํามันหอมระเหย แหล งที่มา พืช ส ัตว แล ะจากการส ังเคราะหองคประกอบสารกล ุมไฮโดรคารบอน เทอรพนีส คีโตนส

แอล กอฮอล อะโรมาติก แล ะอื่นๆ ที่มีจุดเดือดต่ํา ระเหยงายที่อ ุณหภูมิหอง สวนใหญมีกล ิ่นหอมแล ะมีฤทธิ์ทางชีวภาพ เชน ไล แมลง ฆาเชื้อราแล ะแบคทีเรีย เปนตน

ประโยชน ใชเปนสมุนไพร ใชในการแตงกล ิ่นอาหาร เครื่องดื่ม ยา เครื่องส ําอาง น้ําหอม แล ะอื่น ๆ

4การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

สวนของพืชทีใ่หน้ํามันหอมระเหย

ดอก มะล ิ กุหล าบ ราตรี กระดังงา ดอกส ม

ใบ ยูคาล ิปตัส ตะไครหอม เสม็ดขาว หนาด

เมล ็ด พริกไทย จันทนเทศ กระวาน ผ ักชี

ทั้งตน

เหนือดินโหระพา กระเพรา เปปเปอรมินต

5การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

สวนของพืชที่ใหนํ้ามันหอมระเหย

6การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

Page 26: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

2

วิธีการสกัดน้ํามันหอมระเหยการกลั่นดวยน้ําหรือไอน ้ํา

Hydro or Steam

distillation

การสกัดดวยไขมันenfleurage

การสกัดดวยของเหลว

ในสภาวะยิ่งยวดเหน ือวิกฤต

Supercr itical f luid ex traction

7การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

วิธีการสกัดน้ํามันหอมระเหย

การสกัดดวยตัวทําละลาย

Solvent ex traction

การบีบExpression

8การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

การกลั่นน้ํามันหอมระเหยดวยน้ํา

9การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

ชุดกลั่นดัดแปลงจากหมอตมกวยเตี๋ยว

10การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

น้ํามันหอมระเหยเทพทาโร

น้ํามันจากเนื้อไม ใหกล ิ่นคล ายรูทเบยีรเทานั้น องคประกอบหลกัทางเคมีมากกวา 90 % คือ แซฟรอล (Safrole)น้ํามันจากใบ ผล ดอก ใหกล ิน่แตกตางกนั 4 กล ิน่ ตามองคประกอบหล ักทางเคมี

11การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

น้ํามันหอมระเหยจากใบและผลเทพทาโรกล ุมที่มีสารสําคัญเปน แซฟรอล ใหกล ิน่คล ายซาสี่ หรือรูทเบยีรแซฟรอล - ใชประโยชนทางการแพทย มีฤทธิต์านแบคทีเรีย

เชื้อรา แล ะ Dermatophytes หล ายชนิด ใชเปนยา ฆาเชื้อ แกปวดเมื่อย แกปวดฟน ยับย ั้งการเกิดเมลานนิ

- ใชเปนสารตั้งตนในการส ังเคราะหสารเฮลโิอโทรปน ซึ่งใชในอ ุตสาหกรรมน้ําหอม สารแล ะสารไปเปอรโรนลิบิวทอกไซดซึ่งใชในอ ุตสาหกรรมยาฆาแมลง

- ใชเปนส วนผสมในอาหารและเครื่องดื่ม (Root beer)12การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

Page 27: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

3

น้ํามันหอมระเหยจากใบและผลเทพทาโร

กล ุมที่มีสารสําคัญเปน ซิตรอล ซิโตรเนล อล แล ะไล โมนีน ใหกล ิ่นคล ายตระไครผสมสมซิตรอล แล ะซิโตรเนล อลพบมากในน้าํมันตะไคร ไล โมนีนพบมากในน้ํามันผิวสม สารทั้งสามชนิดมีฤ ทธิ์ไล แมลง ปองกันแบคทีเรีย

13การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

น้ํามันหอมระเหยจากใบและผลเทพทาโร

กล ุมที่มีสารสําคัญเปนซีนีออล ใหกล ิน่คล ายน้ํามันเสม็ดขาวซีนีออล (1,8-cineole) มีประโยชนในอุตสาหกรรมยา เชน ใชเป นส วนประกอบในยาแกไอ ขับเสมหะ ทําน้ํายาบวนฆาเชื้อในปาก ใชแตงกล ิ่นและใชในอุตสาหกรรมน้ําหอม ใชไล แล ะกําจัดยงุและแมลง

14การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

น้ํามันหอมระเหยจากใบและผลเทพทาโรกลุมที่มีสารสําคัญเปน ลินาลูล (Linalool) จะมีกลิ่นหอมของดอกไมผสมกับกลิ่นเครื่องเทศลินาลูล - เปนสารที่มีมูลคาทางเศรษฐกิจสูง ใชมากในอุตสาหกรรม

น้ําหอมและผลิตภัณฑบํารุงและทําความสะอาดผวิกาย มากถึง 60 – 80 %

- เปนสารที่อยูระหวางขบวนการทางเคมี (chemical intermediate) ของการเตรียมวิตามินอี

- ลดความเครียดและชวยทาํใหผอนคลายเมื่อสูดดม - มีฤทธิ์ฆาหมัดและแมลงสาบ

15การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

การใชประโยชนจากภูมิปญญาพื้นบานแล ะงานวิจัย

แกปวดขอ เคล็ดขัดยอก ปวดเมื่อย ในตํารบัยาตางประเทศใชแซฟรอลทารักษาโรคขออักเสบ โรคขอรูมาตอยด

รักษาแผลสด แผลไฟไหม น้ํารอนลวก ริดสีดวงทวาร แผลแมลงสัตวกัดตอย ผดผืน่คัน

หยอดหูรักษาโรคหูน้ําหนวก แผลในหู

ขับลม แกปวดทอง ปวดฟน รักษาแผลในปาก

สูดดมแกหวัด คัดจมูก รักษาไซนัส

ฆาเชื้อราและแบคทีเรยีได หลายชนิด16การปลูกและการใชประโยชนไมเทพทาโร 2-5 เม.ย.2555

การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555 17

กล ิ่น องคประกอบหลกั (%)

ใบ ผล รากกลิ่นรูทเบียร

แซฟรอล93 91 98

กลิ่นตะไครซิตรอล

34 50 N

กลิ่นเสม็ดซินีออล

58(ไมมีแซฟรอล)

62(มีแซฟรอล 0.9)

N

กลิ่นดอกไมลินาลูล

N 95(มีแซฟรอล 1.5)

N

N - ไมไดทดลอง

ศักยภาพของนํ้ามันเทพทาโรสูผลิตภณัฑ

ยาหมอง ยาดม ทาถูนวดแกปวดเมื่อย ปวดขอ แกปวดฟน รักษาแผลสด แผลแหง แกแมลงสัตวกัดตอย

น้ํามันนวดสปา

เจลหรือครีม รักษาโรคผิวหนังอันเนื่องมาจากเชื้อราและแบคทีเรีย

สบู เจลทําความสะอาดมือ แชมพู

ธูป เทียนหอม กํายาน ถุงหอม จากเศษวัสดุที่เหลือจากการกลั่น

สเปรยปรับอากาศ สเปรยไลแมลง โลชั่นกันยุง (น้ํามันเทพทาโรที่มีกล่ินคลายตะไคร)

อื่น ๆ18การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

Page 28: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

4

ผลิตภัณฑจากน้ํามันหอมระเหยเทพทาโร

19การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

ประสิทธิภาพยาหมอ่งเทพทาโรจากผูใ้ช้

อาการนิ�วล๊อก

อาการอมัพฤต

อาการปวดเมื�อยจากการทํางาน

อาการปวดขอ้จากเก๊าส์

อาการเสน้เลือดขอด

ดีขึ�น20การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

งานวิจัยสูประชาชน

21การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

สวนประกอบยาหมองเทพทาโรพาราฟน 11 กรัม วาสล ีน 11 กรัม

พิมเสน 20 กรัม เมนทอล 20 กรัม

เปปเปอรมินต 10 กรัม น้ํามันระกํา 2 กรัม

น้ํามันกานพล ู 0.37 กรัม น้ํามันอบเชย 0.37 กรัม

น้ํามันเทพทาโร 1.2

22การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

วิธีการเตรียมยาหมอง

1. ผสมพาราฟน แล ะวาสลนี อุนใหส วนผสมล ะลาย คนใหเขากัน

2. ผสมพิมเสน เมนทอล เขาดวยกัน กวนใหละลาย

3. เติมเปปเปอรมินต น้ํามันระกํา น้ํามันกานพล ู น้ํามันอบเชย แล ะน้ํามันเทพทาโร ผสมใหเขากัน

4. นําส วนผสมในขอ 1 ผสมกับสวนผสมในขอ 2 คนใหเขาก ัน เทบรรจุใสขวด ปดฝา แล ะติดฉลาก

23การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

สวนประกอบสบูกลีเซอรีน

กล ีเซอรีนแขง็ 500 กรัม น้ําสะอาด 75 กรัม

วิตะมินอี 1.5 กรัม สารใหความชุมชื้น 10 กรัม

ทวีน 20 10 กรัมน้ํามันเทพทาโร

กล ิ่นเสม็ด6 กรัม

อาจแตงกล ิ่นดวยน้ํามันหอมระเหยอื่น ๆ หรือใส สเีพิ่มเติมตามชอบ

24การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

Page 29: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

5

วิธีการเตรียมสบูกลีเซอรีน

1. หั่นกล ีเซอรีนใหเป นชิ้นเลก็ ๆ

2. ใส ในภาชนะแกวหรือสแตนเล ส หลอมใหละลายจนหมด

3. เติมน้ํา สารใหความชุมชื้น ทวีน 20 วิตะมินอี แล ะตามดวยน้ํามันเทพทาโร

4. เทใส แบบพิมพ ปล อยไวใหเย ็น

25การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

ทิพย สบูกลีเซอรีนเทพทาโรใยบวบผสมน้ํามันหอมระเหยเทพทาโรกลิ่นเสม็ด ใหความรูสึกสดชื่น และ

บํารุงผิวพรรณ ใยบวบชวยขัดเซลลผิวใหดูผุดผองวิธีใช ลูบไลใหเกิดฟองทั่วเรือนราง แลวลางออกดวยน้ําสะอาดผลิตโดย งานพัฒนาเคมีผลิตผลปาไม กรมปาไม

61 ถนนพหลโยธิน จตุจักร กทม. 10900สวนประกอบสําคัญ น้ํามันหอมระเหยเทพทาโร กลีเซอรีน โพรพีลีนไกลคอล

วิตะมินอี ทวีน 20 ไมใชวัตถุกันเสียปริมาณสุทธิ 45 กรัมวัน เดือน ป ที่ผลิต 5 เมษายน 2555

ฉลากสําหรับผลิตภัณฑ

26การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

เอกสารอางอิงพรสวรรค ดิษยบุตร และคณะ. 2546. เครื่องสําอางจากสมุนไพร. หจก.อรุณการพิมพ,

กรุงเทพฯ. 159 หน า.

พิมพร ลีลาพรพิสิฐ. 2544. เครื่องสําอางเพื่อความสะอาด. โอเดียนสโตร, กรุงเทพฯ. 384 หน า.

เอมอร โสมนะพันธ ุ. 2535. เภสัชวินิจฉัย-ยาและผลิตภัณฑจากธรรมชาติ “เครื่องสําอาง ธรรมชาติ”. ภาควิชาเภสัชวินิจฉัย คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล, กรุงเทพฯ. 20 หน า.

L.P.A. Oy en and Nguyen Xuan Dung (Eds.). 1999. Plant Resources of South-East Asia No 19 Essential-oild plants. Backhuys Publishers, Leiden, the Netherlands. 277 pp.

http://www.honghuat.com/doity ouselt

http://www.archeep.com/chemistry /chem_index .htm27การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

ขอบคณุค่ะ

28การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

Page 30: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

สรุปผลการฝกอบรม หลักสูตร การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

ประจําป 2557 (ภาคบรรยาย)

ภาพที่ 1 ลงทะเบียนผูเขาอบรม ภาพที่ 2 นางกมลมาส รัตนมณี

(นักวิชาการปาไมปฏิบัติการ)

เจาหนาที่ดําเนินการฝกอบรม

กลาวตอนรับ

ภาพที่ 3 - 4 นายสมเกียรติ บัญชาพัฒนศักดา (ศูนยศึกษาและพัฒนาวนศาสตรชุมชนที่ 12)

บรรยายวิชา การจัดทําแผนบริหารจัดการปาชุมชน

ภาพที่ 5 – 6 เจาหนาที่สถานีวนวัฒนวิจัยสงขลา ภาคใต (นางเพ็ญแข เพิ่ม)

บรรยายวิชา การคัดเลือกชนิดพันธุไมปา เพื่อปลูกในการสงเสริมการจัดการปาชุมชน

26

Page 31: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

ภาพที่ 7-8 เจาหนาที่มอบของที่ระลึกแกผูเขารวมการฝกอบรม

ภาพที่ 9 -10 หัวหนาสถานีวนวัฒนวิจัยภาคใต จ.สงขลา (คุณสมบูรณ บุญยืน)

สรุปประเด็นและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเก่ียวกับการฝกอบรม

ภาพที่ 11 – 12 คุณสมบูรณ บุญยืน (หัวหนาสถานีวนวัฒนวิจัยภาคใต จ.สงขลา)

มอบประกาศนียบัตรแกผูเขารวมฝกอบรม

27

Page 32: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

ÀÒ¤¡Òà ÈÖ¡ÉÒ´Ù§Ò¹

Page 33: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

สรุปผลการฝกอบรม หลักสูตร การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

ประจําป 2557 (ภาคศึกษาดูงาน)

ภาพที่ 1-2 ศึกษาดูงานแปลงปลูกไมสัก

ภาพที่ 3-4 ศึกษาดูงานแปลงปลูกไมมะฮอกกานี

ภาพที่ 5-6 ศึกษาดูงานแปลงสาธิตการปลูกหวายใตรมยางพารา

28

Page 34: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

ภาพที่ 7-10 แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหวางเจาหนาที่และผูเขารับการอบรม

ภาพที่ 11-12 เจาหนาที่แจกกลาไม และใหความรูเกี่ยวกับชนิดพันธุไม

29

Page 35: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

ÀÒ¤¡ÒÃÃдÁ ¤ÇÒÁ¤Ô´

Page 36: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

สรุปผลการระดมความคิด

ภาคการระดมความคิด กําหนดหัวขอเกี่ยวกับการจัดทําแผนการบริหารจัดการปาชุมชน

โดยกอนการจัดทําแผน ใหผูเขารับการฝกอบรมรวมกันวิเคราะหปจจัยพื้นฐานที่จะสงผลตอการ

ตัดสินใจกําหนดกิจกรรมในการจัดทําแผนการบริหารจัดการปาชุมชน ในประเด็นตางๆ ดังนี้

1. จุดเดน และจุดดอยของชุมชน

2. ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูในชุมชน (ความสําคัญ ความมากนอย ความหลากหลาย)

3. รูปแบบการพ่ึงพิงทรัพยากรธรรมชาติของคนในชุมชน

4. สภาพปญหาดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในชุมชน

ทั้งนี้ ไดแบงกลุมการระดมความคิดออกเปน 2 กลุม ตามสภาพนิเวศวิทยา เพื่อใหผูเขารับ

การฝกอบรมไดเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูท่ีหลากหลายขึ้น โดยสรุปผลการระดมความคิด

ดังรายละเอยีดตามตารางท่ี 1, 2

ตารางที่ 1 สรุปประเด็นการระดมความคิด และรายละเอยีดของแผนการบริหารจัดการปาชุมชน

บานสวน ตําบลควนโส อําเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา

ประเด็นพื้นฐานที่นําไปสู

การกําหนดกิจกรรมใน

แผนการ

บริหารจัดการปาชุมชน

รายละเอยีด

กิจกรรมที่จะกําหนดสําหรับ

การทําแผนการบริหาร

จัดการปาชุมชน

ระยะเวลาดําเนิน

กิจกรรม

ตามแผน

1. จุดเดน และจุดดอย

ของชุมชน

2. ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู

ในชุมชน (ความสําคัญ ความ

มากนอย ความหลากหลาย)

จุดเดน มีปาพรุเสม็ดขาวซึ่งเปน

แหลงทรัพยากรธรรมชาติที่มี

ความสําคัญ

จุดดอย ปญหาความแหงแลง,

น้ําทวม

มีปาพรุเสม็ดขาวผืนใหญ ซึ่งเปน

ระบบนิเวศ พ้ืนที่ชุมน้ํา ที่มี

ความสําคัญและเหลืออยูเพียง

ไมกี่แหงในจังหวัดสงขลา

1. ทําปายบอกอาณาเขต

ปาชุมชน

2. ทําแนวกันไฟรอบเขต

ปาชุมชน

3. จัดกิจกรรมปลูกปา

ชายเลน

4. แหลงเรียนรูการทําผึ้ง

หลวง

5. จัดหางบประมาณ

ดําเนินงาน เชน อบต. และ

อบจ.

พฤษภาคม

มกราคม-กุมภาพันธ

สิงหาคม

กุมภาพันธ-เมษายน

สิงหาคม (เพื่อจัดหา

งบประมาณดําเนินการ

ในปถัดไป)

สิงหาคม

Page 37: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

ประเด็นพื้นฐานที่นําไปสู

การกําหนดกิจกรรม

ในแผนการบริหารจัดการ

ปาชุมชน

รายละเอยีด

กิจกรรมที่จะกําหนดสําหรับ

การทําแผนการบริหาร

จัดการปาชุมชน

ระยะเวลาดําเนิน

กิจกรรม

ตามแผน

3. รูปแบบการพึ่งพิง

ทรัพยากรธรรมชาติของคน

ในชุมชน

4. สภาพปญหาดาน

ทรัพยากรธรรมชาติและ

สิ่งแวดลอมในชุมชน

ปาพรุเสม็ดขาว เปนแหลงเก็บหาของ

ปาที่สรางรายไดเสริมใหแกคน

ในชุมชน เชน เห็ด น้ําผึ้งปา

- การใชประโยชนเศษไม ปลายไม

เพื่อการกอสรางหรือการทําอุปกรณ

ประมง

- เปนแหลงเรียนรู และการศึกษา

วิจัยที่หลากหลาย

- ปญหาไฟปา

- แนวเขตระหวางที่ดินทํากิน แนวเขต

ปาไมไมชัดเจน

ตารางที่ 2 สรุปประเด็นการระดมความคิด และรายละเอยีดของแผนการบริหารจัดการปาชุมชน

บานคลองหวยบา ตําบลปาแกบอหิน อําเภอทุงหวา จังหวัดสตูล

ประเด็นพื้นฐานที่นําไปสู

การกําหนดกิจกรรมใน

แผนการ

บริหารจัดการปาชุมชน

รายละเอยีด

กิจกรรมที่จะกําหนดสําหรับ

การทําแผนการบริหาร

จัดการปาชุมชน

ระยะเวลาดําเนิน

กิจกรรม

ตามแผน

1. จุดเดน และจุดดอย

ของชุมชน

2. ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู

ในชุมชน (ความสําคัญ ความ

มากนอย ความหลากหลาย)

จุดเดน มีปาเพื่อการใชสอย และปา

เพื่อการอนุรักษ

จุดดอย ที่ตั้งหมูบานอยูหางไกลจาก

แหลงชุมชน

เพิ่มปาดิบชื้นดั้งเดิม (ปาแก) ที่มีการ

อนุรักษพันธุไมดั้งเดิมในพ้ืนที่ไว

1. การปลูกเพิ่มปา

2. การจัดทําแนวเขต

3. การปลูกปาเพื่อการ

อนุรักษดินและน้าํในพื้นที่

ชลประทานในชุมชน

สิงหาคม

มิถุนายน-กรกฎาคม

กรกฎาคม

31

Page 38: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

ประเด็นพื้นฐานที่นําไปสู

การกําหนดกิจกรรมใน

แผนการ

บริหารจัดการปาชุมชน

รายละเอยีด

กิจกรรมที่จะกําหนดสําหรับ

การทําแผนการบริหาร

จัดการปาชุมชน

ระยะเวลาดําเนิน

กิจกรรม

ตามแผน

3. รูปแบบการพึ่งพิง

ทรัพยากรธรรมชาติของคน

ในชุมชน

4. สภาพปญหาดาน

ทรัพยากรธรรมชาติและ

สิ่งแวดลอมในชุมชน

เปนปาเพื่อการอนุรักษ

-

32

Page 39: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

สรุปผลการฝกอบรม หลักสูตร การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

ประจําป 2557 (ภาคระดมความคิด)

ภาพที่ 1 – 3 ตัวแทนบานคลองหวยบา อ.ทุงหวา จ.สตูล สรุปและนําเสนอผลการระดมความคดิ

การจัดทําแผนบริหารจัดการปาชุมชน

ภาพที่ 4 – 5 ตัวแทนบานสวน อ.ควนเนียง จ.สงขลา สรุปและนําเสนอผลการระดมความคดิ

การจัดทําแผนบริหารจัดการปาชุมชน

33

Page 40: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

ÀÒ¤¼¹Ç¡

Page 41: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ
Page 42: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ
Page 43: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ
Page 44: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ
Page 45: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

คํากลาวของประธาน

ในพิธีเปดโครงการฝกอบรมราษฎร

หลักสูตร การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2557

วันที่ 20 กุมภาพันธ พ.ศ.2557

ณ ศูนยถายทอดเทคโนโลยีดานวิจัยปาไมสงขลา ภาคใต

ตําบลเขาพระ อําเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

--------------------

เรียน ประธานกรรมการปาชุมชน สมาชิกกลุมปาชุมชน แขกผูมีเกียรติ วิทยากร และเจาหนาท่ี

ผูดําเนินการฝกอบรมทุกทาน

ผมมีความยินดีเปนอยางยิ่ง ท่ีไดมาเปนประธานในพิธีเปดโครงการฝกอบรมราษฎร หลักสูตร

การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2557 ในวันนี้

กอนอื่นผมขอขอบคุณผูที่มาเขารับการอบรม อันเปนตัวแทนจากชุมชุมของทานในครั้งนี้ เพราะ

ถือวาทานเปนผูเสียสละทั้งแรงกาย แรงใจ และเวลาที่มีคาของทาน มาใชเวลารวมกับพวกเราถึง 2 วัน

และนับเปนนิมิตหมายที่ดี ที่เราไดมีโอกาสมาพบปะกัน เพราะทุกทานเปนภาคีสําคัญที่จะสงเสริมและ

สนับสนุนความสําเร็จของการสงเสริมการจัดการปาชุมชนของกรมปาไมตอไปในอนาคต

การดําเนินงานดานการอนุรักษและกิจกรรมอันเปนประโยชนตอสวนรวมอื่นใดก็ตาม จะเกิด

มีขึ้นและเขมแข็งตอไปได ทุกฝายตองมีพื้นฐานความเขาใจเกี่ยวกับแนวความคิดหลัก กระบวนการ และ

วิธีการในการที่จะรวมกันสงเสริมการดําเนินงานดานการอนุรักษ การฝกอบรมจึงเปนกระบวนการ

สงเสริมการเรียนรูแบบมีสวนรวม เพื่อใหเกิดการถายทอดประสบการณ องคความรู และแลกเปลี่ยน

ภูมิปญญา ตลอดจนความรูดานการบริหารจัดการปาท่ีทุกทานและทุกชุมชนมีอยูเปนทุนเดิมแลว เพื่อ

เสริมสรางใหชุมชนมีการพัฒนาศักยภาพในการจัดการปาใหตอบสนอง ทั้งในดานการอนุรักษและ

เอื้อตอความเปนอยูที่ดีขึ้น นับเปนความภาคภูมิใจของกรมปาไมที่ไดรับเกียรติและความรวมมือจาก

ทุกทานดวยดี และขอใหทานนําประสบการณ ความรูจากหลากหลายชุมชนที่นํามาแลกเปลี่ยนในการ

ฝกอบรมคร้ังนี้ ใหประสบผลสําเร็จตอไป

ผมชื่นชมชุมชนของทานที่เห็นความสําคัญของการจัดการปาชุมชน และใหความรวมมือสงทาน

มาเขารวมการฝกอบรมเพื่อเพิ่มพูนประสบการณ และถือโอกาสนี้ขอบคุณวิทยากร และหนวยงานที่ให

/การสนับสนุน...

Page 46: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

การสนับสนุนการอบรมในครั้งนี้ บัดนี้ ไดเวลาอันสมควรแลว ผมขอเปดโครงการฝกอบรมราษฎร

หลักสูตร การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2557 และ

ขอใหการฝกอบรมดําเนินไปดวยดีและบรรลุผลสําเร็จตามวัตถุประสงคท่ีกําหนดไวทุกประการ

Page 47: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

คํากลาวรายงานตอประธานในพีปดโครงการฝกอบรมราษฎร

หลักสูตร การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2557

วันที่ 21 กุมภาพันธ พ.ศ.2557

ณ ศูนยถายทอดเทคโนโลยีดานวิจัยปาไมสงขลา ภาคใต

ตําบลเขาพระ อําเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

--------------------

เรียน ทานประธานที่เคารพ

กระผมในนามของคณะทํางานดําเนินการจัดฝกอบรม ขอขอบพระคุณทานประธานเปนอยางสูง

ที่ไดกรุณาใหเกียรติมาเปนประธานในพิธีปดโครงการฝกอบรมราษฎร หลักสูตร การบริหารจัดการพื้นที่

โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2557 ของสํานักจัดการทรัพยากรปาไมที่ 13

(สงขลา) ในวันนี้

การฝกอบรมราษฎรหลักสูตร การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

ไดดําเนินการมาจนเสร็จสิ้นในวันนี้ ซึ่งผูเขารับการฝกอบรมท้ัง 20 ทาน ไดรับการถายทอดความรูจาก

วิทยากร และไดนําไปประยุกตใชในกระบวนการวิเคราะหและจัดทําแผนการบริหารจัดการพื้นที่

ปาชุมชนของตนเอง การฝกอบรมคร้ังนี้ไดรับความรวมมือ การสนับสนุน ตลอดจนการอํานวยความ

สะดวกจากหลายฝายเปนอยางดี นับแตการเตรียมการจัดฝกอบรม การสนับสนุนวิทยากรบรรยาย

การใหความอนุเคราะหสถานที่ศึกษาดูงาน อันไดแก ศูนยถายทอดเทคโนโลยีดานวิจัยปาไมสงขลา

ภาคใต

ตลอดระยะเวลาของการฝกอบรม ผูเขารับการฝกอบรมไดใหความรวมมือแลกเปลี่ยนทัศนะ

ประสบการณอันจะเปนประโยชนทัง้ตอการดําเนินงานของกรมปาไม การดําเนินงานปาชุมชนของตนเอง

และของชุมชนอื่นที่เขารวมการฝกอบรม ดังนั้น เพื่อเปนขวัญกําลังใจแกผูเขารับการฝกอบรมทุกทาน

ผมขอเรียนเชิญทานประธานไดใหเกียรติมอบประกาศนียบัตรแกผูผ านการฝกอบรมหลักสูตร

การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2557 จํานวน 20 คน

ดังนี้

............................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................

และในโอกาสนี้ ขอเรียนเชิญทานประธานไดใหโอวาทแกผูผานการฝกอบรม และกลาวปดการฝกอบรม

ตอไป

Page 48: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

คํากลาวของประธาน

ในพิธีปดโครงการฝกอบรมราษฎร

หลักสูตร การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2557

วันที่ 21 กุมภาพันธ พ.ศ.2557

ณ ศูนยถายทอดเทคโนโลยีดานวิจัยปาไมสงขลา ภาคใต

ตําบลเขาพระ อําเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

--------------------

เรียน แขกผูมีเกียรติ ประธานกรรมการปาชุมชน สมาชิกกลุมปาชุมชน

และเจาหนาท่ีผูดําเนินการฝกอบรมทุกทาน

ผมมีความยินดีเปนอยางยิ่ง ท่ีไดมาเปนประธานในพิธีปดโครงการฝกอบรมราษฎรหลักสูตร

การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ ในวันนี้

ผมยินดีที่ไดรับทราบวาการฝกอบรมโครงการนี้ ตลอดระยะเวลา 2 วัน ที่ผานมา ดําเนินไปดวย

ความเรียบรอยตามวัตถุประสงคและเปาหมายของการฝกอบรม โดยไดรับความรวมมือเปนอยางดียิ่ง

จากผูเขารับการฝกอบรมทุกคน

ผมขอแสดงความชื่นชม ที่โครงการฝกอบรมในครั้งนี้ประสบผลสําเร็จเปนที่นาพอใจ แตความ

มุงหวังที่แทจริงคือทุกทานไดนําความรูและประสบการณที่ไดรับจากการฝกอบรมครั้งนี้ไปถายทอดสู

ผูอื่น และรวมกันปฏิบัติ ประยุกตใช และดําเนินการกอใหเกิดเปนเครือขายปาชุมชนที่เขมแข็งตอไป

ในอนาคต

ผมขอขอบคุณแขกผูมีเกียรติ ผูเขารวมการฝกอบรม วิทยากร ผูมีสวนรวม และเจาหนาที่

ทุกทาน ที่ไดทุมเทกําลังกาย กําลังใจ และกําลังสติปญญา รวมกันใหการฝกอบรมครั้งนี้สําเร็จลุลวง

ไปดวยดี

บัดนี้ ไดเวลาอันสมควรแลว ผมขอปดโครงการฝกอบรมราษฎร หลักสูตร การบริหารจัดการ

พืน้ที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2557 ณ บัดนี้ และขอใหทุกทานเดินทาง

กลับยังภูมิลําเนาโดยสวัสดิภาพ

Page 49: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

สรุปผลการระดมความคิด

โครงการจัดทําแผนปาชุมชน

บานสวน หมูที่ 8 ตําบลควนโส อําเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา

1. ทําปายนอกอาณาเขตปาชุมชน

2. ทําแนวกันไฟรอบเขตปาชุมชน

3. จัดกิจกรรมปลูกปาชายเลน

4. แหลงเรียนรูการทําผึ้งหลวง

5. จัดหางบประมาณดําเนินงาน เชน อบต. และอบจ.

โครงการจัดทําแผนปาชุมชนเชิงอนุรักษ

บานคลองหวยบา หมูท่ี 2 ตําบลปาแกบอหิน อําเภอทุงหวา จังหวัดสตูล

1. การปลูกเพิ่มปา

2. การจัดทําแนวเขต

3. การปลูกปาเพื่อการอนุรักษดินและน้ํา

Page 50: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ
Page 51: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ
Page 52: สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

Ê�ǹ¨Ñ´¡Òû�ÒªØÁª¹ ¡ÃÁ»�ÒäÁ�

Êํҹѡ¨Ñ´¡Ò÷ÃѾÂҡû�ÒäÁ�·Õ่ 13 (ʧ¢ÅÒ)

ËÁÙ�·Õ่ 1 µํҺũÅا ÍํÒàÀÍËÒ´ãË­� ¨Ñ§ËÇѴʧ¢ÅÒ 90110

â·ÃÈѾ·� 0-7420-5990 µ�Í 14 ,0-7420-5974

â·ÃÊÒÃ 0-7420-5974