15
บทท่ ๑ เร่องท่ ๒ พยางค์และคํา โดย ครูพ่ต่ต ๋ – อ.พระเสก บรสุทธ์บัวทพยกศ.ม. ภาษาไทย มหาว ทยาลัยศรนครนทรว โรฒ กศ.บ. ภาษาไทย มหาว ทยาลัยศรนครนทรว โรฒ ภาษาไทย ชั้นมัธยมศกษาปท่ ๑

บทที่ ๑ เรื่องที่ ๒ พยางค์และคํา · แบบฝึกหัดทบทวน ๑. ทุกคําในข้อใดไม่ออกเสียงควบกล้ํา

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ ๑ เรื่องที่ ๒ พยางค์และคํา · แบบฝึกหัดทบทวน ๑. ทุกคําในข้อใดไม่ออกเสียงควบกล้ํา

บทท่ี ๑ เรื่องที่ ๒ พยางค์และคํา

• โดย ครูพี่ตี่ตี๋ – อ.พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

• กศ.ม. ภาษาไทย มหาวทิยาลัยศรีนครินทรวโิรฒ

• กศ.บ. ภาษาไทย มหาวทิยาลัยศรีนครินทรวโิรฒ

ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑

Page 2: บทที่ ๑ เรื่องที่ ๒ พยางค์และคํา · แบบฝึกหัดทบทวน ๑. ทุกคําในข้อใดไม่ออกเสียงควบกล้ํา

อ.พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์ (ครูพีต่ี่ตี)๋

การศึกษา

ปริญญาโท : วิทยาการทางการศึกษาและการจัดการเรียนรู้ภาษาไทย

(ภาษาไทย กศ.ม.) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ปริญญาตรี : ภาษาไทย (กศ.บ.) คณะมนุษยศาสตร ์

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

มัธยมศึกษา : โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย

ผู้สอน

Page 3: บทที่ ๑ เรื่องที่ ๒ พยางค์และคํา · แบบฝึกหัดทบทวน ๑. ทุกคําในข้อใดไม่ออกเสียงควบกล้ํา

แบบฝึกหัดทบทวน

๑. ทุกคําในข้อใดไมอ่อกเสียงควบกล้ํา

๑. ปลัด พฤทธิ์ นิทรา

๒. ปรอท กลศ แทรก

๓. ปลาต ขรม พุทรา

๔. ปริตร ตรุษ อินทรีย ์

Kruptitee

พยางค์

และ

คํา

Page 4: บทที่ ๑ เรื่องที่ ๒ พยางค์และคํา · แบบฝึกหัดทบทวน ๑. ทุกคําในข้อใดไม่ออกเสียงควบกล้ํา

พยางค ์

ภาษาไทย ชั้น ม.๑ โดย อ.พีระเสก บริสุทธ์ิบัวทิพย์ (ครูพี่ตี่ตี)๋

พยางค์ คือ กลุ่มเสียงที่มีเสียงพยัญชนะ เสียงสระ

และเสียงวรรณยุกตป์ระกอบกัน จะ.................................

.......................................................................................

บางพยางค์จะมีเสียงพยญัชนะท้ายด้วย

Page 5: บทที่ ๑ เรื่องที่ ๒ พยางค์และคํา · แบบฝึกหัดทบทวน ๑. ทุกคําในข้อใดไม่ออกเสียงควบกล้ํา

ภาษาไทย ชั้น ม.๑ โดย อ.พีระเสก บริสุทธ์ิบัวทิพย์ (ครูพี่ตี่ตี)๋

เสียงพยัญชนะที่อยู่หน้าเสียงสระในแต่ละพยางค์

เรียกว่า เสียงพยัญชนะต้น จะมีหนึ่งเสียงหรือสองเสียงควบกัน

เสียงที่นํามาควบจะเป็นเสียง /ร/ , /ล/ หรือ /ว/ ซึ่งเรียกว่า

"เสียงควบกล้ํา" เสียงพยัญชนะท้ายที่อยู่หลังเสียงสระในแต่

ละพยางค์เรียกว่า เสียงพยัญชนะท้าย หรือเรียกว่า พยัญชนะ

สะกด ซึ่งจะมีเสียงเดียวเสมอ

Page 6: บทที่ ๑ เรื่องที่ ๒ พยางค์และคํา · แบบฝึกหัดทบทวน ๑. ทุกคําในข้อใดไม่ออกเสียงควบกล้ํา

ชนิดของพยางค์

พยางค์มี ๒ ชนิด ได้แก ่

พยางค์เปิด พยางค์ปิด

Page 7: บทที่ ๑ เรื่องที่ ๒ พยางค์และคํา · แบบฝึกหัดทบทวน ๑. ทุกคําในข้อใดไม่ออกเสียงควบกล้ํา

โครงสร้างพยางค์ หรือ การประสมอักษร

มีทั้งหมด ๔ แบบคือ

ส่วน พยัญชนะ สระ วรรณยุกต ์ ตัวสะกด ตัวการันต์

๓ ส่วน

๔ ส่วน

๔ ส่วนพิเศษ

๕ ส่วน

Page 8: บทที่ ๑ เรื่องที่ ๒ พยางค์และคํา · แบบฝึกหัดทบทวน ๑. ทุกคําในข้อใดไม่ออกเสียงควบกล้ํา

เสียงหนักเบา (ครุ - ลห)ุ

การเน้นเสียงหนักเบาในภาษาไทย มีสาเหตุมาจาก

๑. ลักษณะส่วนประกอบของพยางค์

๒. ตําแหน่งของพยางค์ในคํา

๓. หน้าที่และความหมายของคํา

Page 9: บทที่ ๑ เรื่องที่ ๒ พยางค์และคํา · แบบฝึกหัดทบทวน ๑. ทุกคําในข้อใดไม่ออกเสียงควบกล้ํา

ลักษณะส่วนประกอบของพยางค ์

คําคร ุคือ พยางค์ที่ลงเสียงหนัก มีหลักสังเกตดังน้ี

๑. เป็นพยางค์ที่ไมม่ีเสียงพยญัชนะท้าย เสียงสระเป็นเสียงยาว

๒. เป็นพยางค์ที่มีพยัญชนะทา้ย เสียงสระเป็นเสียงยาวหรือเสียงสั้นกไ็ด ้

๓. เป็นพยางค์ที่มีตัวสะกดทุกแม ่

Page 10: บทที่ ๑ เรื่องที่ ๒ พยางค์และคํา · แบบฝึกหัดทบทวน ๑. ทุกคําในข้อใดไม่ออกเสียงควบกล้ํา

ข้อควรสังเกต

๑. สระ ไอ ใอ เอา เป็นสระเสยีงสัน้ ตามรูปไม่มีพยัญชนะท้าย

แต่การออกเสียงสระ ไอ ใอ มีเสียง /ย/ เป็นเสียงพยัญชนะทา้ย

และสระเอา มีเสียง /ว/ เป็นเสียงพยญัชนะท้าย

พยางค์ที่ประสมสระ ไอ ใอ เอา จึงจัดเป็นคําครุ (เน้นเสียงหนัก)

Page 11: บทที่ ๑ เรื่องที่ ๒ พยางค์และคํา · แบบฝึกหัดทบทวน ๑. ทุกคําในข้อใดไม่ออกเสียงควบกล้ํา

ข้อควรสังเกต

๒. สระอํา ตามรูปไม่ปรากฎพยัญชนะท้าย แต่ออกเสียงมี /ม/ เป็นเสียง

พยัญชนะท้ายจึงจัดเป็นคําครุ เช่นเดียวกับสระ ไอ ใอ เอา แต่ในคําประพันธ์

ประเภทฉันท์ อาจใช้เป็นคําครุบ้าง หรือลหุบ้างแล้วแต่ตําแหน่งของพยางค์ ถือ ถ้า

เป็นคําพยางค์เดียวที่ใช้สระอํา เช่น นํา จัดเป็นคําครุ และคําหลายพยางค์ที่มีสระอํา

เป็นพยางค์ท้าย เช่น ระกํา เป็นคําครุ แต่ถ้าสระอําเป็นพยางค์แรกของคําหลาย

พยางค์ จะใช้เป็นคําลหุ)

Page 12: บทที่ ๑ เรื่องที่ ๒ พยางค์และคํา · แบบฝึกหัดทบทวน ๑. ทุกคําในข้อใดไม่ออกเสียงควบกล้ํา

หลักท่องจํา

ครุ ลหุ

ตัวสะกด

สระ

รวมถึง

Page 13: บทที่ ๑ เรื่องที่ ๒ พยางค์และคํา · แบบฝึกหัดทบทวน ๑. ทุกคําในข้อใดไม่ออกเสียงควบกล้ํา

๒. ตําแหน่งของพยางค์ในคํา

- ถ้าเป็นคํา ๒ พยางค์ มักลงเสียงหนักที่พยางค์ท่ี ๒

- ถ้าเป็นคํา ๓ พยางค์ มักลงเสียงหนักพยางค์ท่ี ๓ บางพยางค์อาจ

ลงเสียงหนักที่พยางค์ท่ี ๑ หรือ ๒ บ้าง หรือพยางค์ที่ ๑ กับพยางค์ท่ี ๓ บ้าง

- ถ้าคําที่มีพยางค์ ๑ กับ ๒ เป็นสระเสียงสั้น มักลงเสียงหนักที่

พยางคท์ี่ ๒ และ ๓

- ถ้าคําที่พยางค์ท่ี ๑ เป็นสระเสียงสั้น มักลงเสียงหนักที่พยางค์ที่ ๒

และ ๓

Page 14: บทที่ ๑ เรื่องที่ ๒ พยางค์และคํา · แบบฝึกหัดทบทวน ๑. ทุกคําในข้อใดไม่ออกเสียงควบกล้ํา

๓. หน้าที่และความหมายของคํา

คําที่ทําหน้าที่เป็นประธาน กริยา และกรรม และคําขยาย

จะออกเสียงหนัก แต่คําที่ทําหน้าที่เป็นคําเชื่อม เช่น คําบุพบท

และคําสันธาน จะออกเสียงเบา คําที่มีรูปเหมือนกันจะออกเสียง

หนักเบาต่างกัน เมื่อใช้ในหน้าที่และความหมายที่ต่างกัน

Page 15: บทที่ ๑ เรื่องที่ ๒ พยางค์และคํา · แบบฝึกหัดทบทวน ๑. ทุกคําในข้อใดไม่ออกเสียงควบกล้ํา

ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋

Kruptitee