29
บททีการกําบัง การซอนพราง และการพราง (COVER CONCEALMENT AND CAMOUFLAGE) - กลาวทั่วไป (GENERAL) . ในการรบ ถาหากขาศึกสามารถตรวจการณเห็นทหารฝายเรา ขาศึกก็จะทําการระดมยิงมายัง ทหารฝายเรา ดังนั้นเราจึงตองมีการซอนพราง (CONCEALMENT) จากการตรวจการณของขาศึก และตองเขา หาที่กําบัง (COVER) จากการยิงของขาศึก . ในบางภูมิประเทศไมอํานวยตอการกําบัง และซอนพรางได เราตองเตรียมสรางที่กําบังและใชวัสดุ ตามธรรมชาติหรือสิ่งที่มนุษยสรางขึ้น ซอนพราง (CONCEALMENT) ตัวเรา ยุทโธปกรณ และที่วางตัว ของเรา บทเรียนทีนี้เปนการศึกษาแนวทางในการเตรียม และใชที่กําบัง การซอนพราง และการพราง - กําบัง (COVER) ที่กําบังคือที่ที่ใหการปองกันจากกระสุนปน สะเก็ดระเบิด เปลวไฟ ผลกระทบจาก อาวุธนิวเคลียร อาวุธเคมี ที่กําบังยังชวยใหทหารซอนพรางการตรวจการณจากขาศึกไดอีกดวย ที่กําบังอาจมีอยู ตามธรรมชาติหรือเปนที่ซึ่งมนุษยสรางขึ้น รูปที- ชนิดของที่กําบัง

บทที่ ๑ - ๒ การกำบัง การซ่อนพราง

Embed Size (px)

DESCRIPTION

บทที่ ๑ - ๒ การกำบัง การซ่อนพราง

Citation preview

Page 1: บทที่ ๑ - ๒ การกำบัง การซ่อนพราง

บทที่ ๑ การกําบัง การซอนพราง และการพราง

(COVER CONCEALMENT AND CAMOUFLAGE) ๑ - ๑ กลาวทั่วไป (GENERAL) ก. ในการรบ ถาหากขาศึกสามารถตรวจการณเหน็ทหารฝายเรา ขาศึกก็จะทําการระดมยิงมายังทหารฝายเรา ดังนั้นเราจึงตองมีการซอนพราง (CONCEALMENT) จากการตรวจการณของขาศกึ และตองเขาหาที่กําบัง (COVER) จากการยิงของขาศึก ข. ในบางภูมปิระเทศไมอํานวยตอการกําบัง และซอนพรางได เราตองเตรียมสรางที่กําบังและใชวัสดุตามธรรมชาติหรือส่ิงที่มนุษยสรางขึ้น ซอนพราง (CONCEALMENT) ตัวเรา ยทุโธปกรณ และที่วางตวั ของเรา บทเรียนที่ ๑ นี้เปนการศึกษาแนวทางในการเตรยีม และใชทีก่ําบัง การซอนพราง และการพราง ๑ - ๒ กําบัง (COVER) ที่กําบังคือที่ที่ใหการปองกันจากกระสุนปน สะเก็ดระเบดิ เปลวไฟ ผลกระทบจากอาวุธนิวเคลียร อาวุธเคมี ทีก่ําบังยังชวยใหทหารซอนพรางการตรวจการณจากขาศึกไดอีกดวย ที่กําบังอาจมีอยูตามธรรมชาติหรือเปนที่ซ่ึงมนุษยสรางขึน้

รูปท่ี ๑ - ๑ ชนิดของที่กําบงั

Page 2: บทที่ ๑ - ๒ การกำบัง การซ่อนพราง

ก. ที่กําบังตามธรรมชาติหมายถึง ส่ิงตาง ๆ เชน ทอนซุง ตนไม ตอไม หวยแหง และโพรงตาง ๆ ที่กําบังที่มนุษยสรางขึ้นหมายถึง ที่มั่นตอสู (หลุมปน) คูติดตอกําแพง กอนหินใหญ หลุม ที่กําบังนัน้อาจเปนรองเล็ก ๆ หรือซอกมุมที่มีอยูบนพืน้ดิน เราสามารถใชเปนที่กําบังได จงมองหาและใชทุก ๆ ส่ิงที่กําบังตัวเราจากการยิงไดเทาที่ภูมิประเทศจะอํานวยให ข. ในการรบ ทหารตองปองกันตนเองจากการยิงดวยกระสุนปนเลก็ หรืออาวุธกระสุนวิถีโคง ค.ในการตั้งรับ ทหารตองสรางที่มั่นตอสูโดยดัดแปลงเพิ่มเติมจากที่กําบังตามธรรมชาติที่มีอยูใน ภูมิประเทศ

รูปท่ี ๑ - ๒ ท่ีม่ันตอสูมีท่ีกําบังเหนือศีรษะ ง. การเสาะหาที่กําบังจากการยิงของขาศึกในการรุก หรือขณะเคลื่อนที่ใชเสนทางที่ใหการกําบังจากการตรวจการณของขาศึก ใชลําธารที่แหง เนินลูกเล็ก ปาไม กําแพง และส่ิงกําบังอ่ืน ๆ หลีกเลี่ยงพื้นที่โลงและไมทําตัวตัดกบัขอบฟาบริเวณยอดเนินหรือสันเขา

รูปท่ี ๑ - ๓ ทหารเคลื่อนท่ีตามลําหวยแหง

Page 3: บทที่ ๑ - ๒ การกำบัง การซ่อนพราง

๑ - ๓ การซอนพราง (CONCEALMENT) การซอนพราง คือการกระทําใด ๆ ที่พรางตัวเราใหพนจากการยิงของขาศึก ที่ซอนพรางมีทั้งที่เปนอยูโดยธรรมชาติและที่มนุษยสรางขึน้ ก. ที่ซอนพรางตามธรรมชาติ หมายถึงส่ิงตาง ๆ เชน พุมไม พงหญา ตนไมตาง ๆ และภายใตรมเงา ถาทําได การหาที่ซอนพรางตามธรรมชาติจะตองหางไกลจากสิ่งรบกวน ที่ซอนพรางที่มนุษยสรางขึ้นหมายถึง ส่ิงตาง ๆ เชน เครื่องแบบสนามชุดพราง ตาขายพราง การพรางหนาดวยสีพราง และวัสดุตามธรรมชาติที่เรานํามาจากแหลงกําเนิดของมนั ที่ซอนพรางที่มนุษยสรางขึ้นจะตองกลมกลืนกับที่ซอนพรางตามธรรมชาติในภูมิประเทศ

รูปท่ี ๑ - ๔ ทหารอยูในที่ซอนพราง ข. การซอนพรางตองรักษาวินัยการใชแสง เสียง และการเคลื่อนที่โดยเครงครัด วนิัยการใชแสงคือการควบคุมการใชแสงสวางในเวลากลางคืน เชน ไมสูบบุหร่ีในที่โลงไมเดินฉายไฟไปมา ไมเปดไฟหนารถยนต วนิัยการใชเสียงคือการเบี่ยงเบนเสยีงที่เกิดจากหนวยทหาร (เชน อุปกรณตาง ๆ) ใหไกลจากขาศึก เมื่อเปนไปไดใชวธีิติดตอส่ือสารที่ไมทําใหเกดิเสียง (ทัศนสัญญาณ) วินัยในการเคลื่อนทีค่ือ การกระทําใด ๆ ที่ไมมีการเคลื่อนไหวขณะอยูในที่มั่นตอสู นอกจากจําเปนอยางยิ่งยวด และไมเคล่ือนที่ตามเสนทางซึ่งใหการกาํบังและซอนพรางไดนอย ในการตั้งรับตองสรางที่มั่นตอสูที่ทําการพรางอยางดี และหลกีเลี่ยงการเคลือ่นที่ไปมาระหวางที่มัน่แตละแหงในการรบดวยวิธีรุก ทหารทําการพรางตนเองและอาวุธยุทโธปกรณของตนดวยการพรางและเคลือ่นที่ตามแนวปาหรือภูมิประเทศที่อํานวยตอการซอนพราง ความมืดไมอาจพรางตัวทหารจากการตรวจการณของขาศึกได ไมวาจะเปนในการรบดวยวิธีรุกหรือในการตั้งรับ เพราะปจจุบันขาศึกมีอุปกรณตรวจการณและตรวจจับฝายเราไดทั้งในเวลากลางวันและในความมดืหรือเวลากลางคืน ๑ - ๔ การพราง (CAMOUFLAGE) การพราง คือการกระทําใด ๆ ที่ทหารสรางขึ้นเพื่อปกปดหรือเปลี่ยนแปลงตวัทหารอาวุธยทุโธปกรณ และที่มั่นของทหารใหแปรสภาพจากที่มองเห็นตามปกติในสภาพแทจริง เราสามารถใชทั้งวสัดุตามธรรมชาติ และที่มนษุยทําขึ้นเพื่อทําการพราง จงเปลี่ยนและปรับปรงุการพรางของทหารบอย ๆ ชวงเวลาในการเปลี่ยน และปรับปรุงการพรางขึ้นอยูกับสภาพอากาศและวัสดุทีใ่ชพราง วัสดุพรางที่นํามาจากธรรมชาติ เชน กิ่งไม ใบไม จะมีการเหี่ยวเฉาทําใหเสียสภาพที่แทจริง ในทํานองเดียวกันการพรางที่มนุษยสรางขึ้นอาจเกิดการสึกกรอน หรือซีดจางขึ้นไดทําใหตวัทหาร ยทุโธปกรณและที่มั่นมีสภาพไมกลมกลืนกบัสิ่งแวดลอม ทําใหงายที่ขาศึกจะกําหนดจุดที่อยูของทหารได

Page 4: บทที่ ๑ - ๒ การกำบัง การซ่อนพราง

๑ - ๕ ขอพิจารณาในการซอนพราง ( CONCEALMENT CONSIDERATION ) การเคลื่อนที่เปนสิ่งดงึดูดความสนใจ เมื่อทหารสงสัญญาณแขนและมือ หรือเดินไปมาระหวางที่มั่นของทหารนั้น ขาศึกสามารถมองเห็นไดดวยตาเปลาจากระยะไกล ในการตั้งรับใหทาํตัวเองใหต่ําและเคลื่อนที่เทาที่จําเปนเทานั้นในการรบดวยวิธีรุกจงเคลื่อนที่ไปในเสนทางที่ปกปดและกําบังเทานั้น การหยดุอยูกับที่ไมควรกระทําในจุดที่ขาศึกเพงเล็งคนหาควรสรางที่มั่นในดานขางของเนิน หางจาก ชุมทางถนนหรืออาคารที่อยูโดดเดีย่ว และสรางในที่ใหการกําบังและซอนพราง หลีกเลี่ยงพื้นที่โลงแจง

รูปท่ี ๑ - ๕ การวางตัวในทีกํ่าบังและซอนตัวบริเวณท่ีดานขางของเนนิ

ก. แนวขอบดานนอกและรมเงา (OUTLINES AND SHADOW) อาจเปดเผยที่มั่นหรือยุทโธปกรณของทหาร จากผูตรวจการณทางอากาศหรือทางพื้นดิน แนวขอบดานนอก และรมเงาสามารถแปลงสภาพการมองเห็นไดดวยการพราง เมือ่เคลื่อนที่ไปควรอาศัยหลบไปตามรมเงาทุกครั้งเมื่อทําได

รูปท่ี ๑ - ๖ หนวยทหารในรมเงาของตนไม

Page 5: บทที่ ๑ - ๒ การกำบัง การซ่อนพราง

ข. แสงสะทอน (SHINE) เปนสิ่งดึงความสนใจของขาศึกอีกชนดิหนึ่ง เพราะมันอาจมองเหน็คลายแสงเมื่ออยูในที่มดื เชน บุหร่ีที่กําลังไหม หรือแสงไฟฉาย ในสภาพแสงของกลางวันมันอาจสะทอนแสงจาก ความมันของพื้นผิว เชน ถาดโลหะใสอาหาร หมวกเหล็กที่สวมอยู กระจกหนารถยนต หนาปดนาฬกิาและสายนาฬกิาหรอืสวนของผิวกายที่อยูนอกเสื้อผา ลําแสง หรือแสงสะทอนจากทีว่างตัวทหาร อาจชวยใหขาศึกตรวจจับทีว่างตัวได ดังนัน้เพื่อเปนการลดประกายสะทอนใหปกปดสวนของผิวกายดวยเสื้อผา และการใชสีพรางใบหนา แตอยางไรก็ตามในการรบทีใ่ชอาวุธนวิเคลียร ผิวที่ทาสีพรางจนเขมหรือดําสามารถดูดซับพลังงานความรอนไดมาก และอาจทําใหผิวไหมไดงายกวาผิวที่ไมทาสพีรางควรจะลดประกายสะทอนจากผิวของยุทโธปกรณ และยานยนตดวยการทาสี ใชโคลนปายหรือวัสดพุรางบางชนิด

รูปท่ี ๑ - ๗ ทหารจับคูกันพรางรางกาย ค. รูปทรง (SHAPE) คือ เสนขอบนอก หรือรูปแบบของวัตถุ รูปทรงของหมวกเหล็กเปนวัตถุที่งาย ในการสังเกตจดจํา รวมทัง้รูปรางของมนุษยดวย ใชการพรางและการซอนพรางเพื่อทําลายรูปทรงและสรางความกลมกลนืกับสภาพแวดลอม แตควรระวังอยาแตงจนเกนิไป

รูปท่ี ๑ - ๘ การพรางหมวกเหล็ก

Page 6: บทที่ ๑ - ๒ การกำบัง การซ่อนพราง

ง. สี (COLORS) ของผิวกาย เครื่องแบบ และยุทโธปกรณ ที่ตัดกับฉากหลังจะทําใหขาศึกตรวจจับ ไดงาย ตวัอยางเชน เครื่องแบบสีเขียวจะตัดกับภูมิประเทศที่ปกคลมุดวยหิมะ จงพรางรางกายและอาวุธยุทโธปกรณของ ทหารใหกลมกลืนกับภูมปิระเทศโดยรอบตัว

รูปท่ี ๑ - ๙ การพรางของทหารในขั้วโลก

จ. การกระจายกําลัง (DISPERSION) คือการขยายกลุมทหาร ขบวนยานยนต และอาวุธยุทโธปกรณออกหางจากกันในพื้นที่กวาง ถาทหารรวมกนัเปนกลุมกอนจะทําใหขาศกึตรวจการณเห็นไดงาย จึงควรกระจายออกหาง ๆ กันตามระยะทีแ่ตกตางกนัตามสภาพภูมิประเทศ และมุมตรวจการณดวยสายตาจากขาศึกและสถานการณของขาศึก โดย ผบ.หนวย เปนผูกําหนดระยะหาง หรือปฏิบัติตาม รปจ. ของหนวย

รูปท่ี ๑ - ๑๐ การกระจายกําลังของชุดยิง ๑ - ๖ จะทําการพรางอยางไร ( HOW TO CAMOUFLAGE) กอนทาํการพราง ใหศึกษาลักษณะภูมิประเทศและพืชพนัธุในบริเวณนั้น แลวนําวัสดุที่กลมกลืนกบัสภาพภูมิประเทศมากที่สุดใชพราง เมือ่เคลื่อนที่จาก ที่หนึ่ง ก็เปลี่ยนวัสดุพรางใหกลมกลืนกับสภาพแวดลอม ใชตนหญา ใบไม กิ่งไมและวัสดุอ่ืน ๆ ในบริเวณนั้นมาพรางเครื่องแบบ และยุทโธปกรณ ใชสีพรางหนาและผิวกาย

รูปท่ี ๑ - ๑๑ ทหารที่พรางรางกายแลว

Page 7: บทที่ ๑ - ๒ การกำบัง การซ่อนพราง

๑ - ๗ ท่ีม่ันตอสู (FIGHTING POSITIONS) เมื่อทหารสรางที่มั่นตอสู (หลุมปน) เสร็จแลว ใหทาํการพรางที่มั่น และดนิที่ขุดขึ้นมาจากหลุม ดินขุดใหมที่ใชทํามนูดินกําบังดานหนา ดานขางและดานหลังหรือโรยทับที่กําบังเหนือศีรษะตองทําการพรางใหกลมกลืนกับภูมิประเทศโดยรอบ อยาลืมพรางบริเวณกนหลุมปนดวยหญา ใบไม เพื่อปองกันการตรวจการณจากทางอากาศ ดินขุดใหมที่เหลือใหนําไปซอนทางดานหลังใหหางจากที่วางตวั

รูปท่ี ๑ - ๑๒ ท่ีม่ันท่ีพรางเสร็จแลว ก. อยาปลอยทิ้งวัตถุที่เปนประกาย หรือมีสีสดใสไวโดยไมมีการปกปดใหทหารซุกซอนเครื่องมือประกอบอาหารกระจกเงา กลองใสอาหาร ผาเช็ดตัว หรือเส้ือในสีขาวใหมดิชิด อยาถอดเสื้อในทีแ่จง เพราะผิวกายจะสะทอนแสงมองเหน็ได หามจดุไฟในที่โลง เพราะเปนโอกาสใหขาศึกมองเห็นเปลวไฟ หรือไดกล่ินควันและตองกลบเกลื่อนรองรอย หรือรอยเทาที่เดนิเหยยีบย่ําไปมา ในบริเวณโดยรอบ หรือใกล ๆ

รูปท่ี ๑ - ๑๓ ใชก่ิงไมใบหนากวาดกลบรองรอย

Page 8: บทที่ ๑ - ๒ การกำบัง การซ่อนพราง

ข. เมื่อทําการพรางเสร็จแลว ตรวจดูที่มั่นจากทิศทางที่ขาศึกอาจตรวจการณมาทุกทิศ โดยเริ่มจากทางดานหนาที่มั่น หางประมาณ ๓๕ เมตร หมั่นตรวจดูความสดของกิ่งไมที่ตัดมาพรางเปนระยะ ๆ ใหคงสภาพคลายสภาพแวดลอมตามธรรมชาติเมื่อเร่ิมเหี่ยวเฉาลงใหปรับเปลี่ยนกิ่งไมใหม ค. หมวกเหล็ก (HELMETS) ใชวัสดุพรางที่จายใหโดยเฉพาะหรือใชผาพราง ผากระสอบปานยอมสีตามสภาพแวดลอม พันชายผาเขาใตขอบหมวกไมตองขึงใหตึงนกั เพื่อใหชายผายืน่พนออกมาทาํลายรูปทรงของขอบหมวกเล็กนอย แตงเติมดวยกิ่งไมใบไมเล็ก ๆ ตนหญาหรือผากระสอบฉีกเปนร้ิว แลวรัดดวยยางเสนใหติดกับหมวก ถาไมสามารถหาวัสดุพรางใด ๆ ไดใหใชสีพรางหรือโคลน ทาที่ผิวพืน้ของหมวกเหล็ก เพื่อลดแสงสะทอน

รูปท่ี ๑ - ๑๔ การพรางหมวกเหล็ก ง. เครื่องแบบ (UNIFORMS) ปจจุบนัเครื่องแบบสวนใหญตัดเยบ็ดวยผาสีพรางอยูแลว แตอยางไรก็ตามอาจจําเปนตองเพิ่มเติมวัสดพุรางเพื่อใหมคีวามกลมกลนืกับสภาพแวดลอมดีขึ้นกวาเดิมโดยการใชโคลนทาเครื่องแบบที่สวมหรือแซมดวยกิ่งไมติดใบ, ตนหญา ผากระสอบฉีกเปนร้ิว แตอยาใหดรุูงรังมากเกินไป จนเปนจุดสนใจของขาศึก เมื่อออกปฏิบัติการในพืน้ที่หมิะปกคลุมใหสวมชุดสีขาว (ถามีจายให) ถาไมมีใหใชผาปูที่นอนสีขาว ดัดแปลงสวมทับ เพื่อใหกลมกลืนกับสีขาวของหิมะ และสภาพแวดลอม

Page 9: บทที่ ๑ - ๒ การกำบัง การซ่อนพราง

สีผิว บริเวณสะทอนแสง บริเวณรมเงา วัสดุพราง ดํา แดง หนาผาก, โหนกแกม, หู รอบขอบตา, ใตจมูก,

จมูก คาง ใตคาง สีดินและสีเขียวออน ใชไดทุกคนในบริเวณที่ม ี ใชสีดิน ใชสีเขียวออน ชนิดแทง พืชใบสีเขียว สีทรายและสีเขียวออน ใชไดทุกคนในบริเวณที่ม ี ใชสีเขียวออน ใชสีทราย ชนิดแทง พื้นใบเขยีวจํานวนนอย สีดินและสีขาว ใชไดทุกคนในบริเวณม ี ใชสีดิน ใชสีทา หิมะปกคลุม เทานั้น ผงถานเปลือกไม ใชไดทุกคนถาไมมีสีพราง ใชได หามใช หรือเขมา ชนิดแทง สีโคลนตาง ๆ ใชไดทุกคนถาไมมีสีพราง หามใช ใชได ชนิดแทง

รูปท่ี ๑ - ๑๕ สีตาง ๆ ท่ีใชในการพราง

จ. ผิวหนัง (SKIN) ผิวที่อยูนอกรมผาจะสะทอนแสงและอาจดึงความสนใจของขาศึกแมวาจะเปนผิว สีดําสนิท เพราะผิวหนังมนี้ํามันธรรมชาติซ่ึงสะทอนแสง ดังนั้นเมือ่จะใชสีพรางผิวหนาทําการพรางผิวหนังสวนอื่นใหปฏิบัติดังนี ้ ๑) จับคูกับเพื่อนเมื่อใชสีพรางชนิดแทงผลัดกันทาสีพราง ๒ สี สลับกันดวยลวดลายที่ไมเปนระเบียบ ใชสีเขมทาบริเวณสะทอนแสง (หนาผาก โหนกแกม จมูก หแูละคาง) ใชสีจางทาบริเวณเปนรมเงา (รอบ ขอบตา ใตจมูก ใตคาง) ผิวหนังอ่ืน ๆ นอกรมผา เชน ลําคอดานหลัง แขน หลังมือ ปกติจะไมพรางฝามือเพราะตองใชสง ทัศนสัญญาณ ถอดแหวน นาฬิกาออกใหหมด เพื่อลดการสะทอนแสง ๒) ถาไมมีสีพรางชนิดแทง ใชถานไม เขมาไฟ หรือโคลนสีจาง

Page 10: บทที่ ๑ - ๒ การกำบัง การซ่อนพราง

๑๐

บทที่ ๒ ที่มั่นตอสู

๒ - ๑ กลาวทัว่ไป ก. เมื่อทําการตั้งรับ หรือเมื่อหยุดหนวยช่ัวระยะเวลาสั้น ๆ ในระหวางปะทะกับขาศึก ทหารตองเลือกหาที่กําบังจากการยิง และทีห่ลบซอนจากการตรวจการณของขาศึก ที่มั่นตอสูบางชนิดใหการกําบังและหลบซอนไดดีที่สุด อาจเปนหลุมตาง ๆ ที่มีอยูในบริเวณนั้น หลุมนอนที่ขุดขึ้นอยางเรงดวน หรือที่มั่นที่ดัดแปลงไวอยางดีมีที่กําบังเหนอืศีรษะ ข. ที่มั่นตอสูทหารจะตอง ๑) ทําการยิงจากที่มัน่นั้นได ๒) ปองกันตัวทหารจากการตรวจการณ การยงิตรง และอาวุธกระสุนวิถีโคง ๒ - ๒ ท่ีกําบัง (COVER) ก. ที่กาํบังของที่มั่นตอสูจะตองแขง็แรงพอที่จะปองกันตัวทหารจากการยิงดวยปนเล็ก สะเก็ดระเบดิ จาก ป. ค. และคลื่นความรอนจากการระเบดิของอาวุธนิวเคลียร ดานหนาของที่มั่นจะตองมีส่ิงปองกันจากการยิงดวยปนเล็ก ส่ิงปองกันดานหนาที่มัน่ตามธรรมชาติเปนสิ่งที่ดีที่สุด (ตนไม หินกอนใหญ ซุง และหินทีแ่ตกทลายลงเปนกอง) เพราะซอนกําบังอยูหลังวัตถุตามธรรมชาติขาศึกยากที่จะสังเกตตรวจจับได ถาไมมีส่ิงกําบังตามธรรมชาติใหทหารใชดนิที่ขุดขึ้นมาจากหลุมทําเปนมูนดินปองกนัและดัดแปลงเพิ่มเติมใหแข็งแรง โดยบรรจุลงใหกระสอบแลวพรมดวยน้ํา ข. ที่กําบังดานหนาจะตองเปนดังนี ้ ๑) หนาพอที่จะหยดุความแรงของกระสุนปนเลก็ (อยางนอย ๔๖ ซม. หรือ ๑๘ นิ้ว) ๒) สูงพอที่จะปองกันศีรษะของทหาร เมื่อทําการยิงจากดานหลังที่กําบัง ๓) หางจากขอบหลุมพอที่จะวางขอศอกจัดทายงิไดสะดวก และปกหลักกาํหนดเขตการยิงทางเฉียงได ๔) ความยาวพอที่จะกําบังแสงที่ออกจากปากกระบอกปนขณะทหารทําการยงิทางเฉียง

รูปท่ี ๒ - ๑ ท่ีกําบัง

Page 11: บทที่ ๑ - ๒ การกำบัง การซ่อนพราง

๑๑

ค. ทหารจะตองสรางที่มั่นตอสู เมื่อทหารตกอยูภายใตการยิงของขาศึกจากทางดานหนา ทหารสามารถหลบเขาหลังที่กําบังดานหนาของที่มั่น ซ่ึง ณ จุดนั้นทหารยังคงยิงตอสูในทางเฉียงได

รูปท่ี ๒ - ๒ ท่ีม่ันตอสู (หลุมบุคคล) ง. สําหรับที่มั่นที่ใหการปองกันรอบดานรวมทั้งปองกันจากการโจมตีดวยอาวธุนิวเคลียร จะตองสรางใหมีที่กําบังเหนือศีรษะ ดานขาง และดานหลัง โดยใชดินที่ขุดขึ้นจากหลุม เพื่อปองกันสะเก็ดระเบิดจากกระสุน ป., ค. ที่มาจากดานบน ดานขาง หรือดานหลัง ที่มั่นที่มีที่กําบังยังชวยปองกันจากการยิงของอาวุธยิงสนับสนุนของฝายเดียวกนัจากทางดานหลัง หรือกระสุนทีย่ิงจากรถถัง จ. ทหารจะตองเหลือที่วางพอคลานออกไปไดในที่กําบังดานหลัง เพื่อใชเปนแนวทางเขาหรือออกไปจาก ที่มั่นโดยไมเปดเผยตนเองตอการตรวจการณของขาศึก ฉ. เพือ่เพิ่มโอกาสในการเอาตัวรอดจากการโจมตีดวยอาวุธนวิเคลียร ที่มั่นตอสูของทหาร จะตองประกอบดวยขอพิจารณาดังตอไปนี ้ ๑)ที่กําบังโดยรอบที่เปนรูปวงกลม จะยดึกนัมั่นคงไดดีกวาแบบสี่เหล่ียมจัตุรัสหรือส่ีเหล่ียมผืน ผา เมื่อถูกคลื่นนิวเคลยีรกระแทกและหลุมรูปวงกลมขุดไดงายกวา ๒) ชองเปด (ชองยงิ) ที่เล็ก ๆ ชวยปองกันการแผรังสีของนิวเคลียร ซ่ึงกระจายเขามาในที่มั่นทางชองเปด ๓) ที่มั่นตอสูที่ขุดลึกกวา จะนําดนิมาทํากําแพงปองกันไดหนากวา จากแรงระเบิดของอาวุธนิวเคลยีรดังนั้นที่มั่นที่ขดุลึกจะลดการแผรังสีที่ผานเขาไปในหลุม การแผรังสีจะถูกลดสวนลง ๒ สวน ตอทกุ ๆ ความลึก ๑๖ นิ้วของหลุม ๔) รูปทรงของที่มั่นที่ต่ํา การเสริมดินใหหนาในดานที่มีการแผรังสีเขามา การนอนตะแคงงอขดลําตัว หรือจะใหดีทีสุ่ดถานอนหงาย แลวงอเขาทั้งสองขางมาชิดหนาอก ใหแขนกอดรดัไวเพื่อปองกนัรางกายเราจากการแผรังสี ๕) การแผรังสีความรอน จะเขามาในที่มั่นของทหารในแนวระดับสายตา หรือโดยการสะทอนออกรอบดานวัตถุที่มีสีเขมและหยาบ (เชน ผาหมขนสัตว และหมวกคลมุแบบไอโมง) สามารถนํามาใช เพื่อกําบังรังสีที่สะทอนกระจายอยูตามผิวพื้น

Page 12: บทที่ ๑ - ๒ การกำบัง การซ่อนพราง

๑๒

รูปท่ี ๒ - ๓ ท่ีม่ันซึ่งมีท่ีกําบังรอบตัวและชองคลานเขาออก

๒ - ๓ การหลบซอน (CONCEALMENT) ก. ถาที่มั่นหรือที่ทหารวางตัวทหารถูกตรวจพบ ขาศึกสามารถยิงมายังที่นัน้หรือเขาโจมตจีุดนั้น ทําใหทหารถูกสังหารได ดังนัน้ทีม่ั่นของทหารจะตองมีการหลบซอนที่ดี เพื่อขาศึกจะตรวจพบไดยากขึน้ แมวาจะอยูใกลขาศึกเพียงแคระยะขวางระเบดิ ข. ที่ซอนพรางตามธรรมชาติ ที่ซอนพรางที่หางจากการรบกวนใด ๆ เปนทีท่ี่ดีกวาที่ซอนพรางที่ทหาร สรางขึ้นเพราะเหตวุา ๑) ธรรมชาติไดสรางขึ้นไวเรียบรอยดีแลว ๒) โดยทั่วไปจะไมดึงความสนใจของขาศึก ๓) ไมตองปรับเปลี่ยนสภาพใด ๆ ค. ในขณะที่ทหารขุดดัดแปลงที่มั่น จงระมัดระวงัไมรบกวนทําลายที่ซอนพรางตามธรรมชาติโดยรอบ ดินที่ขุดไดจากหลุม และเหลืออยูใหนําไปพราง และพรางไวทางดานหลัง

รูปท่ี ๒ - ๔ ท่ีม่ันพรางเสรจ็แลว ง. วัตถุทีใ่ชพรางดีที่สุดคือส่ิงที่ไมจําเปนตองปรับเปลี่ยน เชน หนิกอนใหญ ทอนซุง พุมไมสดที่ไมไดขุดขึ้นมาและกอหญา ทหารไมควรใชวัสดุพรางจนมากเกินเหตุ เพราะจะทําใหที่มัน่มีสภาพแตกตางไปจากสภาพแวดลอม จ. ที่มั่นตองใหการซอนพรางไดทั้งจากอากาศยานของขาศึก และกองทหารภาคพื้นดิน ถาที่มั่นสรางไวใตพุมไมใบหนา ตนไมใหญ หรือในตวัอาคาร โอกาสนอยมากที่จะมองเหน็จากที่สูงกวา ใชใบไมฟางขาว จะชวยพรางหนาดินที่เปยกชืน้ ไมใหมีตดักับพื้นดินแหงโดยรอบทีม่ั่น อยาใชกิง่ไมระเกะระกะวางรองกนหลุมที่มั่นเพราะมันอาจเปนตัวขวางการกลิ้งของลูกระเบิดขวางลงสูหลุมดัก

Page 13: บทที่ ๑ - ๒ การกำบัง การซ่อนพราง

๑๓

รูปท่ี ๒ - ๕ ท่ีม่ันท่ีซอนการตรวจการณทางอากาศ ฉ. ที่ซอนพรางที่ทหารดัดแปลงสรางขึ้นเองจะตองกลมกลืนกับสภาพแวดลอม เพื่อจะไดไมถูกตรวจพบ ๒ - ๔ เขตการยิง (SECTOR AND FIELD OF FIRE) ก. เขตการยิงคือบริเวณทั้งหมดที่ทหารตองตรวจการณและยิงไดจริง เมื่อ ผบ.หนวย มอบหมายที่มั่นตอสูใหทหาร ผบ.หนวย จะมอบเขตการยิงหลัก (PRIMARY SECTOR OF FIRE) ใหเขตการยิงหลัก คือ เขตทางเฉียงกับทีม่ั่น และเขตการยิงรอง คือ เขตดานตรงหนาที่มั่น

รูปท่ี ๒ - ๖ ท่ีม่ันตอสูและเขตการยงิ

ข. เพื่อใหทหารตรวจการณเหน็ และยิงไดตลอดเขตการยิง ทหารตองกําจัดพืชลมลุกและสิ่งกีดขวาง ตาง ๆ ในเขตการยิง ซ่ึงเรียกวา “ การถากถางพื้นยิง ” ค. เมื่อทําการถากถางพื้นยิง ๑) ตองไมถากถางสิ่งปกปดที่มั่น ออกมากเกนิไปจนเปดเผยทีม่ั่น ๒) ปลอยไว หรือไมถากถางพุมไมบาง ๆ ใหเปนฉากกําบังตามธรรมชาติ ๓) กิ่งกานสาขาของตนไมใหญที่อยูเร่ียดนิ และตนไมที่แผใบบาง ๆ ซ่ึงกระจายอยูในเขตการยิง ใหตดัออกใหเหลือนอยลง ๔) ถากถางบริเวณใตพุมไม เฉพาะบริเวณที่บังการตรวจการณของทหาร ๕) เก็บเศษพุมไมทีต่ัดออก กิ่งใบ และวัชพืชที่ถากถางออกไปทิ้งใหไกล เพือ่มิใหขาศึกผิดสังเกต ๖) ใชโคลนทาทับรอยที่ทหารตัดบนตนไมหรือพุมไม ไมใหผิดสังเกตในพื้นที่หิมะปกคลุมใหใชหิมะโปะ ๗) กลบเกลื่อนรองรอยไมทิ้งไวเปนหลักฐานใหขาศึกรู

Page 14: บทที่ ๑ - ๒ การกำบัง การซ่อนพราง

๑๔

รูปท่ี ๒ - ๗ ทหารทําการถากถางพืน้ยิง

รูปท่ี ๒ - ๘ ง. พื้นยงิดานหนา ควรโลงยาวออกไปจนสุดระยะยิงของอาวุธประจํากาย จ. พื้นยงิทางเฉียง อํานวยใหทหารยิงขาศึกที่เขาปะทะจากมุมที่ขาศึกไมคาดคิด และยังชวยในการยิงสนับสนุนที่มั่นดานขางของทหารไดอีกดวย ฉ. เมื่อทําการยิงไปทางเฉียง แนวยิงจะประสานกบัที่มั่นอื่น ๆ เปนการสรางกําแพงกระสุน ขดัขวางการรุกเขามาของขาศึก

รูปท่ี ๒ - ๙ ทหารทําการยิงไปทางเฉยีงตอบโตการยงิของขาศึก

Page 15: บทที่ ๑ - ๒ การกำบัง การซ่อนพราง

๑๕

๒ - ๕ เราจะสรางที่ม่ันตอสูอยางไร (HOW TO BUILD FIGHTING POSITION) ก. ที่มั่นตอสูสรางเรงดวน (HASTY FIGHTING POSITION) เมื่อมีเวลาเตรียมการนอย ควรสรางที่มั่นตอสูแบบเรงดวน ซ่ึงอาจจะอยูดานหลังส่ิงกําบังที่มีอยูแลว มีส่ิงกําบังจากการยิงของขาศึกทางดานหนา แตยังคงอํานวยใหฝายเรายิงไปทางดานหนาและทางเฉยีงได คําวา “ เรงดวน ” ไมไดหมายความวา ไมมีการขุดดัดแปลง ถาบริเวณนั้นมหีลุมตามธรรมชาติ หรือคูน้ําแหง ที่สามารถใชเปนที่กําบังไดก็ใหขุดเปนหลุมนอนยิงเพื่อใชปองกันได บางหลุมควรมีขนาดลึกประมาณ ๑/๒ เมตร ใชดินจากการขุดสรางที่กําบังโดยรอบที่วางตัว

รูปท่ี ๒ - ๑๐ ท่ีม่ันเรงดวน

รูปท่ี ๒ - ๑๑ หลุมบุคคลขุดเปนแนวตรง และแนวโคง หลังท่ีกําบัง

ข. ที่มั่นตอสูสําหรับทหาร ๒ คน (TWO MAN FIGHTING POSITION) ในการตั้งรับทหารจะสราง ที่มั่นตอสูสําหรับทหาร ๒ คน หรือเรียกวาหลุมบคุคลคูทําการปรับแตงใหมัน่คงกลมกลืนสภาพแวดลอมตามที่เวลามีใหทําได ๑) พยายามขุดหลุมใหแคบ หลุมยิงยิ่งแคบอันตรายจากการยิงดวยกระสุนปน ระเบิดมือ หรือสะเก็ดระเบิดแตกอากาศก็จะลดลง แตหลุมจะตองกวางพอใหทหารและเพื่อนคูหู ลงไปไดสะดวกในสภาพการแบกเครื่องสนามเต็มอัตรา หลุมของแตละคนจะตองยืน่ออกไปจนเลยขอบของที่กําบังดานหนาเพื่อใหทหารตรวจการณ และยิงไปทางดานหนาได ปกติจะขุดหลุมเปนแนวตรง แลวนาํดินที่ขุดได ทาํเปนมูนดนิกําบังดานหนาอาจขุดเปนแนวโคงหลังที่กําบังก็ได

Page 16: บทที่ ๑ - ๒ การกำบัง การซ่อนพราง

๑๖

๒) หลุมที่ขุดเปนแนวโคงหลังที่กําบังดานหนาอาจจําเปนในภูมิประเทศที่เปนทางตรงหนาไดดีกวา รวมถึงที่มั่นอื่น ๆ ทางดานขางของเราดวยการขุดใหเปนแนวโคงทําไดโดยคอย ๆ ขุดขยายทั้ง ๒ ปลายของหลุมดานซายและดานขวาจนขอบหลุมดาน ซาย - ขวา มาสุดที่ดานขางซาย - ขวา ของมูนดิน ๓) หลุมที่เปนรูปโคงอํานวยใหทหารคนหนึ่งตรวจการณดูขาศึก ในขณะที่อีกคนพักผอน หรือกินอาหารและทหารยังสามารถตรวจการณ และยิงไปทางดานหนาเมื่อไมมีการยิงตอบโตจากขาศึก และเมื่อมีการยิงจากขาศกึทหารก็ถอยกลับไปอยูหลังทีก่ําบังดานหนาได

รูปท่ี ๒ - ๑๒ การเคล่ือนท่ีจากหลังท่ีกําบังไปยงัตรงหนา

๔) บนเนินที่ลาดชัน การขุดหลุมเปนแนวตรงไมเปนผลดีตอการวางตวัและยิงจากดานหลังมูนดนิกําบงัไปยังขาศึกที่เขาปะทะตรงหนาเพราะทหารอาจตองโผลขึ้นมายิงพนมูนดนิกําบงั ทําใหเปดเผยตนเองตอขาศึก

รูปท่ี ๒ - ๑๓ ผลกระทบตอการขุดหลุมเปนแนวตรงบนลาดหนาเนินชนั

๕) เพื่อหลีกเลี่ยงการโผลขึ้นมายิงพนมูนดนิกําบงัดานหนา ใหขุดชองยิงที่สุดปลายซาย ขวา ของหลุมออมมาดานขางของมูนดินกาํบังที่ขุดได นาํไปเติมที่มูนดนิกําบังดานหนา

Page 17: บทที่ ๑ - ๒ การกำบัง การซ่อนพราง

๑๗

รูปท่ี ๒ - ๑๔ การขุดชองยงิ ซาย – ขวา

๖) ขุดหลุมใหลึกเทาระดับรักแรของทหาร วธีินี้เปนการลดอันตรายจากดานขางและทหารยืนยิงไดสะดวก ขนาดของหลุมควรมีความยาวเทากับ ปลย.เอ็ม. ๑๖ สองกระบอกตอกนัและกวางเทากับสองดาบ ปลายปน เหลือที่วางบนขอบหลุมถึงมูนดนิกําบัง ใหพอวางขอศอกไดเมื่อทําการยิง

รูปท่ี ๒ - ๑๕ ความลึกขนาดรักแร

รูปท่ี ๒ - ๑๖ ท่ีวางของหลุม ขุดวางขอศอกประทับยิง ๗) ขุดหลุมเล็ก ๆ เปนหลุมวางขอศอก เพื่อวางขอศอกใหมั่นคงขณะทําการยิง เพื่อความแมนยํายิ่งขึน้ถาทหารประจาํหนาที่ ปกบ. หรืออาวุธกลอื่น ๆ ใหขุดรองเล็ก ๆ เพื่อวางขาทรายใหมั่นคงขณะยิง

Page 18: บทที่ ๑ - ๒ การกำบัง การซ่อนพราง

๑๘

รูปท่ี ๒ - ๑๗ ขุดหลุมเล็ก ๆ สําหรับขาทรายของ ปกบ. ๘) ตอกหลักกําหนดเขตการยิง (SECTOR STAKES) ทางซาย และทางขวา เพื่อความชัดเจนของเขตการยิงของทหาร เพื่อปองกันการยิงเขาใสทหารฝายเดยีวกันดวยอุบัติเหตุไมตั้งใจ ใชกิ่งแขนงของตนไมขนาดใหญพอกนั ยาวประมาณ ๑๘ นิ้ว (๔๖ ซม.) ปกใหแนนโผลพนพืน้ดินสูงพอที่จะกันแนวปนใหช้ีไปตาม ทิศทางของเขตการยิง ๙) ตอกหลักเล็ง (AIMING STAKES) เพื่อเปนหลักเสริมชวยใหทหารยงิไปยังจดุอันตรายที่ขาศึกกําลังเคลื่อนที่เขามาในเวลากลางคืนและเมือ่สภาพทัศนวสัิยเลว ปกไมงาม ๒ อัน ยาวประมาณ ๓๐ ซม. ไวรองรับ ลํากลองปน ทํามุมแยกกันเลง็ไปยังทิศทางเขามาของขาศึกที่นาเปนอนัตราย ปกไมงามอีก ๑ อัน ที่ดานหลังของ ๒ อันแรก เพื่อรองรับพานทายปน โดยทําใหหมนุไดดวยการตดักระบอกไมไผ ประมาณ ๑/๒ ของปลองเหลือขอไวดานลาง ฝงลงในดินแลวใชไมงามสําหรับรองพานทายปนหรืออาจทําไวรองบริเวณเหล็กยดึฝาประกับลํากลองปนเสียบลงในไมไผ เพื่อใหสายปนหมนุไปมาได

รูปท่ี ๒ - ๑๘ หลักเล็งและหลักเขตการยิง

Page 19: บทที่ ๑ - ๒ การกำบัง การซ่อนพราง

๑๙

๑๐) ขุดหลุมดักลูกระเบิดขวาง (GRENADE SUMPS) ในพืน้ดิน ๒ หลุม ทางปกซาย ขวาของหลมุปนใหลึกมากพอ ถาขาศึกขวางลูกระเบดิลงมาในหลุม ใหทหารเขีย่ลูกระเบิดลงไปในหลุมดกัลูกระเบิด จะลดความแรงของลูกระเบิดที่ระเบิดออกสวนหนึ่ง สวนแรงระเบิดที่เหลือจะพุงออกดานบนออกไปนอกหลุม ๑๑) การขุดหลุมดักลูกระเบิด ใหมีลักษณะดังนี ้ ก) ความกวางขนาดพลั่วส้ัน ของทหาร ข) ลึกเทากับความยาวใบพลั่วส้ัน (E - TOOL) หรือยิ่งลึกยิง่ดี ค) ความยาวของหลุมดักลูกระเบิด เทากับความกวางของหลุมปนดานซาย และขวา ๑๒) การทําทางระบายน้ํา (WATER DRAINAGE) ขุดพื้นหลุมใหเอยีงลงเล็กนอย ลาดไปทางหลุมดักลูกระเบดิ เพื่อใหน้ําไหลลง และยังเปนลาดใหลูกระเบิดขวางไหลลงหลุมดักไดงายขึ้น

รูปท่ี ๒ - ๑๙ หลุมดักระเบิดขวาง

๑๓) ทําท่ีกําบังเหนอืศีรษะ (OVERHEAD COVER) เพื่อปองกันสะเก็ดระเบิดแตกอากาศ โดยการทําได ๒ แบบ คือ ทําครอมตรงกึ่งกลางของหลุมปน หรือทําเฉพาะครึง่หลุมดานหลัง

รูปท่ี ๒ - ๒๐ ท่ีกําบังเหนือศีรษะ

Page 20: บทที่ ๑ - ๒ การกำบัง การซ่อนพราง

๒๐

รูปท่ี ๒ - ๒๑ วางทอนไมปองกันดานหนา ๑๔) เมื่อพิจารณาแลววา ถาสรางที่กําบังเหนือศีรษะแลวขาศึกก็ยังตรวจการณเห็นไดยากใหสรางขึ้นไดโดยใชทอนไมขนาดเสนผาศูนยกลาง ๔ - ๖ นิ้ว เปนทอนหนนุโดยวางทางดานหนา และดานหลังของ หลุมยาว เทากับความยาวของหลุมปน ทั้งดานหนาและดานหลัง ๑๕) วางทอนไมขนาดเสนผาศูนยกลาง ๔ - ๖ นิ้ว วางพาดระหวางทอนไมที่วางเปนทอนหนุนไวแลว เพื่อเปนที่กนักระสุนระเบิดเหนือศีรษะ

รูปท่ี ๒ - ๒๒ ทําท่ีกําบังเหนือศีรษะกลางหลุมบุคคลคู ๑๖) ปูแผนผายางกนัน้ํา (PONCHO)หรือลังบรรจุเสบียงกระปองทับบนทีก่ําบังเหนือศีรษะเพื่อกันน้ําไหลลงตามรองไม

รูปท่ี ๒ - ๒๓ ปูแผนผายางกันน้ํา

Page 21: บทที่ ๑ - ๒ การกำบัง การซ่อนพราง

๒๑

๑๗) โรยดินทับบนผายาง ๖ - ๘ นิ้ว ใชหญาหรือใบไมโรยทับทําการตกแตงพรางใหกลมกลืนกับสภาพแวดลอม

รูปท่ี ๒ - ๒๔ พรางที่กําบงัเหนือศีรษะ

ก) ถาเห็นวาสรางที่กาํบังเหนือศีรษะตรงกึ่งกลางหลุมแลวขาศกึอาจตรวจการณเห็นไดงาย ใหสราง ที่กําบังเหนือศรีษะทางดานขางเพื่อเปนที่กําบังของแตละคน แตเมื่อเขาไปอยูใตทีก่ําบงัดานขางนี้แลว ทหารทั้งสองคนไมสามารถตรวจการณและทําการยิงไปตามเขตการยิงของตนได ข) ถาสรางที่กําบังศีรษะดานขาง ซาย - ขวา ของหลุมปนใหขุดหลุมดักลูกระเบดิเพียงหลุมเดียวตรงกลางหลุมติดกับกําแพงหลุมดานหลังแลวปาดพื้นใหลาดลงสูหลุมนั้น

รูปท่ี ๒ - ๒๕ ท่ีกําบังเหนือศีรษะทางดานขาง ซาย – ขวา

๑๘) ขุดพื้นที่เพื่อทําที่กําบังเหนือศรีษะทางปลายหลุมบุคคลคู ๒ ดาน ก) ขุดหนาดินลึกประมาณ ๑๒ นิ้ว ข) ขุดใหเลยความกวางของตวัหลุมออกไป ๒ ดาน หนา - หลัง ดานละ ๑๘ นิ้ว ค) ความกวางจากปลายหลุม ๓ เมตร เก็บหญาผิวดินไวทําการพราง

รูปท่ี ๒ - ๒๖ ขุดท่ีกําบังเหนือศีรษะทางดานขาง

Page 22: บทที่ ๑ - ๒ การกำบัง การซ่อนพราง

๒๒

๑๙) ขั้นตอไป วางทอนไมขนาด ๔ - ๖ นิ้ว พาดหลุมที่ขุดตอออกไปทางดานขาง เพือ่เปนตัวรับน้ําหนกัสิ่งที่จะนํามาคลุมทับดานบน วางแผนผายางกันน้ํา กลบดวยดินรวนและพรางดวยหญาผิวหนาดนิ ที่แฉะออกไป

รูปท่ี ๒ - ๒๗ วางทอนไมพาดน้ําหนัก

รูปท่ี ๒ - ๒๘ พรางดวยหญาผิวดิน ๒๐) เมื่อพรางเสร็จแลว ลงไปขดุชองเก็บสัมภาระทั้ง ๒ ดาน ซาย - ขวา ใตที่กําบังเหนือศีรษะ ใหกวางพอสําหรับตัวทหารและสัมภาระ

รูปท่ี ๒ - ๒๙ เจาะชอง ซาย – ขวา

๒๑) ในบริเวณที่เปนดินทราย หรือดินรวนผนังดานในของหลุมตองมีการเสริม ส่ิงกันดินผนังพังทลาย (REVETMENT) โดยใชส่ิงตาง ๆ เชน ตาขายลวด (MESH WIRE) แผนไมหรือลังกระดาษ หรือทอนไม หรือไมรวกสานเปนตะแกรงวางขนาบดานขางของหลุมแลวตอกสมอบกทําการยดึจากกิ่งไมไวที่ขอบหลุม ขึงใหอยูดวยเชือก แลวตอกใหจมลงในดินไมใหระเกะระกะ

Page 23: บทที่ ๑ - ๒ การกำบัง การซ่อนพราง

๒๓

รูปท่ี ๒ - ๓๐ การเสริมสิ่งกันผนงัดนิพงัทลาย ค. ที่มั่นตอสูเดี่ยว (ONE - MAN FIGHTING POSITION) ในบางโอกาสทหารอาจตองขุดหลุมบุคคลเดี่ยว ซ่ึงมีวิธีขุดเหมือนกับหลุมบุคคลคู ยกเวนขนาดที่เล็กกวาในขนาดที่กวางพอสําหรับตัวทหาร ๑ คน พรอมสัมภาระรบ

รูปท่ี ๒ - ๓๑ ท่ีม่ันตอสูเดี่ยว (หลุมบุคคลเดี่ยว) ง. ที่มั่นตอสูตั้งยิงดวย ปกบ. (MACHINE GUN FIGHTING POSITION) เมื่อทหารอยูในหมู ปกบ.กําลังในพวก ปกบ.ตองสรางหลุมตั้งยิงของ ปกบ.กอนทีจ่ะเริ่มสราง ผบ.หนวยตองพจิารณาถึง ๑) กําหนดที่ตั้ง ปกบ. ๒) กําหนด/มอบ เขตการยิงหลักและรอง ๓) มอบทิศทางยิงหลัก (PRINCIPAL DIRECTION OF FIRE ยอ PDF หรือแนวยิงปองกัน ขั้นสุดทาย (FINAL PROTECTIVE LINE) ยอ FPL หมายเหตุ ๑. FPL คือ แนวทีป่นกลยิงกวาดขามหนวยทหารขางหนา ๒. การยิงกวาด (GRAZING FIRE) คือ การยิงสูงเหนือพืน้ดิน ๑ เมตร ๓. ถาไมมีการมอบ FPL ใหถือวา PDF คือ ทิศทางที่ปนหันไปหรือตองหันไป เมื่อไมไดทําการยิงตอที่หมายในสวนอื่น ๆ ขอบเขตการยิง ๑) ส่ิงแรกที่จะตองทําเมื่อทําการสรางหลุม ปกบ. คือ ทําหมายจดุวางขาหยั่ง ปกบ. กอน แลวเร่ิมหมายแนวเขตการยิงดวยการปกหลักกําหนดเขตการยิง ขีดเสน รูปรางของหลุม และที่กําบังดานหนา เปนรูปรางไว

Page 24: บทที่ ๑ - ๒ การกำบัง การซ่อนพราง

๒๔

รูปท่ี ๒ - ๓๒ ขีดเสนหมายแนวรูปรางของหลุม ปกบ. ๒) สําหรับหลุมตั้งยิง ปก. M60 การขุดใหกนัพื้นที่ทางมุมซาย และมุมขวาของหลุมดานหนาไวทั้ง ๒ มุม เพื่อใชทําเปนที่ตั้งยิงไปในเขตการยิงหลัก (PRIMARY SECTOR OF FIRE) และที่ตั้งปนดานนีจ้ะใชขาหยั่ง (TRIPOD) ปกบ. ติดตั้งปนดวย มุมอีกดานหนึ่งจะใชตั้ง ปกบ. ยงิไปในเขตการยิงรอง (SECONDARY SECTOR OF FIRE) และที่ตั้งดานนี้จะทําการยิงดวยการใชขาทราย (BIPOD) ตองขุดเปนรองสําหรับวางขาทรายดวย

รูปท่ี ๒ - ๓๓ หลุม ปกบ. และที่ตั้งปน

๓) ที่ตั้ง ปกบ. ที่ทําไวจะชวยลดภาพทางดานขางของพลยิง และยังลดความสูงของมูนดินกําบังดานหนาดวย แตที่ตั้งตองไมต่ํามาก จนไมสามารถสายปนไปในเขตการยิงได ๔) ในบางกรณี อาจตองใชกระสอบทรายวางทับพื้นที่ตั้ง ปกบ. ไวดวย และยังใชกระสอบบรรจุทรายวางทับขาหยั่งเพื่อไมใหเล่ือนไปมาดวย

รูปท่ี ๒ - ๓๔ ภาพแสดงตําแหนงขุดหลุมดกัลูกระเบิด

Page 25: บทที่ ๑ - ๒ การกำบัง การซ่อนพราง

๒๕

๕) หลังจากเตรียมที่ตั้ง ปกบ. แลวใหทําแผนจดระยะ (ตามผนวก ด ) แลวขุดหลุมวางตวัของพลยิงเปนรูปตัว (T) กลับหัวลง ดานหัวของตวั T ตองยาวกวาดานขาตวั (T) ซ่ึงหันไปทางดานขาศึก ขุดใหลึกขนาดรักแร เมื่อยืนในหลุมใชดินที่ขุดไดทํามูนดินกําบงัดานหนากอน ใหสูงและหนาพอกนักระสุนไดแลวจึงทํามูนดินกําบังดานขางและดานซาย ๖) ขุดหลุมดักลูกระเบิดขวางที่ปลายหลุมดาน ซาย - ขวา ดานละ ๑ หลุม เหมือนกับการขุดหลุมบุคคลคู และสรางที่กําบังเหนือศีรษะของที่มั่นเหมือนกับการสรางของหลุมบุคคลคู

รูปท่ี ๒ - ๓๕ ท่ีตั้ง ปกบ. พรอมท่ีกําบังเหนือศีรษะ

เมื่อเขตการยิงของ ปกบ. มีเฉพาะเขตการยิงหลัก ขุดทีต่ั้งยิงไวมุมเดยีวเทานัน้

รูปท่ี ๒ - ๓๖ ท่ีตั้ง ปกบ. ไมมีเขตการยงิรอง

๗) พลกระสุน (THE AMMUNITION BEARER) ของ ปกบ. ขุดหลุมบุคคลเดี่ยวอยูทางดานใกลกับตวัพลยิง ปกบ. ซ่ึงเปนดานของแนวยิงปองกันขั้นสุดทาย (FPL หรือ PDF) จากจดุนัน้พลกระสุนสามารถตรวจการณและยิงไปยังเขตการยิงรอง และยังจบัตาดูพลยิงผูชวยไดตลอดเวลา และขุดคูคลานติดตอมาจนถึงหลุมของพลยิง ปกบ. เพื่อสามารถนํากระสุนมาเพิ่ม หรือเปลี่ยนตําแหนงกับพลยิงหรือพลยิงผูชวย

Page 26: บทที่ ๑ - ๒ การกำบัง การซ่อนพราง

๒๖

รูปท่ี ๒ - ๓๗ ท่ีม่ันสําหรับพลกระสุน

๘) สําหรับที่ตั้งของ ปก. (ขนาด .๕๐ นิ้ว) ขุดที่ตั้งปนเพยีงดานเดียว ใหต่ํากวาระดับพื้นดินนอกหลุม เหมือนกบัที่ตั้ง ปก. เอ็ม.๖๐ แตลึกกวา และรองพืน้ที่ตั้งปนดวยกระสอบบรรจุทราย และวางกระสอบบรรจุทรายทับที่ขาหยั่งดวย เพราะปนมแีรงสั่นสะเทือนขณะทําการยิงเสริมลวดตาขายกันดินพัง บริเวณผนังของหลุมและผนังที่ตั้งปนดวย ๙) เมื่อขุดที่ตั้งปนแลว เตรยีมทําแผนจดระยะ และเริ่มขุดหลุมที่วางตัวของพลยิงเปนรูปตัวแอล ( L) โดยใหที่ตั้ง ปก. (ขนาด .๕๐ นิ้ว) อยูตรงกลางของตัวแอล ( L ) ใหลึกขนาดรักแรเมื่อลงยืนในหลมุ ใชดินในหลุมทําที่กําบังดานหนากอนจนหนาพอจึงทําทีก่ําบังดานขาง และดานหลัง

รูปท่ี ๒ - ๓๘ ท่ีม่ันตอสูบุคคลคูดัดแปลง

ขุดหลุมดักลูกระเบิดขวาง ที่ปลายหลุมทั้ง ๒ ดาน เหมอืนกับหลุมบุคคลคู

รูปท่ี ๒ - ๓๙ ท่ีม่ันตอสูบุคคลดัดแปลงแบบมีท่ีกําบังเหนือศีรษะ

Page 27: บทที่ ๑ - ๒ การกำบัง การซ่อนพราง

๒๗

จ. ที่มั่นตอสูของจรวดดรากอน (DRAGON FIGHTING POSTTION) จรวดดรากอนสามารถ ทําการยิงไดทัง้จากหลุมบุคคลเดี่ยวและหลุมบุคคลคู แตตองมีการเปลี่ยนแปลงบางสิ่งภายในทีม่ั่น การทําแผนจดระยะของจรวดดรากอน ใหเตรยีมใหเสร็จกอนทาํการขุดหลุม ๑) ขุดหลุมใหกวางพอที่จะใหปากของลํากลองจรวด ยืน่เลยดานหนาของหลุมออกไปและดานทายของลํากลองจรวด ยื่นเลยขอบหลังของหลุมออกไป เพื่อใหเปลวไฟจากแรงระเบิดออกไปนอกหลุม

รูปท่ี ๒ - ๔๐ ท่ีม่ันของจรวดดรากอน

๒) การขุดหลุมดานที่จะใชเปนจุดยิงจรวดใหลึกเพยีงระดบัเอวเทานัน้ เพื่อใหพลยงิเคลื่อนไหวขณะเล็งตามไปได อีกดานหนึ่งขุดใหลึกระดับรักแร และขุดหลุมเล็ก ๆ สําหรับขาตั้ง ๒ ขา ของจรวดดานหนาของหลุมดวย การสรางมูนดินตองใหสูงพอกําบังจากทางดานหนา เพราะขณะทําการยิง พลยิงตองยืนสูงขึ้นมาเหนือพื้นดนิ ๓) สรางที่กําบังเหนือศีรษะทางดานปกอีกดานหนึ่งของหลมุปน ใหกวางพอสําหรับพลยิง และยุทโธปกรณและตัวจรวดจะไมสรางที่กําบังเหนือศีรษะไวตรงกลางหลมุ เพราะจะมีความสูงซ่ึงขาศึกงายตอการสังเกต

รูปท่ี ๒ - ๔๑ การยิงจรวดดรากอนจากที่ม่ัน ตรวจดดูานหลังใหวางจากสิ่งใด ๆ กอนทําการยิงจรวดดรากอน ไมมทีหารอยูในรัศมีแรงระเบิดของเปลวความรอน หรือมีเนินดนิ หรือตนไมใหญ ที่จะสะทอนเปลวความรอนกลับเขามาดานหลัง ถาตองทําการยิงจรวดจากหลุมบุคคลคู ตองแนใจวาไมมีทหารคนอื่นในหลุมเดียวกันอยูในเขตรศัมีของเปลว ความรอน ฉ. ที่มั่นตอสูของ ปรส. ขนาด ๙๐ มม. (90 - MM RECOILLESS RIFLE FIGHTING POSITION) สรางที่ตั้งของ ปรส. ขนาด ๙๐ มม. (RCLR) คลายกับที่ตั้งของจรวดดรากอน แตถาตองทําการยิงจากทาง

Page 28: บทที่ ๑ - ๒ การกำบัง การซ่อนพราง

๒๘

ดานขวาของมนูดินกําบังขางหนาใหหลุมยาวออกไปอกีเพื่อให พลยิงผูชวยคอยชวยเหลืออยูทางดานขวาของปนไรแรงสะทอนถอยหลัง (RCLR) เตรียมแผนจดระยะกอนทําการขุดหลุม และตรวจพื้นที่ดานหลังใหปลอดภัยจากเปลวไฟรอนกอนทําการยิงดวย

รูปท่ี ๒ - ๔๒ ท่ีม่ัน ปรส. ขนาด ๙๐ มม.

ช. ที่มั่นตอสูของอาวุธตอสูรถถังขนาดเบา (M72 A2) และอาวุธโจมตีดวยเปลวเพลิง แบบพาดบา (FLASH) (LIGHT ANTITANK WEAPON (M72 A2) AND FLAME ASSULT SHOULDER WEAPON (FLASH) FIGHTING POSITION) ไมมีที่มั่นตอสูแบบพิเศษสําหรับ เอ็ม.๗๒ เอ.๒ (M72 A2) หรืออาวุธโจมตีดวยเปลวเพลิงแบบพาดบา (FLASH) อาวุธเหลานี้สามารถยิงไดจากที่มั่นใด ๆ ก็ไดกอนทําการยิงอาวุธชนิดนี้ ตองระวงัอันตรายในพืน้ที่ดานหลังดวย

รูปท่ี ๒ - ๔๓ การยิง เอ็ม.๗๒ เอ.๒ (M 72 A 2) จากที่ม่ัน

ซ. คูติดตอ (TRENCHES) ถามีเวลาใหขดุคูติดตอเพื่อใหการกําบังเมื่อเคลื่อนที่ไปมาระหวางที่มัน่ ความลึกของคูที่จะขุด ยอมขึ้นอยูกับเวลาและอุปกรณทีม่าชวยเทาที่มอียูจริง ถาไมมีรถขุดของทหารชาง คูคลานตองขุดดวยพล่ัวส้ัน ควรลึกประมาณ ๓ ฟุต กวาง ๒ ฟุต เปนทางหักไปมา (ZIGZAG) เพื่อมีมุมหลบสะเก็ดกระสุนปนใหญที่อาจตกลงมาระเบดิในคูติดตอ

รูปท่ี ๒ - ๔๔ ภาพของคตูิดตอมองทางอากาศ

Page 29: บทที่ ๑ - ๒ การกำบัง การซ่อนพราง

๒๙

ด. ชองเก็บสัมภาระ (STORAGE COMPARTMENTS) ที่มั่นตอสูจะตองมีที่เก็บยุทโธปกรณ และกระสุนเมื่อทหารสรางที่กําบังเหนือศีรษะตรงกลางของหลุมใหขุดชองเก็บของที่ตอนลางของผนังดานหลัง ขนาดของชองเก็บของขึ้นอยูกับจํานวนของยุทโธปกรณและกระสุนทีจ่ะนําเขาเก็บ

รูปท่ี ๒ - ๔๕ สวนกลางของที่กําบังเหนือศีรษะ

ถาที่มั่นของทหารสรางที่กําบังเหนือศีรษะทางดานปกใหใชบริเวณนั้นเปนที่เกบ็สัมภาระไดเลย

รูปท่ี ๒ - ๔๖ ท่ีกําบังเหนือศีรษะดานปกหลุมปน

ถาทหารขุดชองเก็บใหกวางพอจะทาํใหทหารมีทีว่างพอเหยยีดแขงเหยยีดขาขณะนอนพักผอน ชองนี้สามารถใชเปนที่นอนหลับภายใตที่กําบัง