99
ความรูและทัศนคติตอพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน กรณีศึกษา: การปองกันโรคผิวหนังจากการใชสารเคมีโรงงาน บริษัท บลูสโคป สตีล (ประเทศไทย) จํากัด อนุวรรธก แสนตรี วิชาการคนควาอิสระนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดลอม) คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร 2556

ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

ความรูและทัศนคติตอพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน

กรณีศึกษา: การปองกันโรคผิวหนังจากการใชสารเคมีโรงงาน

บริษัท บลูสโคป สตีล (ประเทศไทย) จาํกัด

อนุวรรธก แสนตรี

วิชาการคนควาอิสระนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดลอม)

คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร

2556

Page 2: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·
Page 3: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

กิตติกรรมประกาศ

วิชาการคนคว าอิสระ เ ร่ืองความรูและทัศนคติตอพฤติกรรมความปลอดภัยใน

โรงงาน กรณีศึกษา: การปองกันโรคผิวหนังจากการใชสารเคมีโรงงานบริษัท บลูสโคป สตีล

(ประเทศไทย) จํากัดฉบับนี้สําเร็จลุลวงไปไดดวยดีผูศึกษาตองกราบขอบพระคุณบุคคลทุกทานที่ให

ความชวยเหลือตลอดมาโดยเฉพาะอยางย่ิง รองศาสตราจารย ดร.ธวัชชัย ศุภดิษฐ ซ่ึงเปนอาจารยที่

ปรึกษาวิชาการคนควาอิสระที่ไดใหความกรุณาใหคําปรึกษา คําช้ีแนะ และชวยตรวจสอบ ทําให

วิชาการคนควาอิสระฉบับนี้สําเร็จลุลวงตามวัตถุประสงค และขอขอบพระคุณคณาจารยของ

หลักสูตรการจัดการส่ิงแวดลอมคณะพัฒนาสังคมและส่ิงแวดลอมทุกทานท่ีไดประสิทธ์ิประสาท

ความรูที่ใชประกอบการจัดทําวิชาการคนควาอิสระในฉบับนี้ และขอขอบคุณเจาหนาที่ของคณะ

พัฒนาสังคมและส่ิงแวดลอมทุกทานท่ีใหความชวยเหลือ ประสานงาน ใหบริการ และอํานวยความ

สะดวกเปนอยางดี

ขอขอบคุณ คุณพอและคุณแม ผูมีพระคุณตอผูวิจัย รวมท้ังเพ่ือนๆหลักสูตรการจัดการ

ส่ิงแวดลอม ภาคพิเศษ ในสวนภูมิภาค จังหวัดระยอง รุนท่ี 3 ที่เปนกําลังใจชวยเปนแรงผลักดันที่

สําคัญที่ทําใหวิชาการคนควาอิสระฉบับนี้สําเร็จลุลวงไปไดดวยดี

อนุวรรธก แสนตรี

เมษายน 2557

Page 4: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

บทคัดยอ

ช่ือวิชาการคนควาอิสระ ความรูและทัศนคติตอพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน

กรณีศึกษา: การปองกันโรคผิวหนังจากการใชสารเคมีโรงงาน

บริษัท บลูสโคป สตีล (ประเทศไทย) จํากัด

ช่ือผูเขียน นายอนุวรรธก แสนตรี

ช่ือปริญญา วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการส่ิงแวดลอม)

ปการศึกษา 2556

การศึกษานี้มีวัตถุประสงคเพ่ือ 1) ศึกษาพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางาน จําแนกตาม

ปจจัยสวนบุคคล 2) ศึกษาระดับของพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางานของผูปฏิบัติงาน 3) ศึกษา

ความสัมพันธระหวางความรูเร่ืองการปองกันโรคผิวหนัง จากการใชสารเคมีอันตรายกับพฤติกรรมความ

ปลอดภัยในการทํางาน และ 4) ศึกษาความสัมพันธระหวางทัศนคติฯ กับพฤติกรรมความปลอดภัยในการ

ทํางาน ประกอบดวย ตัวแปรอิสระ จํานวน 3 ตัว ไดแก ปจจัยสวนบุคคล ความรูเร่ืองการปองกันอันตราย

และทัศนคติดานการปองกันอันตราย ตัวแปรตาม ไดแก พฤติกรรมปองกันอันตราย เปนการศึกษาเชิง

ปริมาณในลักษณะของการวิจัยเชิงสํารวจแบบตัดขวาง (Exploratory and Cross Sectional Study) โดย

ใชแบบสอบถามเปนเคร่ืองมือเก็บรวบรวมขอมูล มีกลุมประชากรเปนพนักงานระดับปฏิบัติการ จํานวน

ทั้งส้ิน 100 คน การวิเคราะหขอมูลใชสถิติเชิงพรรณนาและสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ (Pearson Correlation)

เพ่ือหาความสัมพันธของตัวแปรอิสระกับตัวแปรตาม

ผลการศึกษา พบวา เพศ อายุ ระดับการศึกษา ระดับพนักงาน และประสบการณการฝกอบรม

ที่แตกตางกัน มีพฤติกรรมความปลอดภัยไมแตกตางกัน (p > 0.05) มีเพียงอายุงานและรายไดท่ีมีผลตอ

พฤติกรรมความปลอดภัยที่แตกตางกัน (p < 0.05) การศึกษาความสัมพันธระหวางความรูและ

ทัศนคติในการปองกันอันตรายกับพฤติกรรมความปลอดภัยมีความสัมพันธในเชิงบวกอยางมี

นัยสําคัญ คาสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ เทากับ 0.0210 และ 0.232 ตามลําดับ (p < 0.05)

ขอเสนอแนะจากการวิจัย คือ บริษัทฯ ควรนํากระบวนการการมีสวนรวมเขามาประยุกตใชใน

การบริหารจัดการดานความปลอดภัยในองคการ นําเร่ืองขีดความสามารถ (Competency) มาใช และใช

กระบวนการส่ือสารเพ่ือพัฒนาพฤติกรรมความปลอดภัยใหดีขึ้นตอไป

Page 5: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

ABSTRACT Title of Independent Study Knowledge and attitude to safety behavior in factory:

A case study of skin disease protection from utilizing

chemical in BlueScope Steel (Thailand) Company

Limited Factory

Author Mr. Anuwat Santree

Degree Master of Science (Environmental Management)

Year 2013

This research aims to 1) study in safety behavior in work categorized by

personal factors 2) study levels of safety behavior of employees 3) study correlate

between knowledge of skin protection disease and safety behavior of employees, and

4) study correlate between attitude and safety behavior of employee conceptual

framework of factors that influence on safety culture in organization. This study had 3

independent variables to include personal factors, knowledge of hazard prevention

and attitude of hazard prevention. Safety behavior was the dependent variable. The

study was conducted quantitative and cross sectional approach. Questionnaire was

used to collect the data and conducted the instrument of this study. The populations

were officers in BlueScope Steel (Thailand) Company Limited. Total of the

population were 100 employees. Data analysis technique was descriptive statistic and

Pearson Correlation.

The result of study reveals that sex, age, education, position and experience in

training had not significant with safety behavior, (p > 0.05) but had significant

between year of working and salary with safety behavior (p < 0.05). The knowledge

and attitude of hazard prevention and safety behavior had significant positive

correlation at 0.0210 and 0.232, respectively (p < 0.05).

The results of the study recommended that participation should be integrated

in safety management system. Safety competence and communication should be

adopted for improving safety behavior.

Page 6: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

สารบัญ

หนา

บทคัดยอ (3)

ABSTRACT (4)

กิตติกรรมประกาศ (5)

สารบัญ (6)

สารบัญตาราง (8)

สารบัญภาพ (9)

บทที่ 1 บทนํา 1

1.1 ที่มาและแนวคิดในการศึกษา 1

1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา 3

1.3 ขอบเขตการศึกษา 3

1.4 ประโยชนจากการศึกษา 4

1.5 นิยามศัพท 4

บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรม 6

2.1 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับอุบัติเหตุและความปลอดภัย 6

2.2 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความรู ความเขาใจ ทัศนคติ และพฤติกรรม 22

2.3 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับโรคจากการทํางาน 38

2.4 การทํางานเกี่ยวกับสารเคมีของ บริษัท บลูสโคป สตีล (ประเทศไทย) จํากัด 46

2.5 งานวิจัยที่เกี่ยวของ 49

บทที่ 3 วิธีการศึกษา 53

3.1 กรอบแนวคิดในการศึกษา 53

Page 7: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

(7)

3.2 สมมติฐานในการศึกษา

54

3.3 รูปแบบการศึกษา 54

3.4 ประชากรที่ใชในการศึกษา 55

3.5 เคร่ืองมือที่ใชในการศึกษา 55

3.6 การเก็บรวบรวมขอมูล 57

3.7 การวิเคราะหขอมูล 57

บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล 59

4.1 สภาพทั่วไปของประชากร 59

4.2 สถิติเชิงพรรณนาของตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม 62

4.3 ผลการเปรียบเทียบพฤติกรรมฯ จําแนกตามคุณลักษณะของกลุมประชากร 66

4.4 ผลการวิเคราะหความสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม 68

บทที่ 5 สรุป อภปิรายผล และขอเสนอแนะ 69

5.1 สรุปและอภิปรายผล 70

5.2 ขอเสนอแนะ 73

5.3 ขอจํากัดในการศึกษา 77

บรรณานุกรม 78

ภาคผนวก 82

แบบสอบถาม 83

ประวัติผูเขียน 90

Page 8: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

สารบัญตาราง

ตารางที ่ หนา 2.1 การบาดเจ็บอันเกิดจากพลังงานท่ีเกิดขึน้มากระทบรางกายเกินกวาท่ีรางกาย

จะยอมรับได

18 2.2 การบาดเจ็บประเภทท่ีสองเกิดจากการผิดปกติของการแลกเปลี่ยนพลังงาน

ระหวางรางกายหรือสวนของรางกายกับสิ่งท่ีมากระทบ (Abnormal Energy Exchange)

19 3.1 ผลการหาคาสัมประสิทธิอ์ลัฟาครอนบาค 56 4.1 จํานวนและรอยละของประชากรจําแนกตามสถานภาพสวนบุคคล 60 4.2 คาเฉลีย่และคาเบ่ียงเบนมาตรฐานของพฤติกรรมการปองกนัโรคผิวหนังและ

ตัวแปรอสิระ

62 4.3 คาเฉลีย่ สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับของพฤติกรรมการปองกนั

อันตรายฯ (รายขอคาํถาม)

63 4.4 คาเฉลีย่ สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับของความรูเกี่ยวกับการปองกัน

อันตรายฯ (รายขอคาํถาม)

64 4.5 คาเฉลีย่ สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับของทัศนคตกิารปองกนัอันตราย

(รายขอคาํถาม)

65 4.6 ผลการวิเคราะหความแปรปรวนเพ่ือเปรียบเทียบความแตกตางของพฤติกรรม

ความปลอดภัย จําแนกตามลกัษณะสวนบุคคล

67 4.7 สัมประสิทธิส์หสัมพันธ คาเฉลี่ย และสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานของตัวแปร

อิสระและตัวแปรตาม

68

Page 9: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

สารบัญภาพ

ภาพที ่ หนา 2.1 ภูเขาน้าํแข็งท่ีแสดงใหเห็นถึงความสูญเสียทางตรงและทางออม 16 2.2 แสดงลักษณะการเกิดอุบัติเหตุตามหลักทฤษฎีโดมิโน 17 2.3 แผนภูมิปรามิดแสดงลาํดับของความรู 22 3.1 กรอบแนวคิดในการศึกษา 54

Page 10: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

บทที่ 1

บทนํา

1.1 ท่ีมาและแนวคิดในการศึกษา

ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และส่ิงแวดลอม ในการทํางานปจจุบันถือวา เปนปจจัยหนึ่งของ

การประกอบธุรกิจของสถานประกอบการ หากเกิดความไมปลอดภัยในการทํางานขึ้นยอมสงผลเสียหาย

ตอการดําเนินธุรกิจหรือกิจการโดยผูที่รับผลกระทบโดยตรง คือ นายจางและตัวลูกจาง นายจางสูญเสีย

ทรัพยสินเงินทองจากการเกิดอุบัติเหตุ คารักษาพยาบาล คาชดเชย คาวัสดุ รวมถึงเคร่ืองมือเคร่ืองจักรที่

เสียหาย เปนตน สวนของลูกจางไดรับอันตราย บาดเจ็บ พิการ เสียชีวิต หรือเจ็บปวย เนื่องจากการทํางาน

สวนผลกระทบทางออม เชน การผลิตหยุดชะงัก ลาชา ทําใหสูญเสียโอกาสในการดําเนินธุรกิจ และ

ผลตอบแทนที่ควรจะไดรับ นอกเหนือจากนี้ ปรัชญาในการดําเนินธุรกิจในยุคปจจุบัน กระเเสของสิทธิ

มนุษยชน ความรับผิดชอบตอสังคม บรรษัทภิบาล การกํากับดูแลองคการที่ดี ไดเพ่ิมปรัชญาในการ

บริหารธุรกิจใหมีคุณธรรมและจริยธรรมมากย่ิงขึ้น โดยใหคํานึงถึง ผลประโยชนของผูมีสวนไดสวนเสีย

สงผลใหการดําเนินธุรกิจมีการปรับเปลี่ยนอยางมีนัยสําคัญ คือ 1) องคการธุรกิจจะใหความสนใจกับ

พนักงานมากขึ้นกวาเดิม กลาวคือ ใหพนักงานมีสวนรวมในการเปนเจาของธุรกิจ มีการพัฒนาตนเอง

ใสใจในความสุข ทั้งทางดานรางกาย และจิตใจของพนักงานมากขึ้น 2) เนนการดําเนินธุรกิจท่ีให

ความสําคัญกับส่ิงแวดลอมมากย่ิงขึ้น ซ่ึงเปนปจจัยที่เร่ิมมีความสําคัญในภาวะปจจุบันที่ผลิตภัณฑ หรือ

องคการที่จะถูกยอมรับในระดับนานาประเทศ จะตองแสดงถึง ความใสใจในส่ิงแวดลอม โดยสามารถ

พิจารณาไดจากกระแสของระบบการบริหารจัดการส่ิงแวดลอมที่เปนสากล ISO 14000 (ผลิน ภูจรูญ,

2548: 66 - 67) ดังนั้น การผลิตของภาคอุตสาหกรรม จึงมีความมุงเนนท่ีจะไมผลิตสินคาและบริการดวย

การเอารัดเอาเปรียบแรงงาน ปลอยปละละเลยใหผูใชแรงงานเกิดการบาดเจ็บหรือเสียชีวิต หรือแมกระทั่ง

การทําลายส่ิงแวดลอม เพราะส่ิงเหลานี้จะเปนตัวสะทอนใหเห็นถึง ความสามารถในการบริหารจัดการ

ขององคการธุรกิจ สงผลถึงภาพลักษณของผลิตภัณฑ องคการจึงตองมีความพยายามท่ีจะบริหารจัดการ

ดานความปลอดภัย เพ่ือใหเกิดการยอมรับและเห็นวา องคการเปนองคการที่ดําเนินธุรกิจที่มีความ

รับผิดชอบ เปนธรรมตอผูมีสวนไดสวนเสียขององคการ ในการบริหารจัดการในภาครัฐที่พยายามกําหนด

กฎเกณฑหรือกฎระเบียบเพ่ือใหสถานประกอบการดําเนินการ สวนในสถานประกอบการหรือหนวยงาน

Page 11: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

2

ที่ทําหนาที่ผลิต ซ่ึงเปนหนวยงานที่มีผลกระทบโดยตรง ก็ไดพยายามหาวิธีการหรือกระบวนการที่จะทํา

ใหเกิดความปลอดภัยในสถานประกอบการเอง ซ่ึงวิธีการในอดีตในการปรับปรุงการบริหารจัดการดาน

อาชีวอนามัยและความปลอดภัย มักจะเนนการปรับปรุงไปท่ีการออกแบบงาน เคร่ืองจักร วิธีการทํางาน

และใหใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล เปนตน จากการวิเคราะหสาเหตุการเกิดอุบัติเหตุสวนใหญ

ไมไดเกิดจากสภาวะหรือสภาพแวดลอม แตเกิดจากการผิดพลาดของคน (Human Error) (Harvey et al.,

1999 อางถึงใน รังสรรค มวงโสรส, 2553: 619) ความผิดพลาดที่ทําใหเกิดอุบัติเหตุสวนใหญมาจากการ

สับสนหรือไมชัดเจนของระเบียบปฏิบัติ หรือการตัดสินใจที่ผิดพลาด ซ่ึงเช่ือมโยงตอการปฏิบัติงานของ

คนงานเอง ดังนั้น การที่ผูปฏิบัติงานจะสามารถเลือกหรือตัดสินใจในการปฏิบัติงานท่ีถูกตองเหมาะสม

และปลอดภัยนั้น ไมไดเพียงแตมีกฎระเบียบหรือระเบียบปฏิบัติท่ีดี แตผูปฏิบัติงานจะเปนตัวกําหนดวา

จะเลือกปฏิบัติตามกฎระเบียบหรือระเบียบปฏิบัติหรือไม เพราะเร่ืองของความปลอดภัย เปนส่ิงที่

พนักงานจะตองมีความตระหนักโดยตัวของพนักงานเอง ผูบริหารจําเปนตองมีบทบาทในการบริหาร

จัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย โดยกําหนดใหความปลอดภัยเปนคานิยมหลัก เพ่ือใหแสดงถึง

เจตจํานงของพนักงานทุกคนที่มีตอความปลอดภัยและใชเปนแบบแผนในการปฏิบัติงานของคนใน

องคการ รวมถึงต้ังความคาดหวังใหสูงตอความรับผิดชอบของผูบริหารและคนงานท่ีจําเปนตองมี

พฤติกรรมความปลอดภัย (รังสรรค มวงโสรส, 2553: 7) นอกจากนี้ ในสวนของภาครัฐไดออกกฎกระทรวง

กําหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการและดําเนินการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ

สภาพแวดลอมในการทํางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย พ.ศ. 2556 โดยใหนายจางแจงใหลูกจางทราบ

และอธิบายใหลูกจางเขาใจขอมูลความปลอดภัยของสารเคมีอันตราย และเขาใจในวิธีการในการทํางาน

ที่ถูกตองและปลอดภัย รวมถึงจัดใหมีมาตรการควบคุมใหลูกจางปฎิบัติตามวิธีการดังกลาว มนุษยมี

ความแตกตางจากส่ิงมีชีวิตโดยทั่วไป โดยที่คนจะมีความเช่ือมั่นในเร่ืองการบรรลุศักยภาพตนเอง

(Self - Actualization) มากกวาการเอาชีวิตรอด ดังนั้น มนุษยจะมีความกลาแสดงออก และรวมมือกับ

ผูอื่น เพ่ือเปนผูรวมสรางและฟงความตองการที่แฝงลึกอยูในจิตใจตนเอง (Philip et al., 2010: 99) การ

เปลี่ยนแปลง ของสังคมมนุษยดวยการปฏิวัติ ขอมูลขาวสาร ทําใหมนุษยสามารถคัดเลือกขอมูลขาวสาร

ที่ดี เปนจริง มาใชประโยชน การปดกั้น หรือเลือกเปดเผยเฉพาะขอมูลท่ีตองการเทานั้นจะหายไป การที่

จะสนองตอบตอความตองการของมนุษยในยุคนี้ คือ การที่จะตองใหมนุษยเขามามีสวนรวม เขามามีสวน

สรางสรรคในการบริหารจัดการตนเองในดานความปลอดภัยในองคกร หากยังคงแตใชกระบวนการ

ตรวจสอบ ควบคุม กฎระเบียบ ก็จะสงผลใหการดําเนินการดานความปลอดภัยในองคกรไมสัมฤทธิผล

ดวยเหตุผลดังกลาวขางตน การบริหารงานดานความปลอดภัยจึงตองใชหลักการเดียวกับการบริหาร

จัดการทรัพยากรมนุษยใหสอดคลองตามยุคสมัยที่เปลี่ยนไป การบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย

มีฐานคติ คือ มนุษยมีความอิสระ มีศักยภาพการเจริญเติบโต และตองการพัฒนาศักยภาพของตนเอง

Page 12: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

3

อยางเต็มที่ ปญหาหลักในการจัดการ คือ การประสานระหวางความตองการของปจเจกบุคคลกับ

วัตถุประสงคขององคกร ดังนั้น การสงเสริมการพัฒนาศักยภาพของบุคคลเพ่ือนําไปสูประสิทธิผลของ

องคกรจะตองใชกระบวนการแกไปปญหา คือ สงเสริมการมีสวนรวม การสรางทีมงาน เปนตน

(ทิพวรรณ หลอสุวรรณรัตน, 2547: 70) ในการนี้ องคกรจําเปนตองเขาไปมีอิทธิพลตอบุคลากรของตน

เพ่ือใหเปนไปตามเปาหมายที่กําหนด การใหความรูเกี่ยวกับอันตรายจากสารเคมี วิธีปองกัน และการใช

อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางมีประสิทธิภาพ จะสงผลใหผูปฏิบัติงานเกิดความตระหนักตอ

อันตราย และสามารถปองกันตนเองไดอยางเต็มที่ ดังนั้น ผูศึกษาจึงมีความสนใจที่จะศึกษาถึงความรู และ

ทัศนคติตอพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน กรณีศึกษา การปองกันโรคผิวหนังจากการใชสารเคมี

โรงงาน บริษัท บลูสโคป สตีล (ประเทศไทย) จํากัด เพ่ือจะไดนําผลจากการศึกษามาเปนแนวทางในการ

แกไขและปองกันอันตรายเนื่องจากการทํางานและสงเสริมความปลอดภัยในสถานประกอบการอื่นตอไป

1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา

1.2.1 เพ่ือศึกษาระดับของพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางานของผูปฏิบัติงาน

1.2.2 เพ่ือศึกษาพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางาน จําแนกตามตามปจจัยสวนบุคคล

1.2.3 เพ่ือศึกษาความสัมพันธระหวางความรูเร่ืองการปองกันโรคผิวหนังจากการใชสารเคมีอันตราย

กับพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางานของผูปฏิบัติงาน

1.2.4 เพ่ือศึกษาความสัมพันธระหวางทัศนคติเร่ืองการปองกันโรคผิวหนังจากการใช

สารเคมีอันตรายกับพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางานของผูปฏิบัติงาน

1.3 ขอบเขตการศึกษา

1.3.1 ขอบเขตดานพื้นที่

ทําการศึกษาที่ บริษัท บลูสโคป สตีล (ประเทศไทย) จํากัด ต้ังอยูเลขที่ 6 นิคมอุตสาหกรรม

มาบตาพุด 3 ถนนไอ - หา อําเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง 21150

1.3.2 ขอบเขตดานประชากร

ทําการศึกษาพนักงานที่ปฎิบัติงาน และสัมผัสกับสารเคมี บริษัท บลูสโคป สตีล

(ประเทศไทย) จํากัด จํานวน 100 คน (บริษัท บลูสโคป สตีล (ประเทศไทย) จํากัด, 2556)

Page 13: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

4

1.3.3 ขอบเขตดานเวลา

ต้ังแต 1 สิงหาคม ถึง 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 รวมระยะเวลาศึกษา 4 เดือน

1.3.4 ขอบเขตดานวิธีการศึกษา

การศึกษาคร้ังนี้เปนการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ใชแบบสอบถาม

เปนเคร่ืองมือในการรวบรวมขอมูล โดยแบบสอบถามไดถูกสรางขึ้นจากการทบทวนวรรณกรรม

บนพ้ืนฐานของแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของ

1.4 ประโยชนจากการศึกษา

1.4.1 ทราบถึงระดับพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางานของผูปฎิบัติงานเพ่ือพัฒนาใหดีขึ้น

1.4.2 ทราบถึงปจจัยสวนบุคคลที่มีมีผลตอพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงานของผูปฏิบัติงาน

เพ่ือนําไปใชพัฒนาและปรับปรุงพฤติกรรมดานความปลอดภัยใหดีขึ้นตอไป

1.4.3 ทราบถึงความสัมพันธระหวางความรูเร่ืองการปองกันโรคผิวหนังจากการใชสารเคมี

อันตรายกับพฤติกรรมดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติงาน เพ่ือนําไปประยุกตใชในการจัดทําแผน

ฝกอบรมใหความรูดานความปลอดภัยใหกับพนักงาน

1.4.4 ทราบถึงความสัมพันธระหวางทัศนคติเร่ืองการปองกันโรคผิวหนังจากการใชสารเคมี

อันตรายกับพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงานของผูปฏิบัติงานเพ่ือนํามาวางแผนการปรับปรุง

ทัศนคติดานความปลอดภัยใหกับพนักงาน

1.5 นิยามศัพท

ความปลอดภัยในการทํางาน คือ การทํางานโดยปราศจากอุบัติเหตุหรืออันตรายท่ีมีโอกาส

เกิดขึ้น

เพศ คือ เพศของพนักงาน บริษัท บลูสโคป สตีล (ประเทศไทย) จํากัด จําแนกออกเปน 2 เพศ

ไดแก เพศหญิง และเพศชาย

อายุ คือ อายุของพนักงาน บริษัท บลูสโคป สตีล (ประเทศไทย) จํากัดตามปปฏิทิน

ระดับการศึกษา คือ ระดับการศึกษาของพนักงาน บริษัท บลูสโคป สตีล (ประเทศไทย) จํากัด

ระดับพนักงาน คือ ตําแหนงของพนักงาน บริษัท บลูสโคป สตีล (ประเทศไทย) จํากัด ที่ไดรับ

มอบหมาย

Page 14: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

5

อายุงาน คือ จํานวนเต็มปนับต้ังแตเร่ิมเขาทํางานในโรงงานที่ปฎิบัติงานอยูจนถึงวันที่ตอบ

แบบสอบถาม

รายได คือ รายรับของพนักงาน บริษัท บลูสโคป สตีล (ประเทศไทย) จํากัดที่ไดรับตอเดือน

ประสบการณการฝกอบรมการปองกันอันตรายจากการทํางาน คือ การที่พนักงาน บริษัท

บลูสโคป สตีล (ประเทศไทย) จํากัด เคยไดรับการฝกอบรมเกี่ยวของกับความปลอดภัยในการทํางาน

วิธีการทํางานที่ปลอดภัย การใชเคร่ืองปองกันอันตรายจากเคร่ืองจักร และการปองกันอันตรายสวน

บุคคล

ความรูเรื่องการปองกันอันตรายจากการทํางาน คือ ขอมูลขาวสารรายละเอียดที่เกี่ยวกับการ

ปองกันอันตรายที่พนักงาน บริษัท บลูสโคป สตีล (ประเทศไทย) จํากัด ไดรับจากการสังเกต การเรียนรู

ประสบการณเก็บรวบรวมไวเปนความทรงจํา สามารถนํามาเปนองคประกอบเพ่ือการตัดสินใจใน

พฤติกรรมการทํางานเพ่ือปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้น

ทัศนคติตอการปองกันอันตรายจากการทํางาน คือ ทาทีความรูสึกของพนักงาน บริษัท

บลูสโคป สตีล (ประเทศไทย) จํากัด ที่มีตอการปองกันอันตรายโรคผิวหนังจากสารเคมีอันเนื่องมาจาก

การเรียนรู ประสบการณ และเปนตัวกระตุนใหลูกจางแสดงพฤติกรรมการทํางานเพ่ือปองกัน

อันตรายที่จะเกิดขึ้น ซ่ึงมีทั้งดานบวกและดานลบ

อาชีวอนามัย คือ ศาสตรและศิลปที่เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของ

ผูประกอบอาชีพ อันรวมถึงการปองกันโรค การสงเสริมสุขภาพ การรักษาพยาบาล การฟนฟู

สมรรถภาพ และการจัดการ เพ่ือใหผูประกอบอาชีพทุกอาชีพ สามารถท่ีจะประกอบอาชีพไดอยาง

ปลอดโรค ปลอดภัย มีสภาวะที่สมบูรณ ท้ังทางดานรางกายและจิตใจ และสามารถปฎิบัติตามได

อยางมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล

โรคผิวหนังที่เกิดจากการทํางานกับสารเคมี คือ โรคที่เกิดขึ้นที่ผิวหนังจากสารเคมีทําใหเกิด

ภูมิแพ เชน การใชน้ํามันเบนซินลางมือ สารตะกั่วที่ผสมอยูในน้ํามันเบนซิน อาจซึมเขาผิวหนัง เกิด

เปนรอยคล้ํา และทําใหเกิดโรคแพพิษตะกั่วอินทรียได

สารเคมี คือ แรธาตุสําหรับใชผลิตเหล็กเคลือบโลหะผสมอลูมิเนียมและสังกะสี โดยมี

เทคโนโลยี แบรนดเหล็กเคลือบ และเคลือบสีท่ีเปนลิขสิทธ์ิเฉพาะ

Page 15: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

บทที่ 2

ทบทวนวรรณกรรม

การศึกษาเร่ือง ความรูและทัศนคติตอพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงานกรณีศึกษา: การ

ปองกันโรคผิวหนังจากการใชสารเคมี โรงงาน บริษัท บลูสโคป สตีล (ประเทศไทย) จํากัด ผูศึกษา

ไดทําการทบทวนวรรณกรรม ดังนี้

2.1 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับอุบัติเหตุและความปลอดภัย

2.2 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความรู ความเขาใจ ทัศนคติ และพฤติกรรม

2.3 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับโรคจากการทํางาน

2.4 การทํางานเกี่ยวกับสารเคมีของ บริษัท บลูสโคป สตีล (ประเทศไทย) จํากัด

2.5 งานวิจัยที่เกี่ยวของ

2.1 แนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกับอุบัติเหตุและความปลอดภัย

2.1.1 ความหมายของอุบัติเหตุและความปลอดภัย

กิตติ อินทรานนท (2533: 10) ไดใหความหมายของคําวา อุบัติเหตุ วาหมายถึง ปรากฎการณ

หรือเหตุการณที่เกิดขึ้นโดยไมคาดฝนและไมไดจัดวางแผนไว ทําใหมีการบาดเจ็บแกบุคคลหรือทําให

เกิดความเสียหายแกทรัพยสินหรือทําใหเกิดการสูญเสียใด ๆแกสวนตัวและสวนรวม

สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (2542: 6) ไดใหความหมายของ อุบัติเหตุ ไววา

หมายถึง เหตุการณที่ไมพึงประสงคท่ีอาจเกิดจากการท่ีไมไดคาดคิดไวลวงหนา หรือไมทราบ

ลวงหนาหรือขาดการควบคุม แตเมื่อเกิดขึ้นแลวมีผลทําใหเกิดการบาดเจ็บหรือความเจ็บปวยจาก

การทํางานหรือการเสียชีวิต หรือความสูญเสียตอทรัพยสินหรือความเสียหายตอสภาพแวดลอมใน

การทํางานหรือตอสาธารณชน

วิฑูรย สิมะโชคดี และวีระพงษ เฉลิมจิระรัตน (2544: 19) ไดใหความหมายของ อุบัติเหตุ

ไววา หมายถึง เหตุการณที่เกิดขึ้นโดยมิไดวางแผนลวงหนา ซ่ึงกอใหเกิดความบาดเจ็บ พิการ ตาย

หรือทําใหทรัพยสินเสียหาย และยังหมายความครอบคลุมถึงเหตุการณท่ีเกิดขึ้นแลวมีผลกระทบ

Page 16: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

7

กระเทือนตอกระบวนการผลิตปกติ ทําใหเกิดความลาชา หยุดชะงัก หรือเสียเวลา แมจะไม

กอใหเกิดการบาดเจ็บ พิการ

วิวรรธนกร สวัสดี (2547: 8)ไดใหความหมายของ อุบัติเหตุ ไววา เปนเหตุการณท่ีเกิดขึ้นโดย

ไมคาดคิด ไมมีการวางแผนลวงหนา และควบคุมไมได เชน การตกจากที่สูง การหกลม เปนตน ซ่ึงจะทํา

ใหเกิดความสูญเสียตอผูประสบอุบัติเหตุ บุคคลอื่น หรือส่ิงอื่นที่เกี่ยวของดวย อุบัติเหตุจากการทํางาน

เปนเหตุการณไมคาดคิดที่เกิดขึ้นในขณะทํางาน เชน การบาดเจ็บจากการกระแทกหรือบดของเคร่ืองจักร

การถูกส่ิงของหลนทับ เปนตน

สรุปไดวา อุบัติเหตุ (Accident) หมายถึง เหตุการณอันตรายท่ีเกิดขึ้นโดยไมไดต้ังใจหรือ

คาดคิดมากอน ทําใหเกิดความเสียหายแกทรัพยสิน บุคคลไดรับอันตรายทั้งรางกายและจิตใจ อาจ

บาดเจ็บ พิการ หรือรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิต

พะยอม วงศสารศรี (2530 อางถึงใน สนิท ปนประดับ, 2548: 18) กลาววา ความปลอดภัย

หมายถึง การหลีกเลี่ยงอันตรายตาง ๆ ท่ีอาจเกิดขึ้นไมวาจะเปนอุบัติเหตุหรือการเจ็บไข ซ่ึงอาจมี

การจัดเตรียมปองกันไวลวงหนา เพ่ือใหมีการดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางปลอดภัยและปราศจาก

อันตราย

มธุริน เถียรประภากุล (2555: 5) ความปลอดภัย หมายถึง สภาวะการปราศจากภัยหรือพน

ภัย รวมถึงการปราศจากอันตราย การบาดเจ็บ การเส่ียงภัย อันเนื่องมาจากการทํางาน

สรุปไดวา ความปลอดภัย หมายถึง สภาพการที่ปราศจากอันตรายไมกอใหเกิดการบาดเจ็บ

หรือโรคจากการทํางานพิการ ตาย รวมไปถึงความเสียหายของเคร่ืองจักรและอุปกรณในการทํางาน

2.1.2 สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุจากการทํางาน

Heinrich (1931: 20) ไดศึกษาวิจัยถึงสาเหตุการเกิดอุบัติเหตุในโรงงานอุตสาหกรรมใน

ค.ศ. 1920 สรุปได ดังนี้

1. สาเหตุที่เกิดจากคน (Human Causes) มีจํานวนสูงที่สุด รอยละ 88.0 ของการเกิด

อุบัติเหตุ ตัวอยางเชน การทํางานที่ไมถูกตอง ความพลั้งเผลอ ความประมาท การมีนิสัยชอบเส่ียงใน

การทํางาน เปนตน

2. สาเหตุที่เกิดจากความผิดพลาดของเคร่ืองจักร (Mechanical Failure) มีจํานวนเพียง

รอยละ 10.0 ของการเกิดอุบัติเหตุ ตัวอยางเชน สวนที่เปนอันตรายของเคร่ืองจักรไมมีเคร่ืองปองกัน

เคร่ืองจักร เคร่ืองมือ หรืออุปกรณตาง ๆ ชํารุดบกพรอง รวมถึงการวางผังโรงงานไมเหมาะสม

สภาพแวดลอมในการทํางานไมปลอดภัย เปนตน

Page 17: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

8

3. สาเหตุที่เกิดจากชะตา (Acts of God) มีจํานวนเพียงรอยละ 2.00 ของการเกิด

อุบัติเหตุเทานั้น ซ่ึงเปนสาเหตุที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาตินอกเหนือการควบคุม เชน พายุ น้ําทวม ฟาผา

เปนตน

จากการศึกษาวิจัยขางตน Heinrich ไดตีพิมพหนังสือเร่ือง Industrial Accident Prevention

ใน ค.ศ. 1931 ซ่ึงเปนการปฏิวัติแนวความคิดเกี่ยวกับการปองกันอุบัติเหตุหรือเสริมสรางความ

ปลอดภัยในโรงงานอยางส้ินเชิง Heinrich ไดสรุปสาเหตุสําคัญของการเกิดอุบัติเหตุไว 2 ประการ ดังนี้

2.1.2.1 การกระทําที่ไมปลอดภัย (Unsafe Acts)

การกระทําที่ไมปลอดภัยเปนสาเหตุทําใหเกิดอุบัติเหตุ คิดเปนรอยละ 85.0 ของสาเหตุ

การเกิดอุบัติเหตุทั้งหมด การกระทําที่ไมปลอดภัย มีดังนี้

(1) การทํางานไมถูกวิธีหรือไมถูกขั้นตอน

(2) การมีทัศนคติไมถูกตอง เชน อุบัติเหตุเปนเร่ืองของเคราะหกรรมแกไข

ปองกันไมได

(3) ความไมเอาใจใสในการทํางาน

(4) ความประมาทพลั้งเผลอเหมอลอย

(5) การมีนิสัยชอบเส่ียง

(6) การไมปฏิบัติตามกฎระเบียบของความปลอดภัยในการทํางาน

(7) การทํางานโดยไมใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล (Personal Protective

Equipment)

(8) การแตงกายไมเหมาะสม

(9) การถอดเคร่ืองกําบังสวนอันตรายของเคร่ืองจักรออกดวยความรูสึกรําคาญ

ทํางานไมสะดวกหรือถอดออกเพ่ือซอมแซมแลวไมใสคืน

(10) การใชเคร่ืองมือหรืออุปกรณตาง ๆ ไมเหมาะสมกับงาน เชน การใชขวด

แกวตอกตะปูแทนใชคอน

(11) การหยอกลอกันระหวางทํางาน

(12) การทํางานโดยที่รางกายและจิตใจไมพรอมหรือผิดปกติ เชน เจ็บปวย เมาคาง

มีปญหากับครอบครัว ทะเลาะกับแฟน เปนตน

2.1.2.2 สภาพการณที่ไมปลอดภัย (Unsafe Conditions)

สาเหตุจากสภาพการณที่ไมปลอดภัยเปนสาเหตุรอง คิดเปนจํานวนรอยละ15.0 ของ

การเกิดอุบัติเหตุทั้งหมด สาเหตุจากสภาพการณที่ไมปลอดภัย มีดังนี้

Page 18: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

9

(1) สวนที่เปนอันตราย (สวนที่เคลื่อนไหว) ของเคร่ืองจักรไมมีเคร่ืองกําบังหรือ

อุปกรณปองกันอันตราย

(2) การวางผังโรงงานที่ไมถูกตอง

(3) ความไมเปนระเบียบเรียบรอย และสกปรกในการจัดเก็บวัสดุส่ิงของ

(4) พ้ืนโรงงานขรุขระเปนหลุมเปนบอ

(5) สภาพแวดลอมในการทํางานที่ไมปลอดภัยหรือไมถูกสุขอนามัย เชน แสงสวาง

ไมเพียงพอ เสียงดังเกินควร ความรอน ฝุนละออง ไอระเหยของสารเคมีท่ีเปน

พิษ เปนตน

(6) เคร่ืองจักรกลเคร่ืองมือหรืออุปกรณชํารุดบกพรอง ขาดการซอมแซมหรือ

บํารุงรักษาอยางเหมาะสม

(7) ระบบไฟฟาหรืออุปกรณไฟฟาชํารุดบกพรอง เปนตน

วิจิตร บุณยะโหตระ (2530: 359 - 360) ไดแบงสาเหตุท่ีกอใหเกิดอุบัติเหตุในทางระบาด

วิทยาออกเปน 2 ประเภท คือ

1) ปจจัยเกิดจากคน การเกิดอุบัติเหตุมักเกิดจากความผิดพลาดหรือความบกพรองของ

คนซ่ึงมีปจจัยหลายประการ คือ

(1) บุคลิกภาพ (Positive Personality) บุคลิกภาพมีอยู 2 ประเภท ประเภทแรก เรียกวา

บุคลิกภาพทางบวก ไดแก บุคคลที่ชอบทําในส่ิงที่ถูกตองและเปนที่ยอมรับของสังคมอยูเสมอ ผูใช

แรงงานประเภทนี้มักจะไมเกิดอุบัติเหตุ ในทางตรงกันขามผูใชแรงงานบางประเภทชอบทําในส่ิงที่

ตรงกันขามกับพวกแรก ไดแก คนที่มีบุคลิกภาพทางลบ

(2) ความจํากัดของรางกาย (Physical Limitation) อุบัติเหตุจํานวนมากเกิดเพราะผูใช

แรงงานบางคนพยายามจะทํางานเกินขอบขีดความสามารถของตนเอง อาจจะเนื่องจากสุขภาพหรือความ

จํากัดของรางกายของตนเอง เชน คนพิการแตอยากขับรถ เด็กอยากขับจักรยานของผูใหญ เปนตน

(3) นิสัย (Habit) ผูที่มีนิสัยเหมาะสมกับงานและเลือกทําในส่ิงที่เหมาะสมกับตนเองจะ

ไมเกิดอุบัติภัยหรือคนบางคนมีความจําเปนตองปรับนิสัยของตนเองใหเขากับงานที่ไดรับมอบหมายจึง

สามารถทํางานนั้นไดปลอดภัย แตบางคนมีนิสัยชอบเส่ียงภัย

(4) ทักษะ (Skill) งานบางอยางผูใชแรงงานจําเปนตองมีทักษะจึงจะสามารถหลีกเลี่ยง

การบาดเจ็บได เชน การใชคอนตีตะปูจะตองมีทักษะจึงจะสามารถตีตะปูไดเร็วและมือที่จับตะปูไม

บาดเจ็บ เปนตน

Page 19: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

10

(5) ความรู (Knowledge) การปองกันไมใหเกิดอุบัติภัยผูใชแรงงานจําเปนอยางย่ิงที่

จะตองมีความรูเร่ืองงานของตนเปนอยางดี การมีความรูในโรงงานจําเปนอยางดีจะทําใหผูใช

แรงงานหลีกเลี่ยงอุบัติเหตุได

2) สาเหตุเกิดจากสภาวะแวดลอม อุบัติภัยอาจเกิดจากสภาวะแวดลอมที่ไมเหมาะสม

ประมาณรอยละ 15.0 - 20.0 ของจํานวนอุบัติภัยที่เกิดขึ้นทั้งหมด

Heinrich 1931: 20 ไดศึกษาถึงสาเหตุท่ีกอใหเกิดอุบัติภัยอยางจริงจังในโรงงานอุตสาหกรรม

ตาง ๆใน ค.ศ. 1920 ซ่ึงสาเหตุของอุบัติภัยที่สําคัญ 3 ประการสรุปได ดังนี้

(1) สาเหตุที่เกิดจากคนมีจํานวนสูงที่สุด คือ รอยละ 88.0 ของการเกิดอุบัติภัยทุกคร้ัง

เชน การทํางานที่ไมถูกตอง ความพลั้งเผลอ ความประมาท การมีนิสัยชอบเส่ียงในการทํางาน เปนตน

(2) สาเหตุที่เกิดจากความผิดพลาดของเคร่ืองจักร มีจํานวนเพียงรอยละ 10.0 ของ

การเกิดอุบัติภัยทุกคร้ัง เชน สวนที่เปนอันตรายของเคร่ืองจักร เคร่ืองมือ อุปกรณตาง ๆ ชํารุด

บกพรองสภาพแวดลอมในการทํางานไมปลอดภัย เปนตน

(3) สาเหตุที่ไมสามารถปองกันได มีเพียงรอยละ 2.00 เปนสาเหตุที่เกิดขึ้นโดย

ธรรมชาตินอกเหนือการควบคุม เชน พายุ น้ําทวม ฟาผา เปนตน

บุญลือ ฉิมบานไร (2539: 19) ไดกลาววา สาเหตุของอุบัติเหตุจากการประกอบอาชีพมีมากมาย

และซับซอน ปจจัยหลักซ่ึงเปนจุดเร่ิมตนและหวงโซอุบัติเหตุ อาจเกิดมาจากสาเหตุ ดังตอไปนี้

1) สภาพแวดลอมในการทํางาน อันไดแก

(1) เคร่ืองจักรขาดเคร่ืองปองกันอันตราย

(2) ไมมีความเปนระเบียบเรียบรอยในการจัดเก็บเคร่ืองมือ

(3) สุขวิทยาไมดี เชน เสียงดังเกินไป ฝุนมาก แสงสวางไมพอ เปนตน

2) วิธีการทํางานที่ไมเหมาะสม

(1) ตองใชมือสงช้ินงานเขาเคร่ืองจักร

(2) ไมมีการใชเคร่ืองปองกันอันตรายสวนบุคคล

3) ตัวผูใชแรงงานเปนปจจัยสําคัญที่ทําใหเกิดอุบัติภัย ซ่ึงแบงออกเปน

(1) ปจจัยทั่วไป ไดแก เพศ อายุ ประสบการณการทํางาน ขนาดของกลุมทํางาน

(2) ปจจัยทางบุคคล ไดแก เจตคติการปรับตัว ความเหนื่อยลา ความเจ็บปวย

Page 20: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

11

รุงรัตน ศรีสุริยเวศน (2531: 22) ไดกลาววา การเกิดอุบัติเหตุขึ้นสวนใหญเกิดจากพฤติกรรมที่

ไมปลอดภัยรวมกับสภาพการณที่ไมปลอดภัยหรืออาจเกิดจากอยางใดอยางหนึ่ง ซ่ึงการพิจารณาวา เกิด

จากสาเหตุใดจะตองรูวาเหตุใดจึงเกิดการกระทําที่ไมปลอดภัย หรือสภาพการณที่ไมปลอดภัยกอน

อาจกลาวไดวา จะตองมีสาเหตุนํามากอนที่ไมปลอดภัยหรือสภาพการณที่ไมปลอดภัยเปนสาเหตุ

โดยตรง การกระทําที่ไมปลอดภัยอันเนื่องมาจากบุคคล เรียกวา ปจจัยตัวบุคคล สรุปไดวา ปจจัยที่เปน

สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุแบงไดเปน 2 กลุมใหญ คือ กลุมที่เปนสาเหตุโดยตรง และกลุมที่เปนสาเหตุ

พ้ืนฐาน หรือสาเหตุสนับสนุน

1) สาเหตุโดยตรงที่ทําใหเกิดอุบัติเหตุ ไดแก

(1) ทํางานที่เส่ียงตอการบาดเจ็บ เชน การถูกเคร่ืองจักรมีคมโดยไมไดระมัดระวัง

ความเร็วของเคร่ืองจักรขณะทํางานที่ทําใหเกิดตาพรา ทํางานเส่ียงอันตรายโดยไมมีอุปกรณปองกัน

การทํางานโดยใชเคร่ืองมือไมถูกวิธี และการแตงกายไมรัดกุม เปนตน

(2) สภาวะที่ไมปลอดภัยหรือสภาวะการทํางานที่ตํ่ากวามาตรฐาน หมายถึง สภาพแวดลอม

ของส่ิงตาง ๆ ที่อยูรอบตัวผูทํางาน ซ่ึงอาจกอใหเกิดอุบัติเหตุไดงาย เชน เคร่ืองจักรชํารุดขาดการดูแล

รักษา การจัดเคร่ืองจักรอยางไมเปนระบบ ขาดการปองกันอันตรายที่เกิดจากเคร่ืองจักรอุปกรณ คนงาน

ปฏิบัติงานดวยวิธีการที่ไมปลอดภัย ซ่ึงอาจจะทําใหเกิดอุบัติเหตุได

2) สาเหตุทางพ้ืนฐานหรือเหตุสนับสนุนที่กอใหเกิดอุบัติเหตุ

(1) ขาดระบบการบริหารความปลอดภัย เชน ขาดการอบรมเกี่ยวกับความปลอดภัย ขาด

การจัดระเบียบ และควบคุมพนักงานใหปฏิบัติตามระเบียบอยางเครงครัด ขาดการตรวจสอบการทํางาน

และขาดการจัดหาอุปกรณปองกันอันตราย เปนตน

(2) สาเหตุทางกายภาพของบุคคล ไดแก ความเมื่อยลา พักผอนไมเพียงพอ สายตาไมดี

และเจ็บปวยขณะทํางาน เปนตน

(3) สาเหตุจากลักษณะทางจิตใจ ไดแก ความเครียด ขาดความรับผิดชอบ ประมาท

สะเพรา ไมเอาใจใสตอหนาที่จนเกิดอุบัติเหตุ เปนตน

(4) สาเหตุจากสภาพแวดลอมในขณะทํางานไมเหมาะสมหรือเอื้ออํานวยใหเกิดอุบัติเหตุ

ในการทํางาน เชน อากาศรอน เสียงดัง หรือขาดความเปนระเบียบเรียบรอย เปนตน

สราวุธ สุธรรมาสา (2542: 5) ไดกลาวถึง สาเหตุของการประสบอันตรายจากการทํางานไว

เปน 2 สวน คือ สาเหตุนําและสาเหตุโดยตรง สาเหตุนําของการประสบอันตรายจากการทํางาน แบง

ไดเปน 3 ลักษณะ ดังนี้คือ

Page 21: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

12

1) เกิดจากความผิดพลาดของการบริหารจัดการซ่ึงมีรายละเอียดยอยตางกัน ดังนี้

(1) ไมมีการสอนหรืออบรมเกี่ยวกับความปลอดภัย

(2) ไมมีการบังคับใหปฏิบัติตามกฎหมายความปลอดภัย

(3) ไมมีการวางแผนและเตรียมงานดานความปลอดภัย

(4) ไมมีการแกจุดอันตรายตาง ๆ

(5) ไมมีการจัดหาอุปกรณปองกันอันตรายให

2) สภาวะของคนงานไมเหมาะสม กลาวคือ

(1) ขาดความระมัดระวัง

(2) การทํางานของสมองไมประสานกัน

(3) สมองมีปฏิกิริยาในการส่ังงานชา

(4) ขาดความต้ังอกต้ังใจในการทํางาน

(5) อารมณออนไหวงายและขี้โมโห

(6) เกิดความรูสึกหวาดกลัวขวัญออนตกใจงาย

(7) มีทัศนคติไมดีหรือไมถูกตองกับงาน เชน มีความคิดวาอุบัติเหตุเปนเร่ืองของเวร

กรรม เคราะหกรรม ไมสามารถแกไข ปองกันได มีนิสัยชอบเส่ียง ประมาท

(8) ไมปฏิบัติตามกฎระเบียบหรือฝาฝนกฎระเบียบแลว จะไดรับความสนใจจากเพ่ือน

รวมงาน การถอดหมวก ถุงมือ หนากาก หรือแวนตาออกขณะทํางาน เพราะมีความคิดวาส่ิงเหลานั้นเกะกะ

รําคาญ ทํางานไมสะดวก ทําใหเกิดอุบัติเหตุไดเมื่อสวมใส แมแตการชอบหยอกลอ มีนิสัยชอบลอเลนกับ

เพ่ือนรวมงาน พูดคุยตลอดเวลาการทํางาน ทําใหขาดสมาธิในงานที่ทํา ส่ิงเหลานี้เปนบอเกิดของการทํางาน

อยางไมเต็มใจ ไมต้ังใจ ไมรักในงานท่ีตนเองทําอยู หรืออาจจะกลั่นแกลงเพ่ือนรวมงานใหเกิดอุบัติเหตุ

ในขณะทํางานได

3) สภาวะทางดานรางกายของคนงานไมเหมาะสม กลาวคือ หูหนวก สายตาไมดี ออนเพลีย

มาก เปนโรคหัวใจ รางกายมีความพิการ และรางกายไมเหมาะสมกับงานที่ทํา สภาพรางกายไมพรอม

หรือไมเหมาะสมกับงาน ทําใหเกิดอันตรายจากการทํางานไดเชนกัน กลาวคือ งวงนอน ออนเพลีย เปนไข

ทองเสีย ปวดศีรษะ ทําใหตองรับประทานยาและอาจมีผลทําใหเกิดการเผอเรอ เหมอลอย พลั้งเผลอ

งีบหลับช่ัวขณะ หรือทําใหไมสามารถปฏิบัติงานไดเต็มกําลัง ซ่ึงเปนสาเหตุของการเกิดอันตรายจาก

การทํางานอยูเสมอ ๆ และที่ไมอาจละเลยที่จะกลาวถึงอีกสาเหตุหนึ่ง ไดแก ความไมเหมาะสมของ

สภาพรางกายของผูปฏิบัติงาน เชน ตัวเล็กแตตองทํางานกับเคร่ืองจักรใหญ ตัวเต้ียแตตองหยิบจับ

ช้ินงานใหญในที่สูง ตัวสูงตองกมเพ่ือทํางานตลอดเวลา หรือแมกระท่ังความไมสมประกอบของ

รางกาย เชน ตาเหล คอเอียง หรือขาพิการ เปนตน ซ่ึงทั้งหมดนี้สามารถทําใหเกิดความออนลา

Page 22: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

13

เหนื่อยงายกวาปกติ เพราะจะตองทํางานในสภาพท่ีผิดลักษณะตลอดเวลา อันเปนสาเหตุของการ

ประสบอันตรายจากการทํางานไดเชนกัน

สาเหตุโดยตรงของการประสบอันตรายจากการทํางานมีอยู 2 สาเหตุ กลาวคือ เกิดจากการ

ปฏิบัติงานที่ไมปลอดภัยของคน และสภาพการทํางานที่ไมปลอดภัย

1) เกิดจากการปฏิบัติงานที่ไมปลอดภัยของคน โดยปกติแลวคนเราไมตองการใหตนเอง ผูอื่น

ส่ิงของ หรือทรัพยสินใด ๆ ตองพบกับอันตราย แตการประสบอันตรายของคนเรา ไมวาจะเนื่องจากการ

ทํางานหรือปฏิบัติตนตามปกติในชีวิตประจําตัว มีสาเหตุมาจากตัวปฏิบัติงานนั้นโดยตรงเปนสวนใหญ

และจากการศึกษาวิจัย พบวา การกระทําของบุคคลจะเปนสาเหตุของการประสบอันตรายในการทํางาน

รอยละ 80.0 ของการเกิดอันตรายทั้งหมด ซ่ึงพอสรุปได ดังนี้

(1) การใชเคร่ืองจักรเคร่ืองมือตาง ๆ โดยพลการหรือไมไดรับมอบหมาย

(2) การทํางานเร็วเกินสมควรและใชเคร่ืองในอัตราเร็วเกินกําหนด

(3) ซอมแซมหรือบํารุงรักษาเคร่ืองในขณะที่เคร่ืองจักรกําลังหมุน

(4) ถอดอุปกรณปองกันอันตรายออกจากตัวเคร่ือง

(5) ไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

(6) ยกหรือเคลื่อนยายวัสดุดวยทาทางหรือวิธีการที่ไมถูกตอง

(7) ใชเคร่ืองมือชํารุดหรือใชเคร่ืองมือไมถูกวิธี

(8) หยอกลอหรือเลนกันในขณะทํางาน

(9) ยืนทํางานในที่ที่ไมปลอดภัยหรือผิดทาทาง

2) เกิดจากสภาพการทํางานที่ไมปลอดภัยเปนสภาพแวดลอมที่ไมปลอดภัยที่อยูรอบ ๆ

ตัวคนงานในขณะทํางานซ่ึงประมาณรอยละ 20.0 อาจเปนเหตุใหเกิดอันตรายได ดังตัวอยางตอไปนี้

(1) กองวัสดุสูงเกินไปและการซอนไมมีระเบียบ

(2) ที่จัดเก็บสารเคมีสารไวไฟตาง ๆ ไมเหมาะสม

(3) ไมมีการระบายอากาศและถายเทอากาศที่เหมาะสม

(4) ไมมีระบบเตือนภัยที่ถูกตองเหมาะสม

(5) แสงสวางไมเหมาะสม เชน แสงอาจไมเพียงพอ หรือสวางจามากเกินไป

(6) บริเวณพ้ืนโรงงานลื่น ขรุขระ สกปรก รกรุงรัง

(7) การวางของไมเปนระเบียบเรียบรอย

(8) เคร่ืองจักรเคร่ืองมือที่ใชออกแบบไมเหมาะสม

Page 23: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

14

(9) เคร่ืองจักรไมมีอุปกรณปองกันอันตรายปกปดในสวนท่ีเปนอันตราย เคร่ืองจักรมี

อุปกรณปองกันอันตรายแตไมเหมาะสม เชน ไมแข็งแรง ตะแกรงมีรูใหญเกินไป หรือใหญเกะกะ

ในขณะทํางาน เปนตน

Wo (1988:16) ไดกลาววา สาเหตุของอุบัติเหตุของการประกอบอาชีพมีมากมายและซับซอน

ปจจัยหลักที่เปนจุดเร่ิมตนของหวงโซอุบัติเหตุ อาจเกิดจาก

1) สภาพแวดลอมในการทํางาน (The Work Environment) เชน เคร่ืองจักรขาดเคร่ือง ปองกัน

อันตราย ไมมีความเปนระเบียบเรียบรอยในการจัดเก็บเคร่ืองมือ สุขวิทยาไมดี เชน เสียงดังเกินไป ฝุน

มาก แสงสวางไมเพียงพอ เปนตน

2) วิธีการทํางานที่ไมเหมาะสม (The Work Method) เชน ตองใชมือสงช้ินงานเขา

เคร่ือง ไมมีการใชเคร่ืองปองกันอันตรายสวนบุคคล

3) คนงาน (The Worker) เปนปจจัยสําคัญที่ทําใหเกิดอุบัติเหตุ ซ่ึงแบงเปน

(1) ปจจัยทั่วไป (General Factor) ไดแก เพศ อายุ ประสบการณทํางาน ขนาดของ

กลุมทํางาน

(2) ปจจัยทางบุคคล (Personal Factor) ไดแก ทัศนคติการปรับตัว ความเหนื่อยลา

ความเจ็บปวย

กลาวโดยสรุปแลว สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุที่สําคัญ ไดแก การกระทําท่ีไมปลอดภัย ซ่ึง

หมายถึง การกระทําของคนหรือผูปฏิบัติงานที่มีผลตอการเกิดอุบัติเหตุ เชน ความพึงพอใจในงานที่ทํา

พฤติกรรมในการทํางาน เปนตน และสภาพการณที่ไมปลอดภัย หมายถึง สภาพส่ิงแวดลอมในที่

ทํางานที่มีผลทําใหเกดอุบัติเหตุจากการทํางาน เชน สภาพของเคร่ืองจักร ระยะเวลาในการทํางาน

สภาพแวดลอมทางกายภาพ เปนตน

2.1.3 ความสูญเสียเนื่องจากการเกิดอุบัติเหตุ

วิฑูรย สิมะโชคดี ( 2537: 16 - 17 ) ไดกลาววา การเกิดอุบัติเหตุในแตละคร้ังยอมกอใหเกิดความ

สูญเสียมากมาย นอกจากจะเกิดการบาดเจ็บ การเจ็บปวย หรือเสียชีวิต หรือแมแตทรัพยสินเสียหาย

อุปกรณ เคร่ืองมือ เคร่ืองจักรที่เกิดความเสียหาย คาใชจายในการซอมบํารุงแลว ยังรวมถึงการสูญเสียเวลา

ในการผลิตที่ตองหยุด และคาใชจายอื่น ๆ หรือแมแตเสียภาพพจนของบริษัท ความสูญเสียหรือคาใชจาย

อันเนื่องมาจากการเกิดอุบัติเหตุในโรงงานอุตสาหกรรมนั้น อาจแบงออกไดเปน 2 ประเภทใหญ ดังนี้

2.1.3.1 ความสูญเสียทางตรง (Direct Loss)

หมายถึง จํานวนเงินที่ตองจายไปอันเกี่ยวเนื่องกับผูไดรับบาดเจ็บโดยตรงจากการ

เกิดอุบัติเหตุ หรือเปนคาเสียหายที่แสดงใหเห็นอยางเดนชัด ไดแก

Page 24: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

15

1) คารักษาพยาบาล

2) คาทดแทนจากการไดรับบาดเจ็บ

3) คาทําขวัญ

4) คาทําศพ

5) คาประกันชีวิต

2.1.3.2 ความสูญเสียทางออม (Indirect Loss)

หมายถึง คาใชจายอื่น ๆ (ซ่ึงสวนใหญจะคํานวณเปนตัวเงินได) นอกเหนือจาก คาใชจาย

ทางตรงสําหรับการเกิดอุบัติเหตุในแตละคร้ัง ไดแก

1) การสูญเสียเวลาในการทํางานของ

(1) คนงานหรือผูบาดเจ็บเพ่ือรักษาพยาบาล

(2) คนงานอื่นหรือเพ่ือนรวมงานที่ตองหยุดชะงักช่ัวคราว เนื่องจากชวยเหลือ

ผูบาดเจ็บโดยการปฐมพยาบาล หรือนําสงโรงพยาบาล อยากรูอยากเห็น การวิพากษวิจารณ ความต่ืนตกใจ

(3) หัวหนางานหรือผูบังคับบัญชา เนื่องจากชวยเหลือผูบาดเจ็บ สอบสวนหา

สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ บันทึก และจัดทํารายงานการเกิดอุบัติเหตุ จัดหาคนงานอื่นและฝกสอนใหเขา

ทํางานแทนผูบาดเจ็บ หาวิธีแกไขและปองกันอุบัติเหตุไมใหเกิดซํ้าอีก

2) คาใชจายในการซอมแซมเคร่ืองจักร เคร่ืองมือ อุปกรณ ท่ีไดรับความ

เสียหาย

3) วัตถุดิบหรือสินคาที่ไดรับความเสียหายตองทิ้ง ทําลาย หรือขายเปนเศษ

4) ผลผลิตลดลง เนื่องจากกระบวนการผลิตขัดของ ตองหยุดชะงัก

5) คาสวัสดิการตาง ๆ ของผูบาดเจ็บ

6) คาจางแรงงานของผูบาดเจ็บ ซ่ึงโรงงานยังคงตองจายตามปกติ แมวา

ผูบาดเจ็บจะทํางานยังไมไดเต็มที่หรือตองหยุดงาน

7) การสูญเสียโอกาสในการทํากําไร เพราะผลผลิตลดลงจากการหยุดชะงักของ

กระบวนการผลิต และการเปลี่ยนแปลงความตองการของตลาด

8) คาเชา คาไฟฟา น้ําประปา และโสหุยตาง ๆ ที่โรงงานยังคงตองจายตามปกติ

แมวาโรงงานจะตองหยุดหรือปดกิจการหลายวันในกรณีเกิดอุบัติเหตุรายแรง

9) การเสียช่ือเสียงและภาพพจนของโรงงาน

นอกจากนี้ ผูบาดเจ็บจนถึงขั้นพิการหรือทุพพลภาพ จะกลายเปนภาระของสังคม

ซ่ึงทุกคนมีสวนรวมรับผิดชอบดวย ความสูญเสียทางออมจึงมีคามหาศาลกวาความสูญเสียทางตรงมาก

ซ่ึงปกติเรามักจะคิดกันไมถึง จึงมีผูเปรียบเทียบวา ความสูญเสียหรือคาใชจายของการเกิดอุบัติเหตุ

Page 25: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

16

เปรียบเสมือน ภูเขาน้ําแข็ง ดังภาพที่ 2.1 สวนที่โผลพนน้ําใหมองเห็นไดมีเพียงเล็กนอย เมื่อเปรียบเทียบ

กับสวนที่จมอยูใตน้ํา ในทํานองเดียวกันคาใชจายทางตรงเมื่อเกิดอุบัติเหตุ จะเปนเพียงสวนนอยของ

คาใชจายที่เกิดขึ้นทั้งหมด ซ่ึงผูบริหารโรงงานจะมองขามมิได

ภาพที่ 2.1 ภูเขาน้ําแข็งที่แสดงใหเห็นถึงความสูญเสียทางตรงและทางออม

แหลงที่มา: วิฑูรย สิมะโชคดี, 2537: 18.

กลาวโดยสรุปแลว การสูญเสียเนื่องจากการเกิดอุบัติเหตุจากการทํางานมีผลอยางมากตอ

ชีวิตและทรัพย โดยแยกออกเปน 2 ประเภท คือ 1) การสูญเสียทางตรง ไดแก คาใชจายที่ตองจายอยาง

ชัดเจน เชน คารักษาพยาบาล คาทําศพ คาเงินทดแทน เปนตน 2) การสูญเสียทางออมท่ีเปนคาใชจายแฝง

ในรูปแบบตาง ๆเชน การสูญเสียเวลา การทําใหผลผลิตลดลง การสูญเสียโอกาสตาง ๆเปนตน

2.1.4 ทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการเกิดอุบัติเหตุ

2.1.4.1ทฤษฎีการเกิดอุบัติเหตุ

1) ทฤษฎีโดมิโน (Domino Theory) Heinrich (1931: 13) เปนผูคิดคนทฤษฎีนี้

ขึ้น เขากลาววา การบาดเจ็บและความเสียหายตาง ๆ เปนผลท่ีสืบเนื่องโดยตรงมาจากอุบัติเหตุ และ

อุบัติเหตุเปนผลมาจากการกระทําท่ีไมปลอดภัย หรือสภาพการท่ีไมปลอดภัย ซ่ึงเปรียบเทียบได

เหมือนตัวโดมิโนที่เรียงกันอยู 5 ตัวใกลกัน เมื่อตัวที่หนึ่งลมยอมมีผลทําใหตัวโดมิโนไปลมตามกัน

ไปดวย ดังภาพที่ 2.2 ตัวโดมิโนทั้ง 5 ตัว ไดแก

(1) สภาพแวดลอมหรือภูมิหลังของบุคคล (Social Environment or Background)

(2) ความบกพรองผิดปกติของบุคคล (Defects of Person)

(3) การกระทําหรือสภาพการณที่ไมปลอดภัย (Unsafe Acts/Unsafe Conditions)

(4) อุบัติเหตุ (Accident)

(5) การบาดเจ็บหรือความเสียหาย (Injury or Damage)

Page 26: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

17

ภาพที่ 2.2 แสดงลักษณะการเกิดอุบัติเหตุตามหลักทฤษฎีโดมิโน

แหลงที่มา: Heinrich, 1931: 13.

จากลักษณะของแตละตัวโดมิโนจะมีความสัมพันธตอกันเหมือนลูกโซ กลาวคือ

สภาพแวดลอมของสังคมหรือภูมิหลังของคนใดคนหนึ่ง (สภาพครอบครัว ฐานะความเปนอยู การศึกษา

อบรม) กอใหเกิดความบกพรองของคนนั้น (ทัศนคติความปลอดภัยไมถูกตอง ชอบเส่ียงมักงาย)

กอใหเกิดการกระทําที่ไมปลอดภัยหรือสภาพการณที่ไมปลอดภัยกอใหเกิดอุบัติเหตุ กอใหเกิดการ

บาดเจ็บและความเสียหาย

การปองกันอุบัติเหตุตามตามทฤษฎีโดมิโนหรือลูกโซของอุบัติเหตุ เมื่อโดมิโนตัว

ที่ 1 ลม ตัวถัดไปก็ลมตาม ดังนั้น หากไมใหโดมิโนตัวท่ี 4 ลม (ไมใหเกิดอุบัติเหตุ) ก็ตองเอาโดมิโนตัว

ที่ 3 ออก (กําจัดการกระทําหรือสภาพการณที่ไมปลอดภัย) การบาดเจ็บหรือความเสียหายก็จะไมเกิดขึ้น

2) ทฤษฎีพลังงาน (Energy Cause Theory) เปนเร่ืองท่ี อธิบายสาเหตุการณบาดเจ็บจาก

การเกิดอุบัติเหตุ ซ่ึงอาจเกิดขึ้นโดยไมคาดคิดหรือต้ังใจใหเกิดขึ้นก็ตาม มีอยูใน 2 ประเภท ดังนี้

ประเภทที่ 1 ไดแก การบาดเจ็บ ซ่ึงเกิดจากการเกิดพลังงานมากระทบรางกายของ

คนเรา ในปริมาณที่สูงเกินกวาสวนใดสวนหนึ่งของรางกายจะสามารถรับได หรือทนตอแรงกระทบนั้น

ได (Injury Thresholds) ดังอธิบายในตารางที่ 2.1

Page 27: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

18

ตารางที่ 2.1 การบาดเจ็บอันเกิดจากพลังงานท่ีเกิดขึ้นมากระทบรางกายเกินกวาที่รางกายจะยอมรับได

ชนิดของพลังงาน ลักษณะการบาดเจ็บที่เกิดข้ึน ตัวอยาง

แรงกระทบ (Mechanical) รางกายหรืออวัยวะของรางกาย

เคลื่อนที่ เปลี่ยนรูป ฉีกขาด

แตกหัก

การบาดเจ็บซ่ึงเกิดจาก

แรงกระทบมากจากวัตถุ

ที่กําลังเคลื่อนที่ เชน ของ

มีคม ส่ิงที่ตกจากที่สูง รถ

ชน

ความรอน (Thermal) เกิดการอักเสบ ไหม (Charring)

และเผาเปนเถา (Incineration)

ไฟไหม หรือน้ํารอนลวก

กระแสไฟฟา (Electrical) เกิดการรบกวนของหนาที่ประสาท

และกลามเนื้อ (Neuromuscular Function)

การแข็งตัว (Coagulation) ไหม (Charring)

และเผาเปนเถา (Incineration)

ไฟฟาดูด ไหม เกิดการ

รบกวนระบบประสาท

เชน ในการชอตดวย

กระแสไฟฟา

แสงรังสี (Radiation) เซลลถูกทําลาย ถูกรังสีหรือ

กัมมันตภาพรังสี

สารเคมี (Chemical) เกิดการอักเสบและมีปฏิกิริยาตอ

เนื้อเย่ือ แลวแตชนิดของสารเคมี

การตายของเซลล

ถูกสารเคมี กรด ดาง

รวมทั้ง Toxin จากพืช

และสัตว

ประเภทที่ 2 เกิดการแลกเปลี่ยนพลังงานระหวางรางกายหรือสวนใดสวนหนึ่ง

ของรางกายกับแรงซ่ึงมากระทบในลักษณะผิดปกติ (Abnormal Energy Exchange) จึงทําใหเกิดการ

บาดเจ็บขึ้น ดังอธิบายในตารางที่ 2.2

Page 28: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

19

ตารางที่ 2.2 การบาดเจ็บประเภทที่สองเกิดจากการผิดปกติของการแลกเปลี่ยนพลังงานระหวาง

รางกายหรือสวนของรางกายกับส่ิงที่มากระทบ (Abnormal Energy Exchange)

ชนิดของพลังงาน

แลกเปลีย่น

ชนิดของการบาดเจ็บ

หรือเกิดการแลกเปลี่ยน

ตัวอยาง

1. ออกซิเจน

(Oxygen Utilization)

การบกพรองทางสรีระวิทยา

เนื้อเย่ือหรือรางกายตาย

จมน้ํา รางกายถูกทับ พิษจาก CO,

HCN เสนเลือดขอด

2. ความรอน (Thermal) การบกพรองทางสรีระวิทยา

เนื้อเย่ือหรือรางกายตาย

การบาดเจ็บซ่ึงเกิดจากการปรับ

อุณหภูมิของรางกายเสียไป

3) ทฤษฎีหลายสาเหตุหลายปจจัย (Multiple Factor Theories) ทฤษฎีหลายสาเหตุ

หลายปจจัย เปนทฤษฎีที่กลาววา สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ เกิดจากปจจัยหลายปจจัยรวมกัน โดย

สาเหตุขณะนั้น (Immediate Causes) อาจเปนการกระทําที่ไมปลอดภัยของพนักงาน หรือสภาพการณที่

ไมปลอดภัย ซ่ึงทฤษฎีหลายสาเหตุหลายปจจัยนั้น จะมีหลายปจจัยที่เปนสวนสนับสนุนใหเกิดอุบัติเหตุ

โดยไดสรางรูปแบบของทฤษฎีหลายสาเหตุหลายปจจัยที่ทําใหเกิดอุบัติเหตุโดยปจจัย 4M คือ

(1) Man คือ คน ซ่ึงมีปจจัยรวม ไดแก เพศ อายุ ความสูง ทักษะการทํางาน

ประวัติการฝกอบรม แรงจูงใจ เปนตน

(2) Media คือ สภาพแวดลอมตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ไดแก สภาพอากาศ

อุณหภูมิ แสง สวาง เสียง เปนตน

(3) Management คือ รูปแบบในการบริหารจัดการ การจัดองคกร นโยบาย

ระเบียบปฏิบัติ เปนตน

(4) Machine คือ อุปกรณ เคร่ืองมือ เคร่ืองจักร ไดแก ขนาดของเคร่ือง

รูปรางของเคร่ืองจักร น้ําหนัก แหลงพลังงาน เปนตน ซ่ึงทฤษฎีหลายสาเหตุหลายปจจัยจะมี

ประโยชนในการปองกันอุบัติเหตุ โดยจะทําใหเราระบุถึงปจจัยท่ีมีสวนเกี่ยวของในการปฏิบัติงาน

เพ่ือนํามาวิเคราะหถึงสาเหตุของอุบัติเหตุหรือผลของการเกิดอุบัติเหตุได อุบัติเหตุท่ีเกิดขึ้นทุกคร้ัง

มิใชเกิดจากโชคชะตาหรือเคราะหกรรมท่ีเหนือการควบคุม แตเกิดจากสาเหตุท่ีแกไขและปองกัน

ได สาเหตุของอุบัติเหตุที่สําคัญ ไดแก การกระทําท่ีไมปลอดภัย (Unsafe Acts) และสภาพการณท่ี

ไมปลอดภัย (Unsafe Condition) การปองกันอุบัติเหตุอยางมีประสิทธิภาพ ทําไดโดยการกําจัดการ

กระทํา หรือสภาพการณที่ไมปลอดภัยใหเหลือนอยที่สุดหรือหมดไป สภาพการทํางานที่ปลอดภัยก็

จะเกิดขึ้นในที่สุด

Page 29: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

20

4) ทฤษฎีรูปแบบระบบความปลอดภัยของบอบฟเรนซ (Firenze System Model)

เปนแนวคิดเกี่ยวกับรูปแบบระบบความปลอดภัยวา ในการศึกษาถึงสาเหตุของอุบัติเหตุจะตองศึกษา

องคประกอบทั้งระบบ ซ่ึงมีปฏิกิริยาสัมพันธเกี่ยวของกัน องคประกอบดังกลาว ประกอบดวย คน

(Man) เคร่ืองจักร (Machine) และส่ิงแวดลอม (Environment) ความสําคัญขององคประกอบที่เปน

สาเหตุของอุบัติเหตุแตละองคประกอบมีความสําคัญตอการตัดสินใจในการผลิตงาน (Task) และการ

เกิดอุบัติเหตุ (Accident) ดังนี้

(1) คนหรือผูปฏิบัติงาน (Man) ในการผลิตงานหรือทํางานในแตละช้ินผูปฏิบัติงาน

จําเปนตองตัดสินใจ (Decision) เลือกวิธีปฏิบัติอยางใดอยางหนึ่ง เพ่ือใหงานบรรลุเปาหมาย แตการ

ตัดสินใจในการดําเนินงานใหบรรลุเปาหมายในแตละคร้ังนั้นยอมมีความเส่ียง (Risks) แอบแฝงอยูเสมอ

ดังนั้น ในการตัดสินใจแตละคร้ัง ผูปฏิบัติงานจะตองมีขอมูลขาวสาร (Information) ที่ เพียงพอ

ถาหากขอมูลขาวสารดี ถูกตอง ก็จะทําใหการตัดสินใจถูกตอง แตถาขอมูลไมถูกตองก็จะทําใหการ

ตัดสินใจนั้นผิดพลาดหรือมีความเส่ียงสูง และทําใหเกิดความลมเหลวในการทํางาน ซ่ึงอาจจะสงผลใหเกิด

อุบัติเหตุได

(2) อุปกรณเคร่ืองจักร (Machine) อุปกรณเคร่ืองจักรที่ใชในการผลิตจะตอง

มีความพรอมปราศจากขอผิดพลาด ถาอุปกรณเคร่ืองจักรออกแบบไมถูกตอง ไมถูกหลักวิชาการ

หรือขาดการบํารุงรักษาที่ดี ยอมทําใหกลไกของเคร่ืองจักรปฏิบัติงานผิดพลาด ซ่ึงจะนําไปสูการเกิด

อุบัติเหตุ

(3) ส่ิงแวดลอม (Environment) สภาพการทํางานและส่ิงแวดลอมในการ

ทํางานมีบทบาทสําคัญตอการผลิตความผิดพลาดท่ีเกิดขึ้นกับส่ิงแวดลอมยอมกอใหเกิดปญหาตอ

ผูปฏิบัติงานและเคร่ืองจักรซ่ึงจะเปนสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุได

5) ทฤษฎีดานจิตวิทยาเกี่ยวกับความปลอดภัย

(1) ทฤษฎีแนวโนมการเกิดอุบัติเหตุ (Accident - Proneness Theory) เปน

ทฤษฎีที่อธิบายพฤติกรรมของการเกิดอุบัติเหตุ โดยกลาวไววา คนที่มักไดรับอุบัติเหตุเปนประจําจะ

มีลักษณะเฉพาะบุคคล ที่แตกตางไปจากบุคคลอื่น อันเปนผลทําใหเกิดพฤติกรรมที่ไมปลอดภัย

(2) ทฤษฎีการปรับตัว - ความเครียด (The Adjustment - Stress Theory) ทฤษฎี

นี้ไดกลาววา ความเครียดจากการทํางานเปนสาเหตุใหเกิดอุบัติเหตุ คนที่มีความเครียดมีแนวโนมที่จะเกิด

อุบัติเหตุไดมากกวาคนที่ไมมีความเครียด ในตอนแรกทฤษฎีนี้ถูกมองวา คลายกับเอาทฤษฎีความเส่ียงตอ

การเกิดอุบัติเหตุมาเขียนใหม แตจริง ๆ แลว ทฤษฎีความเส่ียงจะกลาวถึงลักษณะเฉพาะของบุคคลที่สราง

ขึ้น และเปนลักษณะที่ติดตัวบุคคลนั้นมาตลอด แตทฤษฎีการปรับตัวตอความเครียดเปนทฤษฎีที่

เกี่ยวของกับธรรมชาติการปรับตัวตอความเครียดของมนุษย ซ่ึงเปนผลมาจากสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนไป

Page 30: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

21

เชน อุณหภูมิ แสงสวาง การระบายอากาศในสถานที่ทํางาน แรงส่ันสะเทือนของเคร่ืองจักร การดื่มสุรา

และอิทธิพลของโรคตาง ๆ เปนตน

กลาวโดยสรุป แตละทฤษฎีพยายามจะอธิบายความเปนเหตุเปนผลในการเกิดอุบัติเหตุ ซ่ึง

จะเห็นไดวา สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุมีหลายปจจัยมาเกี่ยวของท้ังดานตัวบุคคล อันไดแก สภาพ

รางกายและจิตใจ ตลอดจนส่ิงแวดลอมตาง ๆ

2.2 แนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกับความรู ความเขาใจ ทัศนคติ และพฤติกรรม

2.2.1 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความรู ความเขาใจ

2.2.1.1 ความรู

วิจารย พานิช (2547) กลาววา เปนการยากมากท่ีจะใหนิยามคําวา ความรู ดวยถอยคํา

ส้ัน ๆ ย่ิงในความหมายที่ใชในศาสตรดานการจัดการความรู คําวา ความรู ย่ิงมีความหมายหลายนัย และ

หลายมิติ

ความรู คือ ส่ิงที่เมื่อนําไปใชจะไมหมดหรือสึกหรอ แตจะย่ิงงอกเงยหรืองอกงามขึ้น

ความรู คือ สารสนเทศที่นําไปสูการปฏิบัติ

ความรู เปนส่ิงที่คาดเดาไมได

ความรูเกิดขึ้น ณ จุดที่ตองการใชความรูนั้น

ความรูเปนส่ิงที่ขึ้นกับบริบทและกระตุนใหเกิดขึ้นโดยความตองการ

Yamazaki (1989 อางถึงใน ยุทธนา แซเตียว, 2547: 252) ไดอธิบายคําจํากัดความ

ของคําวา ความรู ดังภาพแผนภูมิปรามิดที่ 2.3 ดังนี้

Page 31: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

22

ปญญา

ความรู

สารสนเทศ

ขอมูล

ภาพที่ 2.3 แผนภูมิปรามิดแสดงลําดับของความรู

จากแผนภาพขางตนอธิบายไดวา ขอมูล (Data) เปนขอมูลดิบตาง ๆ ที่ยังไมไดผาน

การแปลความหมาย สารสนเทศ (Information) นั้น เปนขอมูลที่ผานกระบวนการเรียบเรียง ตีความ

วิเคราะห และใหความหมาย เชน การนําตัวเลขประชากรมาหาคาทางสถิติ สวนความรู (Knowledge)

เกิดจากกระบวนการที่บุคคลรับรูขอมูลขาวสารผานกระบวนการคิด เปรียบเทียบเช่ือมโยงกับความรูอื่น

จนเกิดเปนความเขาใจและมีการนําไปใชและมีอยูบนยอดสูงสุด คือ ความรู (Knowledge) เปนส่ิงที่ฝงอยู

ในตัวบุคคลจนเกิดเปนปญญา (Wisdom) ซ่ึงเปนจุดสูงสุดของกระบวนการนี้

ราชบัณฑิตยสถาน (2542: 68) ไดใหความหมายของ ความรู หมายถึง ส่ิงที่ส่ังสม

มาจากการศึกษาเลาเรียน การคนควา หรือ ประสบการณ รวมทั้งความสามารถเชิงปฏิบัติและทักษะ

ความเขาใจหรือสารสนเทศที่ไดรับมาจากประสบการณ ส่ิงท่ีไดรับมาจากการไดยิน ไดฟง การคิด

หรือการปฏิบัติ องควิชาในแตละสาขา เชน ความรูเร่ืองเมืองไทย ความรูเร่ืองสุขภาพ

อรอุมา พัชรวรภาส (2547: 42) กลาววา ความรู หมายถึง ขอเท็จจริง กฎเกณฑ

และรายละเอียดตาง ๆ ที่มนุษยไดรวบรวม ทั้งที่เกี่ยวกับสถานที่ ส่ิงของ และบุคคล ซ่ึงไดจากการ

สังเกต ประสบการณ หรือการคนควา การรับรูส่ิงตาง ๆ เหลานี้ตองอาศัยเวลา และมนุษยไดมีการ

เก็บรวบรวมเอาไว

Page 32: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

23

2.2.1.2 ความเขาใจ

จักรกริช ใจดี (2542: 8 - 9) อธิบายว า ความเข าใจ (Comprehension) หมายถึ ง

ความสามารถจับใจความสําคัญของเร่ืองราวตาง ๆได ทั้งภาษา รหัส สัญลักษณ ท้ังรูปธรรมและนามธรรม

แบงเปน การแปลความ การตีความ การขยายความ ทั้งนี้ไดแยกความเขาใจออกเปน 3 ลักษณะ ดังนี้

(1) การแปรความ คือ ความสามารถในการจับใจความใหถูกตองกับส่ิงท่ีส่ือ

ความหมายหรือความสามารถในการถายเทความหมายจากภาษาหนึ่งไปสูอีกภาษาหนึ่ง หรือจาก

การส่ือสารรูปแบบหนึ่งไปสูอีกรูปแบบหนึ่ง

(2) การตีความ คือ ความสามารถในการอธิบาย หรือแปลความหมายหลาย ๆ อันมา

เรียบเรียง โดยทําการจัดระเบียบ สรุปยอดเปนเนื้อความใหม โดยยึดเปนเนื้อความเดิมเปนหลัก ไมตอง

อาศัยหลักเกณฑอื่นใดมาใช

(3) การขยายความ คือ ความสามารถที่ขยายเนื้อหาขอมูลที่รับรูมาใหมากขึ้น

หรือเปนความสามารถในการทํานาย หรือคาดคะเนเหตุการณลวงหนาไดอยางดี โดยอาศัยขอมูล

อางอิงหรือแนวโนมที่เกินเลยจากขอมูล

ฑิตยา สุวรรณะชฏ (2531: 1 - 2) กลาวถึง ความหมายอยางกวาง ๆ ของความเขาใจ

วา เปนขั้นตอนที่ถัดมาจากการเกิดความรู โดยรวมถึง ความหมายในระดับของการทําความเขาใจ

จึงเกี่ยวกับการตีความ การแปลความหมาย และการคาดคะเนดวย โดยขั้นตอนนี้จะมีความสัมพันธ

อยางใกลชิดมาก ทําใหพฤติกรรมของความรูและความเขาใจเปนส่ิงที่แยกออกจากกันไดยาก เพราะ

มักจะเกิดควบคูกันไป

ดังนั้น จึงสามารถสรุปไดวา ความรู ความเขาใจ คือ ขอเท็จจริง กฎเกณฑ และ

รายละเอียดตาง ๆ ที่มนุษยไดรวบรวมจากการศึกษาเลาเรียน การคนควา หรือประสบการณ รวมทั้ง

ความสามารถเชิงปฏิบัติและทักษะผานกระบวนการคิด เปรียบเทียบ เช่ือมโยงกับความรูอื่นจนเกิด

เปนความเขาใจ ความรูเปนขั้นตอนของพฤติกรรมท่ีเนนความจํา โดยเปนขั้นแรกของการเรียนรู

และการรับรู โดยการอาน การฟง การจดจํา และการระลึกได ซ่ึงขั้นตอนนี้เปนขั้นตอนที่ไมยุงยาก

นัก สวนความเขาใจเปนขั้นถัดมาจากความรู ซ่ึงโดยปกติแลวความรูและความเขาใจจะเปน

พฤติกรรมที่ตอเนื่องกันและเปนขั้นตอนแรกของการเกิดทัศนคตินั่นเอง

3) ความสําคัญของความรู

ทวี นาคบุตร (2544 อางถึงใน ยุทธนา ขําเกื้อ, 2548: 9 - 10) กลาววา ความรู เกิดจาก

สมองของมนุษยไดมีการพัฒนาการมาต้ังแตเด็กเล็ก ๆ โดยเฉพาะเด็กท่ีมีอายุตํ่ากวา 3 ขวบ จะเปนวัยที่มี

การพัฒนาของสมองมากที่สุด คนสวนมากมักคิดวา เด็กอายุยังนอย จึงละเลยตอการเอาใจใส แตกลับไป

Page 33: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

24

ใหความสําคัญในวัยอื่นแทน ฉะนั้น เด็กในชวงวัย 3 ขวบ ในวัยนี้พอแมจึงควรใหความสําคัญตอการ

พัฒนาและสรางความรูเปนอยางมาก สมองของมนุษยสามารถแบงเปน 2 สวน

(1) ประเภทของความรู

ความรู สามารถแบงออกเปนประเภทใหญ ๆ ได 2 ประเภท คือ ความรูชัดแจง

(Explicit Knowledge) และความรูแฝงเรน (Tacit Knowledge) ความรูชัดแจง คือ ความรูที่เขียน

อธิบายออกมากเปนตัวอักษร เชน คูมือปฏิบัติงาน หนังสือ ตํารา สวนความรูแฝงเรน คือ ความรูที่

ฝงอยูในตัวคน ไมไดถอดออกมาเปนลายลักษณอักษร หรือบางคร้ังก็ไมสามารถถอดเปนลายลักษณ

อักษรได ความรูที่สําคัญสวนใหญ มีลักษณะเปนความรูแฝงเรนอยูในคนทํางาน และผูเช่ียวชาญใน

แตละเร่ือง จึงตองอาศัยกลไกแลกเปลี่ยนเรียนรูใหคนไดพบกัน สรางความไววางใจกัน และถายทอด

ความรูระหวางกันและกัน (สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามยาเสพติด, 2552)

ความรูแฝงเรน (Tacit Knowledge)

เปนความรูที่ไมสามารถอธิบายโดยใชคําพูดได มีรากฐานมาจากการกระทํา

และประสบการณ มีลักษณะเปนความเช่ือ ทักษะ และเปนอัตวิสัย (Subjective) ตองการการฝกฝน

เพ่ือใหเกิดความชํานาญ มีลักษณะเปนเร่ืองสวนบุคคล มีบริบทเฉพาะ (Context - Specific) ทําให

เปนทางการและส่ือสารยาก เชน วิจารณญาณ ความลับทางการคา วัฒนธรรมองคกร ทักษะความ

เช่ียวชาญในเร่ืองตาง ๆ การเรียนรูขององคกร ความสามารถในการชิมรสไวน หรือกระท่ังทักษะใน

การสังเกตเปลวควันจากปลองโรงงานวามีปญหาในกระบวนการผลิตหรือไม

ความรูชัดแจง (Explicit Knowledge)

เปนความรูที่รวบรวมไดงาย จัดระบบและถายโอนโดยใชวิธีการดิจิทัล มี

ลักษณะเปนวัตถุดิบ (Objective) เปนทฤษฎี สามารถแปลงเปนรหัสในการถายทอดโดยวิธีการที่เปน

ทางการ ไมจําเปนตองอาศัยการปฏิสัมพันธกับผูอื่นเพ่ือถายทอดความรู เชน นโยบายขององคกร

กระบวนการทํางาน ซอฟตแวร เอกสาร และกลยุทธ เปาหมาย และความสามารถขององคกร

ความรูย่ิงมีลักษณะไมชัดแจงมากเทาไร การโอนความรูย่ิงกระทําไดยากเทานั้น

ดังนั้น บางคนจึงเรียกความรูประเภทนี้วา เปนความรูแบบเหนียว (Sticky Knowledge) หรือความรู

แบบฝงอยูภายใน (Embedded Knowledge) สวนความรูแบบชัดแจงมีการถายโอนและแบงปนงาย

จึงมีช่ืออีกช่ือหนึ่งวา ความรูแบบร่ัวไหลไดงาย (Leaky Knowledge) ความสัมพันธของความรูทั้ง

สองประเภทเปนส่ิงที่แยกจากกันไมได ตองอาศัยซ่ึงกันและกัน (Mutually Constituted) เนื่องจาก

ความรูแบบฝงลึกเปนสวนประกอบของความรูท้ังหมด และสามารถแปลงใหเปนความรูแบบชัด

แจงโดยการส่ือสารดวยคําพูด

Page 34: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

25

(2) ระดับของความรู

สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามยาเสพติด (2552) ไดจําแนก

ระดับของความรูออกเปน 4 ระดับ คือ

ระดับที่ 1 ความรูเชิงทฤษฎี (Know - What) เปนความรูเชิงขอเท็จจริง รูอะไร

เปนอะไร จะพบในผูที่สําเร็จการศึกษามาใหม ๆ ที่มีความรูโดยเฉพาะความรูที่จํามาไดจากความรู

ชัดแจง ซ่ึงไดจากการไดเรียนมาก แตเวลาทํางานก็จะไมมั่นใจมักจะปรึกษารุนพ่ีกอน

ระดับที่ 2 ความรูเชิงทฤษฎีและเชิงบริบท (Know - How) เปนความรู

เช่ือมโยงกับโลกของความเปนจริง ภายใตสภาพความเปนจริงที่ซับซอน สามารถนําเอาความรูชัดแจง

ที่ไดมาประยุกตใชตามบริบทของตนเองได มักพบในคนที่ทํางานไปหลาย ๆ ป จนเกิดความรูฝงลึกที่

เปนทักษะหรือประสบการณมากขึ้น

ระดับที่ 3 ความรูในระดับท่ีอธิบายเหตุผล (Know - Why) เปนความรูเชิง

เหตุผลระหวางเร่ืองราวหรือเหตุการณตาง ๆ ผลของประสบการณแกปญหาที่ซับซอน และนํา

ประสบการณมาแลกเปลี่ยนเรียนรูกับผูอื่น เปนผูทํางานมาระยะหนึ่งแลวเกิดความรูฝงลึก สามารถ

ถอดความรูฝงลึกของตนเองมาแลกเปลี่ยนกับผูอื่นหรือถายทอดใหผูอื่นได พรอมท้ังรับเอาความรู

จากผูอื่นไปปรับใชในบริบทของตนเองได

ระดับที่ 4 ความรูในระดับคุณคา ความเช่ือ (Care - Why) เปนความรูใน

ลักษณะของความคิดริเร่ิม สรางสรรคที่ขับดันมาจากภายในตนเองจะเปนผูที่สามารถสกัด ประมวล

วิเคราะหความรูที่ตนเองมีอยู กับความรูท่ีตนเองไดรับมาสรางเปนองคความรูใหมขึ้นมาได เชน สรางตัว

แบบหรือทฤษฎีใหมหรือ นวัตกรรมขึ้นมาใชในการทํางานได

Bloom et al. (1956 อางถึงใน บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธ์ิ, 2549: 56 - 58) ได

แบงระดับความรู เปน 6 ระดับ ไดแก รูจํา เขาใจ ประยุกต วิเคราะห สังเคราะห และประเมิน

ระดับที่ 1 รู จํา (Knowledge) ไดแก ความสามารถในการจําหรือระลึก

เร่ืองราวที่เคยเรียนรู เคยมีประสบการณมากอน ประกอบดวย

(1) รูจําเพาะเร่ือง เปนการระลึกขอมูลในสวนยอย ๆ ที่เฉพาะเร่ือง

และที่แยกเปนสวนยอยโดด ๆ (Isolable Bits) ได เชน รูจําบุคคล วัน เดือน ป สถานท่ี เหตุการณที่

เกิดขึ้นในอดีต รูจําความหมายของคําศัพท สัญลักษณ เคร่ืองหมาย

(2) รูจําวิถีทางและวิธีดําเนินการเฉพาะเร่ือง เปนการระลึกหรือจํา

ขอมูลที่เกี่ยวกับระเบียบ แบบแผน ประเพณี แนวโนมและลําดับกอนหลัง การแยกประเภท และการ

Page 35: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

26

จัดหมวดหมู เกณฑตัดสินเฉพาะเร่ือง รวมทั้งระลึกหรือจําขอมูลเกี่ยวกับวิธีการ เทคนิค และ

กระบวนการของเร่ืองราวตาง ๆ ได

(3) รูจําเร่ืองสากลและนามธรรม (Universals and Abstracts) เปนการ

ระลึกหรือจําขอมูลเกี่ยวกับหลักการ ขอสรุปทั่วไป ทฤษฎี และโครงสราง

ระดับที่ 2 เขาใจ (Comprehension) ไดแก ความสามารถในการอธิบาย ส่ือ

ความหมาย และขยายความในเร่ืองราวและเหตุการณตาง ๆ ดวยคําพูดหรือเขียนดวยภาษาของ

ตนเองได ประกอบดวย

(1) การแปลความ เปนการใหความหมาย จับใจความใหถูกตองตรง

ตามความเปนจริงของส่ิงหรือเร่ืองราวตาง ๆ ที่ตองการส่ือความหมาย รวมทั้งการแปลใจความของ

ภาษาหนึ่งไปสูอีกภาษาหนึ่งดวย

(2) การตีความ เปนการอธิบายความหมายหรือสรุปเร่ืองราวดวยการ

จัดระเบียบ หรือเรียบเรียงเนื้อหาใหม

(3) การขยายความ เปนการอธิบายความหมายหรือสรุปเร่ืองราวดวย

การจัดระเบียบ หรือเรียบเรียงเนื้อหาใหม

ระดับที่ 3 การประยุกต (Application) เปนความสามารถที่ตองทําความ

เขาใจอยางถองแทในวิธีการ ทฤษฎี หลักการ แนวคิดหรือนามธรรมของเร่ืองนั้น ๆ แลวนําวิธีการ

ทฤษฎี หลักการ แนวคิด หรือนามธรรมของเร่ืองนั้นไปใชในสถานการณใหม ๆ ที่แตกตางจาก

สถานการณเดิมได

ระดับที่ 4 วิเคราะห (Analysis) เปนความสามารถในการแยก แตกเปนช้ิน

สวนยอย ๆ จัดเรียงเปนลําดับของสวนยอย ๆ นั้น ใหเห็นความสําคัญ เห็นความสัมพันธซ่ึงกันและ

กัน ประกอบดวย

(1) การวิเคราะหสวนประกอบ เปนการแยก แตกส่ิงที่ตองการส่ือ

ความหมายใหเปนสวนยอย ๆ ใหเห็นเปนองคประกอบที่จะทําใหเห็นและทําความเขาใจไดงายขึ้น

(2) การวิเคราะหความสัมพันธ เปนการแยก แตกส่ิงที่ตองการส่ือ

ความหมายใหเปนสวนยอย ๆ ที่ประสาน หรือสัมพันธเกี่ยวของกับของสวนยอย ๆ นั้น

(3) การวิเคราะหหลักดําเนินการ เปนการแยก แตกส่ิงที่ตองการส่ือ

ความหมายใหเห็นระบบดําเนินการ หรือจัดการที่รวบรวมสวนยอย ๆ เขาดวยกัน

ระดับที่ 5 สังเคราะห (Synthesis) เปนความสามารถในการรวบรวม ผสม

ผสานสวนยอย ๆ เขาดวยกันใหเปนเร่ืองเดียวกัน ในลักษณะการจัดหรือรวบรวมที่มีแบบแผนหรือ

โครงสรางใหมที่ไมเคยมีมากอน ประกอบดวย

Page 36: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

27

(1) การสังเคราะหขอความ เปนการผูกขอความ หรือเขียนเรียบเรียง

จากความรู ความเขาใจ เพ่ือส่ือความรูและประสบการณใหผูอื่นทราบ

(2) การสังเคราะหแผนงาน เปนการพัฒนาหรือเสนอแผนการทํางาน

รวมถึงเสนอแนวความคิดใหม ๆ ที่เกิดจากความรูและประสบการณจากแหลงตาง ๆ เขาดวยกัน

(3) การสังเคราะหความสัมพันธ เปนการพัฒนาหรือสรางชุด สราง

เครือขายที่แสดงความสัมพันธเกี่ยวของสวนยอย ใหรวมกันเปนเร่ืองหนึ่งเร่ืองเดียว

ระดับที่ 6 ประเมิน (Evaluation) เปนความสามารถในการตัดสินคุณคา

ของส่ิงตาง ๆ ทั้งเนื้อหา และวิธีการ เพ่ือใหสอดคลองกับสถานการณที่เกิดขึ้น ซ่ึงอาจจะกําหนดขึ้น

เองจากความรูและประสบการณ หรืออาศัยแนวความคิดของผูอื่นก็ได ประกอบดวย

(1) การประเมินตามเกณฑภายใน เปนการติดสินคุณคาของส่ิงตาง ๆ

โดยพิจารณาหรืออางอิงจากลักษณะ คุณสมบัติภายในของส่ิงนั้น ๆ เปนหลัก

(2) การประเมินตามเกณฑภายนอก เปนการตัดสินคุณคาของส่ิงตาง ๆ

โดยพิจารณาหรืออางอิงจากลักษณะ คุณสมบัติภายนอกของส่ิงนั้น ๆ เปนหลัก

2.2.1.3 การวัดความรูและผลของการวัด

ศุภกนิตย พลไพรินทร (2540: 24) ไดกลาวถึง การวัดความรูวา การวัดความรูเปน

การวัดระดับความจํา ความสามารถในความคิด เขาใจกับขอเท็จจริงท่ีไดรับการศึกษา และประสบการณ

เดิม โดยผานการทดสอบคุณภาพแลว จะแยกคนที่มีความรูกับไมมีความรูออกจากกันไดระดับหนึ่ง

บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธ์ิ (2549: 59 - 61) อธิบายวา การวัดความรูตองวัด

ความสามารถที่ใหแสดงออกเชิงพฤติกรรมทางสมอง ดวยการใชคําถามที่เปนเนื้อหาไปกระตุนให

ตอบ คําถามจึงเปนส่ิงเรา ซ่ึงเปนเนื้อหาสาระของเร่ืองที่จะถาม เชน อยากรูวา ใครมีความรูเกี่ยวกับ

การทําวิจัยบาง และมีความรูมากนอยเพียงใด จะสรางคําถามความรูเกี่ยวกับการทําวิจัย ไดแก

ขั้นตอน ระเบียบวิธีการทําวิจัย ตัวแปรขอมูล การกําหนดโจทยวิจัย การต้ังสมมติฐาน การทดสอบ

สมมติฐาน เปนตน ไปใหตอบ

คําถามเปนส่ิงเรา นอกจากเปนเร่ืองที่เกี่ยวกับเนื้อหาแลว ยังตองบอกลักษณะหรือ

อาการของความรูในระดับตาง ๆ ไดดวย ซ่ึงการวัดความรูแตละคร้ังจะวัดท้ังระดับความรู ความจํา

ความเขาใจ ประยุกต วิเคราะห สังเคราะห และประเมิน หรือวัดเพียงระดับใดระดับหนึ่ง หรือบาง

ระดับก็ได ขึ้นอยูกับวัตถุประสงคของการวัด แตอยาลืมวา ถาคําถามวัดระดับประเมิน คําถามนี้จะ

วัดทุกระดับรวมอยูดวย ถาวัดประยุกตก็ตองวัด รู จํา และเขาใจ รวมอยูดวยเสมอ

Page 37: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

28

การวัดความรูทําไดหลายวิธี ทั้งใชสังเกต สัมภาษณ และใชแบบวัดสงใหตอบ ซ่ึง

สวนมากในการวัดจะสรางเปนเคร่ืองมือท่ีรูจักกันท่ัวไปวา แบบวัดหรือแบบทดสอบ (Test) ซ่ึงเปนชุด

คําถามที่จัดทําขึ้นไวอยางมีระบบ ระเบียบ เพ่ือวัดความสามารถเชิงพฤติกรรมทางสมองของบุคคล

แบบวัดหรือแบบทดสอบที่วัดความรูมีหลายชนิด หรือหลายประเภท ขึ้นอยูกับ

ลักษณะคําถามที่ใชถาม เมื่อนําแบบวัดไปวัดความรูในเร่ืองใดเร่ืองหนึ่งมา ผลของการวัดที่ไดอยาง

นอยตองไดคําตอบวา

1) มีความรูหรือไมมีความรูในเร่ืองอะไร คือ ตอบถูกในขอคําถามใดบาง ถาวิเคราะห

เปนแตละคน ก็รูวา คนผูนั้นมีความรูในเร่ืองอะไรบาง แตถาวิเคราะหรวมทุกคนที่ตอบ ก็จะรูวา มีกี่คน

ที่มีความรูในขอคําถามนั้น หรือมีจํานวนคนมากนอยเพียงใดที่มีความรูในคําถามขอนั้น

กรณีใชคําถามเปนแบบเลือกตอบชนิดมีตัวเลือกถูกเพียงตัวเดียว และมีตัวเลือกผิด

หลายตัว ผลการวัดยังไดคําตอบเพ่ิมอีกวา ผูตอบเขาใจผิด หรือมีความรูผิดในคําถามขอนั้นอยางไร

ดวย รวมทั้งมีจํานวนคนมากนอยเพียงใดที่เขาใจผิดหรือมีความรูผิด ๆ ในคําถามขอนั้น

2) มีความรูในเร่ืองนั้นมากนอยเพียงใด ความมากนอยของคําถามนี้มีความหมายวา

(1) ขอคําถามนั้นมีคนตอบถูกจํานวนมากนอยเพียงใด คือ วิเคราะหหรือนับทุก

คนรวมกับที่ตอบถูก และอาจคิดเปนรอยละของจํานวนคนท่ีตอบถูก จะทําใหไดความหมายมาก

ย่ิงขึ้น ซ่ึงจะใหความหมายวา มีผูตอบจํานวนรอยละเทาใดที่ตอบคําถามขอนั้นถูก

(2) แตละคนมีความรูในเร่ืองนั้นมากนอยเพียงใด คําตอบ คําถามนี้ ตองใหคะแนน

ตอบถูกให 1 คะแนน และตอบผิดให 0 คะแนน จากนี้รวมคะแนนที่ไดก็จะทราบไดวาแตละคนตอบถูก

กี่ขอ หรือไดคะแนนเทาใด เมื่อเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนเต็ม คิดเปนรอยละ ก็จะไดคําตอบวา คนผู

นั้นมีความรูในเร่ืองนั้นมากนอยเพียงใด

(3) คนกลุมนั้น (โดยเฉลี่ย) มีความรูในเร่ืองนั้นมากนอยเพียงใด เปนการหา

คําตอบตอจากขอ (2) โดยนําคะแนนของทุกคนที่ไดไปหาคะแนนเฉลี่ย (Mean) และเทียบกับ

คะแนนเต็ม ที่นิยมกันจะทําเปนรอยละ ก็ไดคําตอบวา คนกลุมนั้นมีความรูมากนอยเพียงใด

(4) มีคนจํานวนมากนอยเพียงใดที่มีความรูในเร่ืองนั้น เปนการหาคําตอบตอจาก

ขอ (2) โดยนําคะแนนของทุกคนที่ไดไปทําแจกแจงความถี่ และแบงกลุมคะแนนเปนระดับความรู

ซ่ึงตองมีเกณฑในการแบง เกณฑที่ใชแบงคะแนนมีหลายวิธี เชน ใชคะแนนเฉลี่ยบวกลบดวยสวน

เบี่ยงเบนมาตรฐาน หรือใชรอยละของคะแนนเต็ม อาจต้ังเกณฑวา ถาไดคะแนนต้ังแตรอยละ 80.0

จัดเปนกลุม มีระดับความรูดีมาก หรือ เกง ระหวางรอยละ 70.0 – 79.0 จัดเปนกลุมมีระดับความรูดี

ระหวางรอยละ 50.0 - 69.0 จัดเปนกลุมมีระดับความรูปานกลาง และตํ่ากวารอยละ 50.0 จัดเปนกลุมมี

ความรู ระดับความรูไมดีหรือออน

Page 38: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

29

เมื่อต้ังเกณฑในการแบงแลวก็ทําแจกแจงความถี่ของคะแนน หาจํานวนรอยละของ

คนที่ไดคะแนนระดับความรูในแตละกลุมหรือระดับท่ีได ก็จะไดคําตอบวา มีจํานวนคนมากนอย

เพียงใดที่มีความรูในเร่ืองนั้นแตละระดับความรูที่แบง

2.2.2 แนวความคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับทัศนคติ

2.2.2.1 ความหมายทัศนคติ

จิระวัฒน วงศสวัสดิวัฒน (2538:1) ไดสรุปไววา ทัศนคติ เปนสภาวะความพรอม

ทางจิต ซ่ึงเกิดขึ้นจากประสบการณ สภาวะความพรอมนี้จะเปนตัวกําหนดทิศทาง หรือเปนกระตุน

ปฏิกิริยาตอบสนองของบุคคลตอส่ิงตาง ๆ หรือสถานการณที่เกี่ยวของ

จํารอง เงินดี (2545: 368) ใหคําจํากัดความไววา ทัศนคติ คือ ความโนมนาวที่จะ

ตอบสนองตอส่ิงเราชนิดตาง ๆ เชน คน สัตว วัตถุ และสถานการณตาง ๆ เปนตน

เติมศักดิ์ คทวณิช (2546: 312) ใหความหมายของ ทัศนคติ วาเปนความคิดความ

เขาใจที่บุคคลมีตอบุคคล กลุมบุคคล วัตถุส่ิงของ หรือเหตุการณใดเหตุการณหนึ่งที่ไดรับรู จนกอใหเกิด

ความรูสึกพอใจ ไมพอใจ เห็นดวย ไมเห็นดวย และมีแนวโนมที่บุคคลนั้นจะแสดงพฤติกรรมตาม

ความคิดความเขาใจและความรูสึกที่มีอยู

ดังนั้น จึงสรุปไดวา ทัศนคติ หมายถึง ความคิด ความเขาใจ หรือสภาวะความพรอม

ทางจิตที่บุคคลมีตอส่ิงเราตาง ๆ เชน คน สัตว วัตถุ และสถานการณตาง ๆ อันเปนผลมาจาก

ประสบการณความเช่ือ ที่จะสงผลตอการตัดสินใจ อารมณ ทาทีที่แสดงออกมาเปนพฤติกรรมในทางใด

ทางหนึ่ง เชน ทัศนคติตอความปลอดภัยที่เกิดจากประสบการณและการหลอหลอมจากสถาบัน

ครอบครัว สถานประกอบการ ทั้งจากการไดรับความรู มีตอพฤติกรรมความปลอดภัยที่ดีตอไป

2.2.2.2 ความสําคัญ

ทัศนคติคอนขางเปนเร่ืองนามธรรมเพราะเปนส่ิงที่แฝงอยูในตัวบุคคล ซ่ึงเราไม

สามารถจะเห็นรูปรางทัศนคติได ถาจะศึกษาทัศนคติของบุคคลก็สามารถทําไดโดยดูไดจากการ

แสดงพฤติกรรมของผูนั้น โดยใชวิธีการสังเกต สอบถาม สัมภาษณ และทดสอบ นักจิตวิทยามี

ความเห็นวา ทัศนคติเปนพ้ืนฐานอยางหนึ่งในการกําหนดพฤติกรรมของมนุษยจะทําความเขาใจ

เร่ืองพฤติกรรม ไดอยางชัดเจนจะตองศึกษาเร่ืองทัศนคติควบคูไปดวย อาจกลาวไดวา ทัศนคติ เปน

พ้ืนฐานที่แทจริงในการแสดงซ่ึงพฤติกรรมของแตละบุคคล โดยสามารถจําแนกทัศนคติออกเปน 3

ประเภท คือ

Page 39: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

30

1) ทัศนคติทางบวก เปนทัศนคติที่ชักนําใหบุคคลแสดงออก มีความรูสึก หรือ

อารมณจากสภาพจิตใจโตตอบในดานดีตอบุคคลอื่น หรือเร่ืองราวใดเร่ืองราวหนึ่ง รวมท้ังหนวยงาน

องคกร สถาบัน และการดําเนินกิจการขององคการอื่น ๆ เชน กลุมชาวเกษตรกรยอมมีทัศนคติทางบวก

หรือมีความรูสึกที่ดีตอสหกรณการเกษตร และใหความสนับสนุนรวมมือดวย การเขาเปนสมาชิก และ

รวมในกิจกรรมตาง ๆ อยูเสมอ เปนตน

2) ทัศนคติทางลบ หรือไมดี คือ ทัศนคติท่ีสรางความรูสึกเปนไปในทาง

เส่ือมเสีย ไมไดรับความเช่ือถือ หรือไววางใจ อาจมีความเคลือบแคลงระแวงสงสัย รวมทั้งเกลียดชัง

ตอบุคคลในบุคคลหนึ่ง เร่ืองราว หรือปญหาใดปญหาหนึ่ง หรือหนวยงาน องคกร สถาบัน และการ

ดําเนินกิจการขององคกร และอื่น ๆ เชน พนักงานเจาหนาท่ีบางคนอาจมีทัศนคติเชิงลบตอบริษัท

กอใหเกิดอคติขึ้นในจิตใจของเขาจนพยายามประพฤติ และปฏิบัติตอดานกฎระเบียบของบริษัทอยูเสมอ

3) ประเภทที่สาม ซ่ึงเปนประเภทสุดทาย คือ ทัศนคติที่บุคคลไมแสดงความ

คิดเห็นในเร่ืองราวหรือปญหาใดปญหาหนึ่ง หรือตอบุคคล หนวยงาน สถาบัน องคกร และอื่น ๆ โดย

ส้ินเชิง เชน นักศึกษาบางคนอาจมีทัศนคตินิ่งเฉยอยางไมมีความคิดเห็นตอปญหาโตเถียง เร่ือง

กฎระเบียบวาดวย เคร่ืองแบบของนักศึกษา

2.2.2.3 องคประกอบของทัศนคติ

นงลักษณ ไหวพรหม (2552: 34) ไดอธิบายองคประกอบของทัศนคติวามี 3 ดาน คือ

1) ดานความคิดและความเขาใจ (Cognitive Component) หมายถึง ความรู

และความเช่ือที่บุคคลมีตอส่ิงหนึ่งส่ิงใดท่ีไดรับรู ถือวาเปนจุดเร่ิมตนของทัศนคติวาจะเปนไปใน

ทิศทางใด เชน เช่ือวาเดินทางโดยเคร่ืองบินจะปลอดภัยกวาเดินทางโดยรถยนต เปนตน

2) ดานความรูสึก (Affective Component) หมายถึง สภาวะทางอารมณที่

เกิดขึ้นหลังจากมีความคิดและความเขาใจในส่ิงที่รับรูนั้นวาเปนเชนใด

3) ดานพฤติกรรม (Behavior Component) หมายถึง แนวโนมท่ีบุคคลจะ

แสดงพฤติกรรมสนองตอบส่ิงใดส่ิงหนึ่ง โดยจะเปนไปในทิศทางใดนั้น ขึ้นอยูกับความคิด ความ

เขาใจ และความรูสึกที่บุคคลมีตอส่ิงนั้น เชน หากคิดวาธรรมชาติและส่ิงแวดลอมมีความสําคัญตอ

มนุษย ก็จะรูสึกดื่มด่ํากับธรรมชาติและส่ิงแวดลอม สงผลใหมีพฤติกรรมในการปกปองรักษาและ

อนุรักษธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เปนตน

2.2.2.4 ปจจัยของการเกิดทัศนคติ

1) วัฒนธรรม (Culture) แตละสังคมจะมีวัฒนธรรมเปนตัวกําหนดแบบ

แผนเพ่ือใชในการดําเนินชีวิตของคนในสังคม ดังนั้น วัฒนธรรมจึงมีอิทธิพลตอความคิด ความเช่ือ

และความรูสึกของคนในสังคมอยางมาก ดวยเหตุนี้ คนในสังคมเดียวกันจึงมักจะแสดงพฤติกรรม

Page 40: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

31

ออกมาในแนวทางเดียวกัน เชน คนอเมริกันบางรัฐจะมีวัฒนธรรมในการรังเกียจสีผิว จึงมีผลทําให

คนในรัฐนั้นมีทัศนคติที่ไมดีตอคนผิวเหลืองและผิวดํา พฤติกรรมที่แสดงออกมาจึงมักจะลอบ

ทําลายทรัพยสินและทํารายรางกายคนตางผิวอยูเสมอ เปนตน

2) ครอบครัว (Family) เปนสถาบันทางสังคมแหงแรกที่มีอิทธิพลตอ

ทัศนคติของบุคคลเปนอยางมาก ทั้งนี้ เนื่องจากเด็กมักจะมีแนวความคิดและความเช่ือท่ีคลอยตาม

คําอบรมส่ังสอนของพอแม ดังนั้น ทัศนคติตอส่ิงใดส่ิงหนึ่งที่ไดรับการปลูกฝงจากครอบครัวมาแลว

จึงมักจะเปลี่ยนแปลงไดอยาก ดวยเหตุนี้ จึงพบวา ทัศนคติของพอแมกับลูกจึงมีความคลายคลึงกัน

มาก เชน พอแมมีความเช่ือทางศาสนาอยางเครงครัด ลูกมักจะเครงครัดตอศาสนาไปดวย

3) ประสบการณ (Experience) ที่บุคคลไดรับจะมีสวนสําคัญตอการเกิด

ทัศนคติของบุคคลตอส่ิงใดส่ิงหนึ่งได ทั้งในทางบวกและทางลบ รวมไปถึงการเปลี่ยนแปลง

ทัศนคติที่มีอยูเติมดวย เชน คนปวยที่มีประสบการณจากการถูกพยาบาลตวาดบอย ๆ จะมีทัศนคติที่

ไมดีตอบางพยาบาลหรือโรงพยาบาล เด็กอนุบาลจะมีทัศนคติท่ีดีตอครู เพราะมีประสบการณวาครู

ใจดี สวย พูดเพราะ เปนตน

4) อิทธิพลของกลุมทางสังคม (Social Group) ไดแก กลุมเพ่ือนสนิท เพ่ือน

รวมงาน กลุมดังกลาวจะมีอิทธิพลตอการเกิดทัศนคติไปทิศทางหนึ่งทิศทางใดไดงาย โดยเฉพาะในเด็ก

วัยรุน ทั้งนี้เนื่องจากความเปนเพ่ือนยอมทําใหเกิดความใกลชิดสนิทสนม โดยเฉพาะเพ่ือนที่มีอายุรุนราว

คราวเดียวกันดวยแลวมักจะมีความคิดเห็นที่คลอยตามกันไดงาย

5) ส่ือมวลชน (Mass Communications) ไดแก หนังสือพิมพ วิทยุ โทรทัศน

ภาพยนตร แมกระทั่งอินเตอรเน็ต (Internet) เหลานี้จะมีบทบาทสําคัญตอการชักจูงใหบุคคลเกิด

ทัศนคติตอส่ิงใดส่ิงหนึ่งไปในทิศทางใดก็ได ท้ังนี้ เนื่องจากส่ือมวลชนทั้งหลายจะทําหนาที่ปอน

ขอมูลขาวสาร รวมทั้งแสดงความคิดเห็นตอบุคคลและเหตุการณท่ีเกิดขึ้นในสังคมอยูตลอดเวลา

ดังนั้น ผูบริโภคขาวสารจึงมักถูกโนมนาวความคิดจากส่ือมลชนไดงาย ถาบุคคลผูรับขาวสารขาด

วิจารณญาณในการรับรูขอมูลที่ดีพอ

2.2.2.5 หนาที่และประโยชนของทัศนคติ (Function of Attitude)

Smitch and Katt (1988 อางถึงใน จิระวัฒน วงศสวัสดิวัฒน, 2538: 1) ไดกลาวถึง

หนาที่และประโยชนของทัศนคติไวคลาย ๆ กันวา มี 4 อยาง ดังนี้

1) หนาที่ใหความเขาใจ (Understanding of Knowledge Function) ทัศนคติ

หลายอยางชวยใหเขาใจโลกและสภาพแวดลอม ไดเรียนรูและเขาใจการกระทําของบุคคลในสังคม

สามารถอธิบายและคาดคะเนการกระทําของตนเองและบุคคลอื่น

Page 41: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

32

2) หนาที่ปองกันตนเอง (Ego - Defence or Their Self - Esteem) บอยคร้ัง

ที่บุคคลจําเปนตองหาทางออกใหกับตัวเอง เพ่ือความสบายใจ เปนตนวา คนท่ีชอบพูดวาคนอื่น ๆ

ตรง ๆ ก็จะหาทางออกปกปองตนเองวา การที่คนทําเชนนั้นก็เพราะวา มีความจริงใจกับเพ่ือนฝูง

3) หนาที่ในการปรับตัว (Adjustive Function of Need Satisfaction) ทัศนคติ

จะชวยบุคคลในดานการปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอมและสังคม โดยปกติบุคคลมักจะคํานึงถึง

ผลประโยชนที่จะไดรับเปนสําคัญ และจะพัฒนาทัศนคติตามแนวทางที่คาดวาจะสนองตอบความตองการ

ของคนได เชน คนหันมาชอบการศึกษาเลาเรียน เพราะเช่ือวาการศึกษาสูงจะชวยใหมีชีวิตที่ดีขึ้น

4) หนาที่แสดงออกซ่ึงคานิยม (Value Expression) ทัศนคติชวยใหบุคคลได

แสดงออกซ่ึงคานิยมของตนเอง ตัวอยาง คนที่มีความซ่ือสัตยมากที่จะแสดงออกโดยการไมชอบพวกฉอ

ราษฎรบังหลวง

2.2.2.6 การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ (Attitude Change)

ทัศนคติเปนส่ิงที่สามารถเปลี่ยนแปลง แตตองอาศัยเวลาพอสมควรท่ีจะเปลี่ยนแปลง

ทัศนคติของบุคคล นักจิตวิทยาไดเสนอวิธีการเปลี่ยนทัศนคติท่ีมีผลตอพฤติกรรมท่ีไมพึงประสงคตอ

สังคม ไวดังนี้ (เติมศักดิ์ คทวณิช, 2546: 315)

1) การชักจูง (Persuasion) ชักชวน หรือเกลี้ยกลอม ทัศนคติหลายอยางใน

ตัวบุคคลอาจเกิดการเปลี่ยนแปลงไดภายหลังจากไดรับการอธิบาย ใหเหตุผล และช้ีแนะ โดยเฉพาะ

ถาบุคคลนั้นเปนที่ไววางใจหรือไดรับความศรัทธาและเช่ือถือ ย่ิงถาทั้งสองฝายสามารถที่จะแสดง

ความคิดเห็นซ่ึงกันและกันไดอยางอิสระดวยแลว ย่ิงจะไดรับความสําเร็จในการเปลี่ยนทัศนคติ

มากกวาการไดรับฟงเพียงอยางเดียว

2) การเปลี่ยนกลุม (Group Change) อิทธิพลจากความคิดของกลุมหรือ

สังคมจะทําใหบุคคลในกลุมเกิดการคลอยตามไดงาย ดังนั้น ถาตองการเปลี่ยนแปลงทัศนคติของ

บุคคลเปนรูปแบบใด อาจทําไดโดยใหบุคคลนั้นยายเขาไปอยูในกลุมที่มีทัศนคติตามรูปแบบนั้น เชน

ถาตองการใหเลิกอบายมุขก็ใหยายไปเขากลุมผูปฎิบัติธรรม เปนตน

3) ลางสมอง (Brain Washing) เปนวิธีการลบลางความเช่ือเกาเพ่ือสรางความ

เช่ือใหมขึ้นแทนดวยวิธีการตาง ๆ โดยท่ัวไปมักจะเปนการใหขอมูลดานดีกับเร่ืองท่ีตองการจะเปลี่ยน

ทัศนคติ ขณะเดียวกันก็ใหขอมูลทางลบกับส่ิงท่ีเปนทัศนคติเดิม วิธีการเปลี่ยนทัศนคติดวยวิธีการลาง

สมองนี้ โดยทั่วไปผูนําประเภทเผด็จการมักนิยมนํามาใชกับประชาชนที่ตนปกครองอยู

4) การโฆษณาชวนเช่ือ (Propaganda) เปนการเปลี่ยนแปลงทัศนคติอีกวิธีหนึ่ง

โดยใชการชักชวนใหบุคคลหรือกลุมบุคคลหันมาใหความสนใจหรือเปลี่ยนความคิดและความเช่ือใน

ส่ิงที่ตนตองการ โดยทั่วไปมักนิยมใชส่ือมวลชนเปนเคร่ืองมือในการชวนเช่ือ ซ่ึงเปนวิธีที่ไดผลดี

Page 42: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

33

มากกวาวิธีอื่น ทั้งนี้ เนื่องจากส่ือมวลชนสามารถเผยแพรขอมูลขาวสารท่ีตองการนําเสนอไปไดอยาง

กวางขวางและทั่วถึง อีกทั้งยังสามารถกําหนดความถี่เพ่ือยํ้าส่ิงที่เปนเปาหมายในการชวนเช่ือไดตาม

ความประสงค นอกจากนี้ ยังเปนวิธีที่สามารถใชไดดีกับกลุมชนจํานวนมาก ๆ อีกดวย ดังนั้น จึงมักจะ

พบวา ผูปกครองสวนใหญถาตองการเปลี่ยนความคิดทางการเมืองหรือตองการใหประชาชน

สนับสนุนตนแลว มักจะใชการโฆษณาชวนเช่ือเปนเคร่ืองมือสําคัญ

5) การใหประสบการณ (Experience) การใหประสบการณโดยตรงกับบุคคล

ในเร่ืองที่ประสงคจะใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทัศนคตินั้น นับวาเปนวิธีการอีกวิธีหนึ่งที่สามารถสราง

ทัศนคติใหมใหกับบุคคลขึ้นได เชน ถาตองการใหเกิดการเปลี่ยนทัศนคติของผูที่นิยมสูบบุหร่ีทั้งหลาย

ที่มีตอการสูบบุหร่ี ก็ใหไปเห็นบุคคลที่ปวยเปนโรคตาง ๆที่เกิดจากการสูบบุหร่ี เปนตน

2.2.3 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรม

2.2.3.1 ความหมายของพฤติกรรม

เจริญจิต ลีภัทรพณิชย (2545: 12) ไดใหความหมายคําวา พฤติกรรม หมายถึง การ

ปฏิบัติหรือการกระทําที่มนุษยแสดงออกมา โดยมีความรู ความเขาใจ เจตคติ และการปฏิบัติ เปนตัว

กอใหบุคคลนั้นแสดงพฤติกรรมออกมา อาจเปนพฤติกรรมที่ถูกหรือผิดก็ได ทั้งนี้ พฤติกรรม

ดังกลาวแบงเปนพฤติกรรมที่สังเกตไดและพฤติกรรมที่สังเกตไมได

พิภัทร แสงสินธุศร (2550: 6) ไดใหความหมายของคําวา พฤติกรรม หมายถึง การ

กระทําหรือกิจกรรมใด ๆ ของมนุษยที่ตอบสนองตอส่ิงกระตุนตาง ๆ ทั้งที่สังเกตได คือ พฤติกรรม

ที่แสดงออก และสังเกตไมได คือ พฤติกรรมที่เกิดขึ้นภายใน

วลัยพร สกุลพอง (2551: 10) ไดใหความหมายไววา พฤติกรรม หมายถึง การกระทํา

หรือกิจกรรมของอินทรีย ทั้งที่สังเกตไดงาย เชน การนั่ง การเลน การพูด การยกมือ และที่สังเกตไดยาก

หรือสวนที่เจาของพฤติกรรมเองเทานั้นที่รู เชน การคิด การจํา การรับรู และความรูสึก เปนตน

จิราพร เพชรดํา และคณะ (2554: 7) ไดใหความหมาย พฤติกรรม หมายถึง การกระทํา

หรืออาการที่แสดงออกของจิตใจทั้งภายในและภายนอก เปนการกระทําเพ่ือสนองความตองการของ

บุคคล ซ่ึงบุคคลอื่นสังเกตและใชเคร่ืองมือทดสอบได

รุงกิจ บูรณเจริญ (2554: 19) ไดใหความหมาย พฤติกรรม คือ การแสดงออก ซ่ึงการ

กระทําของมนุษยที่สังเกตเห็นไดจากภายนอก มีรากฐานจากความรู ความเช่ือ ทัศนคติสวนบุคคล โดย

พฤติกรรมที่แสดงออกจะถูกควบคุม ส่ังการดวยระบบจารีตขนบธรรมเนียมประเพณี กฎระเบียบ และ

ขอบังคับตาง ๆ

Page 43: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

34

จากความหมายตาง ๆ ของพฤติกรรมท่ีนํามากลาวไวขางตน สามารถสรุปไดวา

พฤติกรรม หมายถึง กิริยาอาการที่ส่ิงมีชีวิตแสดงออกมาเพ่ือตอบสนองตอส่ิงเราที่มากระตุน ทั้งส่ิง

เราภายในและส่ิงเราภายนอก ซ่ึงรวมถึงการกระทําที่สังเกตไดและสังเกตไมได

เมื่อไดรับการเรียนรูในเร่ืองตาง ๆ อาจทําใหพฤติกรรมของมนุษยมีการเปลี่ยนแปลง

ไปในทาง ที่ดี และพฤติกรรมในการจัดการขยะในครัวเรือนของประชาชนก็เชนกัน ประชาชนแตละ

ครัวเรือน อาจมีพฤติกรรมและมีวิธีปฏิบัติในการจัดการขยะที่แตกตางกัน ทั้งดานพฤติกรรมในการ

เลือกใชสินคาที่เปนมิตรตอส่ิงแวดลอม พฤติกรรมการจัดการขยะอยางถูกวิธีจะเปนการชวยรักษา

สภาพแวดลอมอยางย่ังยืน

2.2.3.2 องคประกอบของพฤติกรรม

Cronbach (1951 อางถึงใน บุษกร ชีวะธรรมานนท, 2552: 20) ไดอธิบายวา พฤติกรรม

มนุษย มีองคประกอบ 7 ประการ ไดแก

1) ความมุงหมาย (Goal) เปนความตองการหรือวัตถุประสงคท่ีทําใหเกิด

กิจกรรม คนตองทํากิจกรรมเพ่ือสนองความตองการท่ีเกิดขึ้น กิจกรรมบางอยางก็ใหความพอใจ

หรือสนองความตองการไดทันที แตความตองการหรือวัตถุประสงคบางอยางก็ใชเวลานานจึงจะ

สามารถบรรลุผลสมความตองการที่หางออกไปภายหลัง

2) ความพรอม (Readiness) เปนระดับวุฒิภาวะหรือความสามารถที่จําเปน

ในการทํากิจกรรม เพ่ือตอบสนองความตองการ คนเราไมสามารถสนองความตองการไดหมดทุก

อยาง ความตองการบางอยางอยูนอกเหนือความสามารถของเขา

3) สถานการณ (Situation) เปนเหตุการณที่เปดโอกาสใหเลือกทํากิจกรรม

เพ่ือสนองความตองการ

4) การแปลความหมาย (Interpretation) กอนที่คนเราจะทํากิจกรรมใดกิจกรรม

หนึ่งลงไป เขาจะตองพิจารณาสถานการณเสียกอนแลวตัดสินใจเลือกวิธีที่คาดวาจะไดรับความพอใจมาก

ที่สุด

5) การตอบสนอง (Response) เปนการทํากิจกรรมเพ่ือสนองความตองการ

โดยวิธีการที่ไดเลือกแลวในขั้นการแปลความหมาย

6) ผลที่ไดรับหรือผลที่ตามมา (Consequence) เมื่อทํากิจกรรมแลวยอมไดรับ

ผลการกระทํานั้น ผลที่ไดรับอาจจะตามที่คาดคิดไว (Confirm) หรืออาจตรงกันขามกับความ

คาดหมาย (Contradict) ก็ได

Page 44: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

35

7) ปฏิกิริยาตอความคาดหวัง หากคนเราไมสามารถสนองความตองการ

ไดก็กลาวไดวาเขาประสบกับความผิดหวัง ในกรณีเชนนี้เขาอาจจะยอนกลับไปแปลความหมายของ

สถานะเสียใหมและเลือกวิธีการตอบสนองใหมก็ได

2.2.3.3 ประเภทของพฤติกรรม

พฤติกรรมแบงออกเปน 2 ประเภท คือ พฤติกรรมภายนอกและพฤติกรรมภายใน ดังนี้

(วลัยพร สกุลพอง, 2551: 11)

1) พฤติกรรมภายนอกหรือพฤติกรรมชัดแจง (Molar Behavior) เปนพฤติกรรม

ที่ไมสามารถมองเห็น สังเกตเห็นไดจากภายนอกมี 2 ลักษณะ คือ

(1) พฤติกรรมแบบโมลาร (Molar Behavior) เปนพฤติกรรม

หนวยใหญที่สุดที่สังเกตเห็นไดดวยตาเปลาโดยไมตองอาศัยเคร่ืองมือวัดและตรวจสอบ เชน การ

เคลื่อนไหวของรางกาย การเดิน การยืน การนั่ง เปนตน

(2) พฤติกรรมโมเลกุล (Molecular Behavior) เปนพฤติกรรม

หนวยยอยที่ตองอาศัยเคร่ืองมือในการสังเกต เชน การเปลี่ยนแปลงของรางกาย การหมุนเวียนของ

โลหิต การเตนของหัวใจ ความดันโลหิต กระแสประสาทในสมอง เปนตน

2) พฤติกรรมภายในหรือพฤติกรรมกํากับ (Cover Behavior) เปนพฤติกรรมที่

ไมสามารถมองเห็นชัดดวยตา แตจําเปนตองใชเคร่ืองมือวัดและตรวจสอบ พฤติกรรมภายใน มีดังนี้

(1) ความรูสึก (Feeling) หมายถึง การตอบสนองตอส่ิงเราดวย

อวัยวะสัมผัสทั้ง 5 สวน หรือสวนใดสวนหนึ่ง ซ่ึงไดแก ตา หู จมูก ลิ้น ผิวหนัง เชน การที่ลิ้นสัมผัส

รสหวาน หรือการไดเห็นแสงสวาง ไดกลิ่นหอม เปนตน

(2) การรับรู (Perceiving) หมายถึง การแปลความหมายหรือการ

ตีความที่ไดจากการสัมผัส

(3) การจํา (Remembering) หมายถึง ความสามารถในการสะสมส่ิง

เรา หรือประสบการณที่เคยผานเขามาแลวเก็บเปนภาพไวได และสามารถที่นําออกมาใชไดทุกคร้ัง

(4) การคิด (Thinking) และการตัดสินใจ (Decision Making)

หมายถึง การรวบรวมขอมูลหรือส่ิงเราตาง ๆ และวิเคราะหหาสาเหตุและพิจารณา ตัดสินใจ

2.2.3.4 วิธีการศึกษาพฤติกรรม

วิธีการศึกษาพฤติกรรม คือ การนํามาใชเพ่ือแสวงหาความรู (Knowledge) ตาง ๆ

เกี่ยวกับพฤติกรรมวา มนุษยมีพฤติกรรมอะไรบางและทําไมจึงมีพฤติกรรมเชนนั้น นอกจากนี้ ยัง

พยายามคาดการณหรือทํานายความตองการของมนุษยและพฤติกรรมที่อาจเกิดขึ้น โดยมีจุดมุงหมาย

เพ่ือใหเกิดประโยชนสูงสุดตอบุคคลและสังคมสวนรวม ซ่ึงวิชาใด ๆ ที่มีความเปนศาสตรนั้น ลวน

Page 45: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

36

แลวแตนําวิธีการทางวิทยาศาสตรมาใชในการแสวงหาขอความรูท้ังส้ิน วิธีนี้ประกอบดวย 5 ขั้นตอน

คือ (วลัยพร สกุลพอง, 2551: 12)

1. การกําหนดปญหา

2. การต้ังสมมติฐาน

3. การรวบรวมขอมูล

4. การวิเคราะหขอมูล

5. การสรุปผล

2.2.3.5 ความสัมพันธระหวางความรูและพฤติกรรม

Bloom (1951 อางถึงใน ธีระ กุลสวัสดิ์, 2544: 18) ไดกลาวถึงพฤติกรรมและความสัมพันธ

ระหวาง พฤติกรรม เจตคติ และการปฏิบัติวา เปนกิจกรรมทุกประเภทที่มนุษยกระทํา อาจเปนส่ิงที่มนุษย

สังเกตไดหรือไมได และพฤติกรรมดังกลาวนี้ไดแบงออกเปน 3 สวน คือ

1) พฤติกรรมดานความรู (Cognitive Domain) พฤติกรรมดานนี้มีขั้นตอน

ของความสามารถทางดานความรู การใหความคิด และการพัฒนาทางดานสติปญญา จําแนกตามลําดับ

ช้ันจากงายไปหายากได ดังนี้

(1) ความรู (Knowledge) หมายถึง พฤติกรรมที่เกี่ยวกับความรู

ความจําระลึกไดโดยรวมจากประสบการณตาง ๆ ที่เคยไดรับรูมา

(2) ความเขาใจ (Comprehension) หมายถึง ความสามารถในการ

แปลความหมาย ตีความหมาย คาดคะเน และขยายความในเร่ืองราวและเหตุการณตาง ๆ

(3) การนําไปใช (Application) หมายถึง การนําวิธีการ ทฤษฎี หลักการ

กฎเกณฑตาง ๆไปใชเพ่ือแกปญหา โดยการประยุกตใชใหเหมาะสมกับสถานการณใหมหรือสถานการณจริง

(4) การวิเคราะห (Analysis) หมายถึง ความสามารถในการพิจารณา

จําแนกขอมูลหรือเร่ืองราวที่สมบูรณออกเปนสวนยอย ๆ ได และมองเห็นความสัมพันธของ

สวนประกอบตาง ๆ เหลานั้น รวมทั้งมองหลักการท่ีสวนประกอบยอยนั้นจะมารวมกันและเกิดปญหา

หรือสถานการณอยางใดอยางหนึ่ง

(5) การสังเคราะห (Synthesis) หมายถึง ความสามารถในการ

รวบรวมขอมูลที่เปนสวนยอย ๆ เขามารวมกันเปนสวนหนึ่งที่มีโครงสรางใหม ๆ ซ่ึงมีความชัดเจน

และมีคุณภาพ

(6) การประเมินผล (Evaluation) หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับ

คุณคาของความคิด วิธีการ แนวทาง และมาตรฐานตาง ๆ ที่ถูกนํามาใชเพ่ือการตัดสินใจ ประเมินคา

เปนความสามารถในการวินิจฉัย

Page 46: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

37

2) พฤติกรรมดานทัศนคติ (Affective Domain) พฤติกรรมดานนี้ หมายถึง

ความสนใจ ความรูสึก ทาที ความชอบในการใหคุณคา หรือปรับปรุงคานิยมที่ยึดถือเปนพฤติกรรม

ที่ยากแกการอธิบาย เพราะเปนส่ิงที่เกิดขึ้นภายในจิตใจของคน การเกิดพฤติกรรมดานเจตคติ แบง

ขั้นตอน ดังนี้

(1) การรับหรือการใหความสนใจ (Receiving of Attending) เปน

ขั้นที่บุคคลถูกกระตุนใหทราบวา เหตุการณหรือส่ิงเราบางอยางเกิดขึ้น และบุคคลนั้นมีความยินดี

หรือมีภาวะจิตใจพรอมที่จะรับหรือใหความพอใจตอส่ิงเรานั้น ในการยอมรับนี้ ประกอบดวย ความ

ตระหนักความยินดีที่ควรจะรับและเลือกรับ

(2) การตอบสนอง (Responding) เปนขั้นตอนที่บุคคลถูกจูงใจให

เกิดความรูสึกผูกมัดตอส่ิงเรา เปนเหตุใหบุคคลพยายามทําใหเกิดปฏิกิริยาตอบสนอง พฤติกรรมขั้น

นี้ ประกอบดวย การยินยอม ความเต็มใจ และพอใจท่ีจะตอบสนอง

(3) การใหคานิยม (Valuing) เปนขั้นที่บุคคลมีปฏิกิริยา ซ่ึงแสดง

ใหเห็นวาบุคคลนั้นยอมรับวาเปนส่ิงที่มีคุณคาสําหรับตนเองและไดนําไปพัฒนาเปนตนอยางแทจริง

พฤติกรรมขั้นนี้สวนมากใช คําวา “คานิยม” ซ่ึงการเกิดคานิยมนี้ ประกอบดวย การยอมรับ

ความชอบ และผูกมัดคานิยมเขากับตนเอง

(4) การจัดกลุมคํา (Organization) เปนขั้นที่บุคคลจัดระบบของ

คานิยมตาง ๆ ใหเขากัน โดยพิจารณาถึงความสัมพันธระหวางคานิยมเหลานี้ การจัดกลุมนี้

ประกอบดวยการสรางแนวคิดเกี่ยวกับคานิยม และจัดระบบของคานิยม

(5) การแสดงลักษณะตามคานิยมท่ียึดถือ (Characterization by Value

Complex) พฤติกรรมขั้นนี้ถือวา บุคคลมีคานิยมหลายชนิด และจัดอันดับของคานิยมเหลานั้นจากดี

ที่สุดไปถึงนอยที่สุด และพฤติกรรมเหลานี้จะเปนตัวคอยควบคุมพฤติกรรมของบุคคล พฤติกรรม

ในขั้นนี้ ประกอบดวย การวางแนวทางของการปฏิบัติ และการแสดงลักษณะที่จะปฏิบัติตามทางที่

เขากําหนด (Krathwohl, 1951 อางถึงใน อารยา มะเขือเทศ, 2550: 53)

3) พฤติกรรมดานการปฏิบัติ (Psychomotor Domain) เปนพฤติกรรมที่ใช

ความสามารถในการแสดงออกของรางกาย ซ่ึงรวมถึงการปฏิบัติที่อาจแสดงออกในสถานการณ

หนึ่ง ๆ หรืออาจเปนพฤติกรรมที่คาดคะเนวาอาจจะปฏิบัติในโอกาสตอไป พฤติกรรมดานนี้เปน

พฤติกรรมขั้นตอนสุดทาย ซ่ึงตองอาศัยดานพุทธิปญญาหรือเปนพฤติกรรมที่สามารถประเมินผลได

งาย แตกระบวนการที่กอใหเกิดพฤติกรรมนี้ตองอาศัยเวลาและการตัดสินใจในหลายขั้นตอน

(Bloom, 1951 อางถึงใน ธีระ กุลสวัสดิ์, 2544: 18)

Page 47: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

38

2.3 ความรูท่ัวไปเก่ียวกับโรคจากการทํางาน

2.3.1 โรคจากการทํางาน

โรคจากการทํางานหรือโรคจากการประกอบอาชีพ หมายถึง โรคหรือความเจ็บปวยใด ๆ ที่เกิด

ขึ้นกับผูปฏิบัติงาน โดยมีสาเหตุจากการทํางานหรืออยูในบรรยากาศของการทํางานที่เปนพิษภัย

โรคจากการทํางาน มีสาเหตุจากส่ิงคุกคามสุขภาพอนามัยท่ีมีอยูในส่ิงแวดลอมการทํางาน

แบงออกเปน 3 ประเภทใหญ ๆ คือ

2.3.1.1 โรคที่เกิดจากส่ิงคุกคามสุขภาพทางกายภาพ หมายถึง โรคที่เกิดจากส่ิง

คุกคามหรือตัวเหตุที่ทําใหเกิดโรค ไดแก ความรอน ความเย็น แสง เสียง กัมมันตภาพรังสี ความ

ส่ันสะเทือน และความกดดันของอากาศที่ไมเหมาะสม เปนตน

1) ความรอน คนงานที่ทํางานสัมผัสกับความรอนสูง เชน ในโรงงานหลอม

โลหะ ทําแกว เคร่ืองปนดินเผา เปนตน จะทําใหรางกายสูญเสียเกลือแรออกมาพรอมกับเหง่ือ ทําให

ออนเพลีย เหนื่อยงาย ถาสัมผัสเปนเวลานาน ๆ รางกายจะไมสามารถปรับอุณหภูมิสูสภาพปกติได

อุณหภูมิในรางกายสูงขึ้น การทํางานของระบบหัวใจ และการเผาผลาญอาหารเพ่ิมสูงขึ้น การทํางานของ

ไตลมเหลว หมดสติ อาจถึงแกความตายได

2) ความเย็น สภาพแวดลอมท่ีเย็นจัด จะทําใหเกิดโรคและความพิการได

เชน โรค Immersion Foot หรือ Frostbite เปนตน จะมีอาการบวม ปวดตามบริเวณท่ีถูกความเย็น

เลือดไหลเวียนมานอย ซีดอาจเกิดเนื้อตาย อาชีพที่เกี่ยวของ ไดแก ผูทํางานในอุตสาหกรรมหองเย็น

ทําน้ําแข็ง ทําเบียร เปนตน

3) แสง แสงสวางที่นอยเกินไป จะทําใหเกิดอาการเมื่อยตา แสบตา มีน้ําตา

ไหล ปวดศรีษะ และอาจมีอาการอื่น ๆ รวมดวย แสงสวางท่ีจา เชน แสงสวางจากดวงอาทิตย การ

เช่ือมโลหะ ดวงไฟที่สวางจามาก ๆ รังสีเลเซอร เปนตน อาจจะกอใหเกิดอาการตาบอดในบางสวน

ของจอรับภาพในดวงตา คือ มองไดไมชัดเจน มีบางบริเวณมืด หรือมัว หรืออาจจะมองไมเห็นอะไร

เลย นอกจากนี้ แสงจากการเช่ือมโลหะ อาจทําใหเกิดตอกระจกได

4) เสียงดัง คนงานท่ีตองทํางานในโรงงานอุตสาหกรรม ท่ีมีเสียงดังเปน

ระยะเวลานาน เชน โรงงานทอผา ทอกระสอบ ผลิตแกว ชางตีเหล็ก จะกอใหเกิดอาการหูหนวก

เนื่องจากอวัยวะรับฟงเสียงในหูช้ันในถูกทําลาย นอกจากนี้ ยังทําใหเกิดความหงุดหงิด ปวดศรีษะ

และรบกวนตอการติดตอหรือส่ังงาน ซ่ึงอาจกอใหเกิดอุบัติเหตุในการทํางานได

Page 48: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

39

5) กัมมันตภาพรังสี อันตรายที่มีตอรางกาย เชน เซลลเม็ดเลือดขาวถูกทําลาย

เกิดเปนมะเร็งที่ผิวหนัง ทําใหเปนหมัน เด็กทารกพิการ เปนตน อาชีพที่เกี่ยวของ ไดแก ผูทํางาน

เกี่ยวของกับเคร่ืองเอ็กซเรยในโรงพยาบาล หรือผูทํางานเกี่ยวของกับปรมาณู เปนตน

6) พลังงานท่ีเกิดจากแมเหล็กไฟฟา เชน แสงไมโครเวฟและอินฟราเรด

ทําใหเกิดโรคตอกระจก แสงอุลตราไวโอเลท อาจเกิดทําใหเกิดโรคผิวหนังอักแสบ มีสีคล้ํา หรือ

โรคตาบางชนิด อาชีพที่อาจเปนโรคนี้ เชน กะลาสีเรือ คนงานสรางถนน ชางเช่ือมโลหะ คนงานเปา

แกว คนงานหลอมโลหะ เปนตน

7) ความส่ันสะเทือน ทําใหเกิดโรค พบไดในคนงานเจาะหิน เจาะถนน

ขัดพ้ืน เลื่อยไมโดยใชเคร่ืองจักร คนตอกหมุด เปนตน ความส่ันสะเทือน จะทําใหอันตรายตอขอตอ

เย่ือบุของประสาทกลามเนื้อ เสนเอ็น และหลอดเลือด ทําใหเกิดโรคและความพิการได

8) ความกดดันของบรรยากาศ ทําใหเกิดโรค Decompression Illness หรือ

Caisson Disease ซ่ึงเกิดขึ้นกับคนงานที่ทํางานในสภาวะที่มีความกดดันอากาศเปลี่ยนแปลงไปจากปกติ

อยางรวดเร็ว เชน นักประดาน้ํา นักสํารวจใตน้ํา นักบิน คนงานในอุโมงคลึก ๆ เปนตน ถาตองทํางาน

เปนเวลานาน ๆ ก็จะทําใหปริมาณของกาซไนโตรเจนในอากาศละลายลงสูเสนเลือดไดมาก และเมื่อ

คนงานตองกลับสูสภาพความดันอากาศปกติโดยฉับพลัน ทําใหเกิดฟองกาซไนโตรเจนผุดขึ้นในกระแส

เลือดดวยความเร็ว อาจมีอาการปวดตามขอตาง ๆ ถาฟองกาซนั้นไปอุดตันเสนเลือดท่ีไปเลี้ยงอวัยวะที่

สําคัญ เชน ที่สมอง หัวใจ ก็จะเปนอันตรายถึงแกความตายได

2.3.1.2 โรคที่เกิดจากส่ิงคุกคามสุขภาพทางเคมี หมายถึง โรคที่เกิดจากส่ิงคุกคาม

หรือตัวเหตุ ไดแก สารเคมีตาง ๆ ที่ใชหรือเกิดจากกระบวนการทํางาน โดยสารเคมีเหลานี้อาจอยูใน

รูปตาง ๆ เชน สารละลาย ของแข็ง กาซหรือฝุนละออง ตลอดจนไอระเหยของสารเคมีตาง ๆ เชน

1) สารที่ทําใหเกิดสารละคายเคือง จะมีฤทธ์ิกัดกรอน และถาสัมผัสกับรางกาย

จะทําใหเกิดการอักแสบของผิวหนัง บริเวณท่ีสัมผัสเกิดการระคายเคืองในระบบทางเดินหายใจ สารเคมี

ดังกลาว ไดแก กาซคลอรีน โบรมีน โอโซน ไนโตรเจนออกไซด ฟอสจีน เปนตน

2) สารที่ทําใหหมดสติ เปนสารท่ีมีความสามารถในการขัดขวางไมใหเนื้อเย่ือ

ของรางกายไดรับออกซิเจน เชน คารบอนไดออกไซด ไฮโดรเจน ฮีเลียม ไนโตนเจน มีเธน ไฮโดรเจน

ซัลไฟด เปนตน

3) ยาสลบและสารท่ีทําใหมึนเมา สารพวกนี้จะทําปฎิกิริยากับรางกาย โดย

กดการทํางานของระบบประสาทสวนกลาง เชน อะเซทิลีน อีเทอร ตลอดจนกลุมแอลกอฮอล เปนตน

4) สารที่ทําใหเกิดพิษทั่วรางกาย เปนสารที่ทําลายอวัยวะบางสวน หรือทั้ง

ระบบของรางกาย เชน คารบอนเตตระคลอไรด จะทําอันตรายตอตับและไต เบนซีนและฟนอล จะทํา

Page 49: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

40

อันตรายตอระบบสรางเม็ดเลือด สารกําจัดแมลงพวกออแกโนฟอสเฟต จะทําอันตรายตอระบบประสาท

สารที่ทําอันตรายตอระบบตาง ๆทั่วรางกาย เชน ตะกั่ว ปรอท แคดเมียม แมงกานีส เปนตน

5) สารเคมีกอมะเร็ง ไดแก ไวนิลคลอไรค ทําใหเกิดมะเร็งสมอง ใยแอสเบส

ทอส ทําใหเกิดมะเร็งที่ระบบยอยอาหาร ปอด ชองปอด เบนซิน ทําใหเกิดมะเร็งที่เนื้อเย่ือสรางเลือด

6) สารที่ทําใหเกิดโรค Pneumoconiosis เปนสารจําพวกท่ีมีลักษณะเปน

อนุภาค จะทําลายปอดโดยทําใหเกิดเย่ือพังผืดที่เนื้อปอด เชน ฝุนซิลิกา ฝุนแอสเบสทอส ฝุนเหล็ก

ฝุนโลหะ เปนตน

7) สารเคมีที่ทําใหเกิดความผิดปกติตอทารก เปนสารเคมีที่ทําใหเกิดการ

เจริญเติบโตของเซลลเนื้อเย่ือ และการพัฒนาของอวัยวะในทารกผิดรูปไป ผลที่ เกิดขึ้นอาจทําใหการ

เจริญเติบโตหยุดชงัด สารดังกลาว ไดแก เอทิลีนไดโบรไมด โพลีคลอริเนตไบเฟนิล เปนตน

2.3.1.3 โรคที่เกิดจากส่ิงคุกคามสุขภาพทางชีวภาพ ส่ิงคุกคามสุขภาพทางชีวภาพ

ไดแก พวกเช้ือโรค พวกจุลินทรียตาง ๆ เชน แบคทีเรีย ไวรัส เช้ือรา ปรสิต เปนตน ซ่ึงทําใหเกิดโรค

ในผูประกอบอาชีพตาง ๆ เชน โรคแอนแทรกซในคนงานโรคฆาสัตว คนงานเก็บ หรือปนกระดูก

โรคบรูเซลโลซิส พบในคนเลี้ยงสัตว

1) โรคระบบหายใจที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทํางาน

2) โรคผิวหนังที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทํางาน

3) โรคระบบกลามเนื้อและโครงสรางกระดูกที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทํางาน

หรือลักษณะงานที่มีปจจัยเส่ียงในส่ิงแวดลอมการทํางาน

4) โรคมะเร็งเกิดขึ้นเนื่องจากการทํางาน

5) โรคอื่น ๆ ซ่ึงพิสูจนไดวา เกิดขึ้นตามลักษณะหรือสภาพของงานหรือ

เนื่องจากการทํางาน

2.3.2 การควบคุมปองกันโรคที่เกิดจากการทํางาน

โรคที่เกิดจากการทํางานเกิดไดจากสาเหตุตาง ๆ กัน ทั้งส่ิงที่ทําใหเกิดโรคและลักษณะงาน

ที่ปฏิบัติ ดังนั้น ในการควบคุมและปองกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นยอมมีวิธีการดําเนินงานแตกตางกัน

ไปตามสาเหตุ ชนิด และประเภทของงานที่ปฏิบัติ ตลอดจนสภาพแวดลอมอื่น ๆ

หลักทั่วไปที่ใหเปนแนวทางในการปฏิบัติมี ดังนี้

Page 50: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

41

2.3.2.1 การควบคุมปองกันดานส่ิงแวดลอมจากการทํางาน

1) จัดหาวัตถุหรือสารเคมีท่ีมีพิษตอสุขภาพอนามัยนอยกวาเขามาใชในกิจการ

แทนวัตถุหรือสารเคมีที่มีอันตรายมากกวา เชน ในกระบวนการผลิตท่ีใชคารบอนเตตราคลอไรด ซ่ึงเปนตัว

ทําลายที่มีพิษสูง อาจใชตัวทําลายอื่นที่มีพิษนอยกวาแทน ไดแก เมทิลคลอโรฟอรม ไดคลอโรมีเทน

อลิฟาติกปโตรเลียม ไฮโดรคารบอน เปนตน ในการทําความสะอาดอาจใหผงซักฟอกผสมน้ําลางแทนการใช

สารตัวทําละลายอนินทรีย เชน เบนซิน ซ่ึงมีพิษแรงมากแตถาเคร่ืองมือนั้นไมสามารถใชน้ําลางไดก็อาจใช

ทูโลอีนแทน

2) เปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิตหรือวิธีการปฏิบัติงาน เพ่ือใหคนงาน

สัมผัสกับอันตรายนอยลง เชน การผสมสารเคมีเปนพิษในท่ีปดมิดชิด โดยใชเคร่ืองผสมแทนแรง

คน เพ่ือลดฝุนหรือพิษจากสารเคมีนั้น การนําเคร่ืองจักรอัตโนมัติมาใชในสวนที่อาจกอใหเกิด

อันตรายสูง การใชเคร่ืองขัดทรายที่มีความเร็วรอบตํ่าแทนเคร่ืองที่มีความเร็วรอบสูง เพ่ือลดปริมาณ

ฝุนที่เกิดขึ้น เปนตน แตการเปลี่ยนแปลงใด ๆ นั้น ควรคํานึงถึงตนทุนของการผลิต การปรับปรุง

คุณภาพและประสิทธิภาพของการผลิต

3) แยกงานที่อาจเปนอันตรายออกไปจากงานที่ไมเปนอันตราย เพ่ือลด

จํานวนคนงานที่เส่ียงตออันตรายนอยลง เชน การชุบโลหะ การพนสี หรือการผสมสารเคมี ควรแยก

หองออกเปนสัดสวนจากหองอื่น ๆ กระบวนการผลิตที่กอใหเกิดเสียงดังมาก ๆ ควรแยกออก

ตางหาก ใชฉากกั้น ดูดเสียงหรือทําหองเก็บเสียง

4) ในการเจาะหิน บดหิน บดแร หรืออื่น ๆ ที่ทําใหเกิดฝุนละอองฟุงไปใน

อากาศ อาจใชวิธีพนละอองน้ํา หรือฉีดน้ําเปนระยะเพ่ือลดปริมาณฝุนลง

5) ในกระบวนการผลิตท่ีกอใหเกิดฝุนละออง ไอระเหย ควันพิษ เปนตนควร

ติดต้ังเคร่ืองดูดอากาศหรือดูดฝุนเฉพาะที่ การระบายอากาศเฉพาะที่นี้ เพ่ือดูดสารพิษฝุน ฟูมหรือไอที่

เกิดขึ้นที่แหลงนั้นออกจากบริเวณที่คนทํางาน นําไปเก็บกักไวในที่เฉพาะเพ่ือกําจัดตอไป เมื่อติดต้ัง

เคร่ืองดูดฝุนแลวจะตองตรวจประสิทธิภาพของเคร่ืองเปนระยะวาในเคร่ืองใชไดดีอยูหรือไม

6) จัดใหมีการถายเทอากาศทั่ว ๆ ไปที่ดี โดยดูดอากาศดีจากภายนอกโรงงาน

เขามาแทนที่อากาศเสียในโรงงาน อาจกระทําไดโดยเปดประตู หนาตางชองลม เพ่ือใหอากาศถายเท

สะดวก อาจใชพัดลมชวยดูดหรือเปาอากาศ

7) ทําการตรวจสอบสภาพแวดลอม ที่อาจเปนอันตรายตอคนงาน เชน เสียง

ความรอน ไอระเหย กาซพิษ และอื่น ๆเปนระยะโดยสม่ําเสมอ

Page 51: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

42

8) ทําการเก็บส่ิงของในโรงงาน ใหเปนระเบียบเรียบรอย ตลอดจนดูแลความ

สะอาดทั่ว ๆ ไปและการสุขาภิบาล เชน หองอาบน้ํา หองเปลี่ยนเส้ือผา หองสวม หองอาหาร และน้ําดื่ม

เปนตน

2.3.2.2 การควบคุมปองกันดานตัวบุคคล

1) จัดหาอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลใหคนงานไดสวมใส เชน

เส้ือผา ถุงมือ แวนตา หนากากกรองอากาศ อุปกรณปองกันเสียง เปนตน

2) ติดสัญญาณเตือนภัยท่ีจะเกิดขึ้นท่ีตัวคนงาน เชน ติดแผนฟลมสําหรับ

ผูปฏิบัติงานเกี่ยวกับเอกซเรย (X - Ray)

3) ลดเวลาในการปฏิบัติงานที่เส่ียงอันตรายใหนอยลง โดยหมุนเวียนใหไป

ปฏิบัติงานในสวนอื่นที่มีอันตรายนอย

4) ใหสุขศึกษาแกคนงาน หัวหนางาน และผูท่ีเกี่ยวของใหทราบถึงอันตราย

ตาง ๆ ที่อาจเกิดขึ้น ตลอดจนวิธีการควบคุมปองกัน โดยเฉพาะผูท่ีเขาทํางานใหมตองช้ีแจงใหเขาใจถึง

ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานและใหปฏิบัติตามกฎขอบังคับโดยเครงครัด สําหรับผูทํางานอยูก็ตองมี

การประชุมช้ีแจงเปนระยะ ๆอาจจัดต้ังกรรมการรักษาความปลอดภัยขึ้นดําเนินการนี้ก็ได

5) จัดใหมีการตรวจสุขภาพคนงานเปนระยะ ๆ โดยสม่ําเสมอ เชน การตรวจ

รางกายกอนเขาทํางาน เพ่ือที่จะคัดเลือกบุคคลเขาทํางานใหเหมาะสมกับงานท่ีจะตองปฏิบัติ และเปน

การเก็บรายงานสุขภาพเบื้องตนของคนงาน อันจะเปนประโยชนตอนายจางในโอกาสตอไป

6) การตรวจรางกายภายหลังปฏิบัติงานแลว จะตองปฏิบัติโดยสม่ําเสมอ

เพ่ือที่จะคนหาอาการผิดปกติที่เกิดจากการปฏิบัติงานแตแรกเร่ิม และจะควบคุมปองกันไดทันทวงที

7) การตรวจรางกายคนงานกลุมพิเศษ เชน ผูเยาว ผูหญิง ผูสูงอายุ เพราะ

บุคคลเหลานี้มีโอกาสเกิดโรคไดงายกวาบุคคลทั่ว ๆไป ถาทํางานเกี่ยวของกับส่ิงที่เปนพิษเปนภัย

8) การตรวจรางกายกลุมท่ีเส่ียงตออันตราย ควรตองตรวจบอยกวาบุคคล

อื่น ๆ

9) การตรวจรางกายหลังจากฟนจากการเจ็บปวย กอนท่ีจะเขาปฏิบัติงาน

ตามเดิม หรืองานใหม เพ่ือจะดูดความเหมาะสมวาจะปฏิบัติงานไดมากนอยเพียงใด

10) จัดใหมีบริการดานการรักษาพยาบาลและฟนฟูสมรรถภาพโดยเฉพาะ

ดานการปฐมพยาบาล การนําสงผูปวยไปโรงพยาบาล และมีการฟนฟูสมรรถภาพ เพ่ือที่จะใหคนงาน

กลับคืนปฏิบัติงานได ตามความเหมาะสมของรางกาย

Page 52: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

43

2.3.2.3 การควบคุมปองกันทั่ว ๆ ไป

1) จัดใหมีบริการดานตาง ๆ เชน การประกันความเจ็บปวยจากการทํางาน

การประสบอุบัติเหตุ การจัดบริการรถรับสง จัดสถานที่พักผอน จัดใหมีการร่ืนเริงเปนบางคร้ัง เปนตน

2) รายงานโรคหรืออุบัติเหตุตอผูรับผิดชอบ และเก็บรวบรวมรายงาน การ

ขาดงาน การลา ความเจ็บปวย อุบัติเหตุ และอื่น ๆ เพ่ือนํามาศึกษาวิจัยหาขอมูลท่ีจะเปนประโยชน

ในการควบคุมปองกันตอไป

3) ใหความรวมมือและประสานงานใกลชิดกับหนวยงานตาง ๆ ทั้งภายในและ

ภายนอกโรงงานในการควบคุมปองกันโรคเนื่องจากการทํางานที่สําคัญที่สุด คือ ความรวมมือระหวาง

นายจาง ลูกจาง และรัฐบาล โดยรัฐบาลจะเปนผูชวยเหลือแนะนําดานวิชาการ ตรวจสอบสภาพ

ส่ิงแวดลอมในการทํางาน กําหนดมาตรฐานและหลักเกณฑที่เหมาะสม นายจางจะตองใหความรวมมือจัด

ส่ิงตาง ๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงงาน ใหเปนไปตามกฎหมาย ขอเสนอแนะของรัฐบาลจนเปนที่

ปลอดภัยแกลูกจาง ตลอดจนหาทางสงเสริมสุขภาพอนามัยของลูกจางใหดีขึ้น สวนลูกจางจําเปนตอง

ปฏิบัติตามกฎระเบียบขอบังคับของโรงงานโดยเครงครัด เพ่ือความปลอดภัยของตนเองและสวนรวม

อรพรรณ เมธาดิลกกุล (2536: 14) กลาวถึง การปองกันโรคจากการทํางานวา โรค

จากการทํางานสวนใหญเปนโรคที่เร้ือรัง รุนแรง และรักษาไมคอยได เนื่องจากเกิดพยาธิสภาพอยาง

ถาวร แตเปนกลุมโรคที่สามารถปองกันได เนื่องจากเปนโรคที่มนุษยสรางขึ้นเอง เมื่อเนนหลัก

ทางดานการปองกันโรค จะมีแนวทางการปองกันโรคที่สําคัญ คือ

1) ตองรูสาเหตุของการเกิดโรค การที่ตองทราบสาเหตุของการเกิดโรคใน

ที่นี้ใชวิธีการทางระบาดวิทยาพิจารณาปจจัย 3 ส่ิง ท่ีทําใหเกิดโรค ไดแก บุคคลท่ีเส่ียงตอการเกิด

โรค ปจจัยกอโรค และส่ิงแวดลอม ซ่ึงเปนพ้ืนฐานของศาสตรในการแกปญหา โรคจากการทํางาน

หลายชนิดไดรับการคนพบสาเหตุแลวในดานปจจัยกอโรค แตยังขาดดาน Host และ Environment

2) ตองรูการกระจายของโรค การรูการกระจายของโรค ในที่นี้ใชวิธีทาง

ระบาดวิทยาพิจารณาปจจัย 3 ส่ิง ไดแก กลุมบุคคลที่เกิดโรค พ้ืนที่ที่เกิดโรค และเวลาที่เกิดโรค จะ

ทําใหการปองกันโรคที่เกิดจากการทํางานนั้นมีเปาหมายท่ีชัดเจน มีระดับการเนนหนักตามปญหา

เปนการบริหารการปองกันอยางมีประสิทธิภาพ ในการศึกษาการเกิดโรคหรือปญหาสุขภาพใน

โรงงาน มีวิธีการศึกษา 3 วิธี คือ

(1) การศึกษาแบบตัวขวาง เชน การใชขอมูลตรวจสุขภาพประจําป

อยางมีการวางแผนลวงหนา มาวิเคราะหใหเห็นภาพรวมของการเกิดโรคในโรงงานหนึ่ง ๆ

Page 53: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

44

(2) การศึกษาท่ีเปนการศึกษายอนหลัง เชน การเลือกโรคหรือปญหา

สุขภาพที่พบบอย และศึกษาการเกิดโรคนั้นในชวง 5 ป หรือ 1 ปที่ผานมา จากการจดทะเบียนและบัตร

บันทึกการปวยของหนวยพยาบาลในโรงงาน

(3) การศึกษาระยะยาว โดยการเลือกโรคหรือปญหาสุขภาพท่ีเลือก

แลวจากการศึกษาขางตน นํามาพิจารณาเฝาระวังการเกิดดวยการบันทึกการเกิดโรครายใหมในพ้ืนที่ท่ี

กําหนด เชน ในโรงงาน ก. ตามแบบการเฝาระวังโรคเชนเดียวกับการเฝาระวังการติดเช้ือในโรงพยาบาล

และทําการวิเคราะหรายสัปดาห รายเดือน ตามความเหมาะสม ขอมูลจะทันกาลตอการแกปญหา และยัง

สามารถใชวิเคราะหแนวโนมของการเกิดโรคไดอีกดวย เหมาะสําหรับใชในการวางแผนปองกันโรค

ลวงหนา เชน การเฝาระวังการบาดเจ็บหรือการเฝาระวังโรคพิษตะกั่ว

3) ตองรูระยะของโรค การดําเนินของโรค หรือธรรมชาติของโรคเนื่องจาก

โรคแตละชนิดจะมีระยะการเกิด หรือการกําเนิดโรคแตกตางกัน จึงจําเปนตองรูระยะของโรค เชน ระยะ

เร่ิมไดปจจัยของโรค ระยะสะสมที่ยังไมแสดงอาการ ระยะปรากฏอาการเร่ิม ระยะการดําเนินของโรค

รุนแรงและระยะสุดทายของโรคที่อาจตายหรือปรากฎความพิการ เปนตน ซ่ึงในแตละระยะของการ

ดําเนินโรค มีวิธีการปองกันแตกตางกันไป มีหลักการทั่วไป คือ

(1) การปองกันโรคชนิดปฐมภูมิ เปนการปองกันในระยะโรคยังไม

เกิดการสงเสริมสุขภาพทั่วไปของผูทํางาน เชน โภชนาการ ทันตสาธารณสุข การใหภูมิคุมกันโรค

อนามัยแมและเด็ก อนามัยครอบครัว สุขภาพจิต สุขาภิบาลน้ําดื่ม น้ําใช สุขาภิบาลที่อยู ที่พักอาศัย

อนามัยสวนบุคคล และชีวอนามัย เปนตน มีการหยุดพักระหวางการทํางาน ไดรับมอบงานในขอบเขตที่

ทําได จังหวะการทํางานไมรีบเรงจนเกินไป มีการจัดงานที่เหมาะสมกับคน ทาทางในการทํางาน

สอดคลองกับสรีระของบุคคล มีกระบวนการทํางานที่ปลอดภัย มีส่ิงแวดลอมในการทํางานที่ไดรับการ

ดูแลใหอยูในเกณฑที่ไมเปนอันตรายตอสุขภาพ มีกําหนดการลาทํางานสอดคลองกับรางกายและงาน

เชน ทํางานในที่รอนจัด เย็นจัด เสียงดังมาก ควรไดมีการลดช่ัวโมงการสัมผัสกับอันตรายนั้นลง ในกรณี

ที่ควบคุมส่ิงแวดลอมและปจจัยกอโรคในการทํางานไมได ควรจัดหาอุปกรณใหคนงานไดสวมใส

เคร่ืองปองกัน ซ่ึงตองมีคุณภาพมาตรฐาน มีโครงสรางเขากับผูสวมใสและมีการบํารุงรักษาที่เหมาะสม

(2) การปองทุติยภูมิ เปนการปองกันในระยะเกิดโรคแลวและ

ปองกันเพ่ือไมใหรุนแรงขึ้นหรือตายได ประกอบดวย การรักษาทางอาชีวเวชศาสตร เมื่อมีการ

เจ็บปวยแลว

(3) การปองกันโรคตติยภูมิ เปนการหองกันหลังจากไดรับการ

รักษาแลว คือ ระยะหายจากโรค ปองกันความพิการ ฟนฟูสมรรถภาพรางกายกอนเขางานตรวจความ

พรอมกอนกลับประจําการ เปนตน

Page 54: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

45

4) ตองรูหลักการปองกันทางวิศวกรรม การปองกันทางวิศวกรรมเปน

ศาสตรที่สําคัญ ในการปองกันโรคจากการทํางาน เพราะมีประสิทธิภาพสูงอยางมากเปนการแกไขที่

ปจจัยกอโรค ปองกันที่แหลงผลิต เชน

- ระบบกําจัดฝุนจากแหลง

- ระบบเจือจางฝุนที่ทางผาน

- ระบบกั้นเคร่ืองจักร ระบบแยกผูทํางาน

- ระบบเคร่ืองกั้นเคร่ืองจักร เคร่ืองกั้น

- ระบบ Maintenance เคร่ืองจักร

- ระบบการกําหนด Specification ของเคร่ืองจักร

- การปรับกระบวนการผลิต เพ่ือสงเสริมอาชีวอนามัย และอื่น ๆ

5) ตองรูเร่ืองการปองกันโรคในบุคคลผูเส่ียงตอการเกิดโรค นอกจากการ

ตรวจสุขภาพประจําปกอนเกิดโรคแกบุคคลแลว ยังไดแก ศาสตรท่ีเกี่ยวของกับพฤติกรรมอนามัย

ตลอดจนถึงการใชเคร่ืองปองกันสุขภาพในการทํางาน ผูเช่ียวชาญอาชีวเวชศาสตรหลายทาน ได

กลาววา ผูทํางานเทานั้นที่รูเร่ืองงานและสุขภาพของเขาดีที่สุด จึงควรที่จะเปดโอกาสใหผูทํางาน

ไดรับรู และเขาใจเร่ืองราวทางดานสุขภาพผูทํางาน คือ ระบบบริหารจัดการของหนวยงาน โรงงาน

และบริษัทนั้นเอง จึงควรที่จะไดผสมผสานแนวคิดการปองกันโรคที่ระดมเอาประสบการณจริงของ

ผูทํางานเขากับประสบการณในดานระบบงาน ของการบริหารจัดการ และความรูในทางวิชาการเขา

ที่สะสมดวยกัน และนําไปใชในหลักการใชเหมาะสมกับ สภาพบุคลาการ โรงงาน และโรคตอไป

6) ตองรูเร่ืองการปองกันโรคจากการทํางาน ที่ส่ิงแวดลอมในงาน และอื่น ๆ

เปนการใชความรูเร่ือง Occupational Hygiene ไดแก การ Monitor ส่ิงแวดลอม เสียง ฝุน รังสี ความ

รอน และอื่น ๆ กระบวนการทํางานที่ปลอดภัยและถูกตองทางอาชีวอนามัย และเร่ืองเออรโกโนมิค

การจัดการทําโปรแกรม การใชเคร่ืองปองกันสุขภาพในการทํางาน เปนศาสตรหนึ่งที่มีเนื้อหา

เฉพาะผูรับผิดชอบในดานนี้ ตองดําเนินงานโดยรวมมือประสานงานกับวิศวกรในเร่ือง Engineering

Control และแพทยโดยเฉพาะการใชเคร่ืองปองกันสุขภาพ

7) ตองรูเร่ืองการบริหารการปองกัน (Administrative Prevention and

Control) การบริหารการปองกันโรคจากการทํางาน ไดแก การประสานการปองกันตาง ๆ เชน

(1) การจัดระบบการทํางานตลอดจนการเปลี่ยนแปลงการมอบหมาย

(2) ลดช่ัวโมงการเดินเคร่ืองจักรที่มีเสียงดัง สารเคมี ฝุน เพ่ือลด

ปจจัย กอโรค

Page 55: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

46

(3) มีการวางแผนกอสรางโรงงานใหมีการพิจารณาในเร่ืองการ

ปองกันโรคจากการทํางานไวในระยะเร่ิมแรก

2.4 การทํางานเก่ียวกับสารเคมีของบริษัท บลูสโคป สตีล (ประเทศไทย) จํากัด

บริษัท บลูสโคป สตีล (ประเทศไทย) จํากัด ต้ังอยูที่ นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด 3 ถนนไอ - หา

อําเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง รหัสไปรษณีย 21150 เปนผูผลิตผลิตภัณฑเหล็กแผนเคลือบโลหะ และ

เคลือบสีช้ันนําของประเทศไทย โดยทําการจัดจําหนายทั้งตลาดภายในประเทศ และตางประเทศ สําหรับ

ใชในการกอสราง เคร่ืองใชไฟฟา และอุตสาหกรรมการผลิตโดยทั่ว ๆไป ผลิตภัณฑหลัก ไดแก เหล็ก

เคลือบสีคลีนคัลเลอรบอนด และเหล็กเคลือบโลหะซิงคาลุม และยังมีผลิตภัณฑตัวเลือกอื่น ๆ ที่

ประกอบไปดวย สวนผสมของสังกะสี อะลูมิเนียม รอยละ 55.0 ไดแก เหล็กเคลือบแซคส เหล็กเคลือบสี

พี - แซคส และเหล็กเคลือบสีชัตเตอรเอ็กซ บริษัท บลูสโคป สตีล ประเทศไทย ยังไดทําการผลิตเหล็ก

เคลือบสังกะสีกัลวาสแปน ซ่ึงเปนเหล็กกลาความแข็งแรงสูง สําหรับงานโครงสราง ผลิตภัณฑเหล็ก

เคลือบสังกะสีทรูซิงค สําหรับงานอุตสาหกรรมการผลิต และเหล็กเคลือบสีซีอารพี แอนทิแบคทีเรีย

สําหรับงานอุตสาหกรรมหองเย็นอีกดวย ผลิตภัณฑผานการผลิต และรับรองตามมาตรฐานจากประเทศ

ออสเตรเลีย และญี่ปุน รวมถึงมาตรฐานสากลอื่น ๆ ดวย บริษัท บลูสโคป สตีล จํากัด เปนผูผลิตเหล็ก

แผนเรียบช้ันนําระดับโลก โดยมีฐานการผลิต และการตลาดครอบคลุมท่ัวภูมิภาค ออสเตรเลีย

นิวซีแลนด เอเชีย และอเมริกาเหนือ นอกจากนี้ บริษัทยังเปนผูนําทางดานการจัดจําหนายผลิตภัณฑ

เหล็กเคลือบโลหะ และเคลือบสีคุณภาพสูง สําหรับใชในการกอสราง รวมท้ังเปนผูจัดจําหนายเหล็ก

ใหกับอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ ยานยนต และอุตสาหกรรมการผลิตโดยทั่ว ๆ ไป บลูสโคป สตีล

มีกลยุทธมุงสรางการเติบโตทางดานรายได และผลกําไรใหแกผลิตภัณฑเหล็กปลายน้ํา โดยเนนการ

ลงทุนในตลาดที่มีศักยภาพการเติบโตสูงในภูมิภาคเอเชีย พรอมทั้งนําเสนอผลิตภัณฑและบริการที่

โดดเดน ล้ําสมัย และสรางผลสําเร็จในการแขงขันในตลาดโดยใชวัสดุที่แตกตางกัน ตามคุณสมบัติ

ช้ันเลิศของผลิตภัณฑเหล็ก จุดแข็งของบลูสโคป สตีล คือ เปนผูผลิตเหล็กเคลือบโลหะผสมอะลูมิเนียม

และสังกะสีรายใหญที่สุดของโลก และการมีเครือขายโรงงานผลิตอยางกวางขวางครอบคลุมทั่วภูมิภาค

เอเชีย โดยมีเทคโนโลยีและแบรนดเหล็กเคลือบ และเคลือบสีท่ีเปนลิขสิทธ์ิเฉพาะ ไดแก เหล็กเคลือบสี

คลีนคัลเลอรบอนด (CLEAN COLORBOND® steel) เหล็กเคลือบซิงคาลุม (ZINCALUME® steel)

ผลิตภัณฑเหล็กรีดลอนขึ้นรูปไลสาจท (LYSAGHT®) และโครงสรางอาคารเหล็กสําเร็จรูป แบรนดบัท

เลอร (BUTLER®) นอกจากนี้ บลูสโคป สตีล ยังเปนผูจัดจําหนายผลิตภัณฑเพ่ือใชกับโครงสรางอาคาร

เหล็กสําเร็จรูป อีกดวย บลูสโคป สตีล มีโรงถลุงเหล็กครบวงจร ในเมืองพอรท เคมบลา ประเทศ

Page 56: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

47

ออสเตรเลีย ซ่ึงมีกําลังการผลิต 5.10 ลานตันตอป และโรงถลุงเหล็กแบบครบวงจร ในประเทศนิวซีแลนด

ซ่ึงมีกําลังการผลิต 650,000 ตันตอป ทั้งยังถือหุนในโรงถลุงเหล็กขนาดเล็กขนาด 1.80 ลานตันตอป ที่ต้ัง

อยูในเมืองเดลตา มลรัฐโอไฮโอ สหรัฐอเมริกา ปจจุบัน บริษัทมีโรงงานผลิตเหล็กเคลือบ เหล็กเคลือบสี

และเหล็กรีดลอนขึ้นรูป ในประเทศออสเตรเลีย นิวซีแลนด ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย จีน และเวียดนาม

และกําลังกอสรางโรงงานผลิตเหล็ก ในประเทศอินเดีย ตลอดจนมีโรงงานผลิตเหล็กรีดลอนขึ้นรูป

มากกวา 50 แหง ใน 13 ประเทศ มากกวาบริษัทเหล็กรายอื่น ๆ ทั่วโลก ทั้งยังเปนผูนําทางดานระบบ

โครงสรางอาคารเหล็กสําเร็จรูปในประเทศจีน และภูมิภาคอเมริกาเหนือ

บริษัท บลูสโคป สตีล (ประเทศไทย) จํากัด กอต้ังขึ้นในป พ.ศ. 2538 ภายใตการรวมทุนกับ

บริษัท ล็อกซเลย จํากัด (มหาชน) และเปนหนึ่งในผูผลิตและจัดจําหนายผลิตภัณฑเหล็กแผนเรียบ

เคลือบโลหะ และเคลือบสีช้ันนําของประเทศไทย โรงงานผลิตเหล็กของบริษัทที่นิคมอุตสาหกรรม

มาบตาพุด จังหวัดระยอง มีขนาดใหญท่ีสุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยมีกําลังการผลิต

สําหรับกระบวนการผลิตเหล็กรีดเย็นและลางผิวเหล็กดวยกรดปลอดสารอ็อกไซด ขนาด 400,000

ตัน กําลังการผลิตสําหรับการผลิตเหล็กเคลือบโลหะ ขนาด 375,000 ตัน และกําลังการผลิตสําหรับ

การผลิตเหล็กเคลือบสีขนาด 90,000 ตัน และมีพนักงานมากกวา 400 คน โรงงานท่ีนิคม

อุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง จะประสานการทํางานรวมกับโรงงานของบริษัทฯใน

มาเลเซีย อินโดนีเซีย เวียดนาม และจีน สําหรับโรงงานผลิตเหล็กเคลือบโลหะและเคลือบสีแหง

ใหมในประเทศอินเดีย ยังอยูในระหวางการกอสราง

ความมุงมั่นของบริษัทตองการปรับปรุงดานสุขภาพ ความปลอดภัย และส่ิงแวดลอมอยาง

ตอเนื่อง โดยมีจุดมุงหมายที่จะบรรลุความปลอดภัย ทั่วทั้งภูมิภาคเอเชีย ประกอบดวย

1) ปฏิบัติตามกฎหมายในประเทศ และขอบังคับของบลูสโคปสตีล

2) การมีสวนรวมของพนักงาน และผูรับเหมาทั้งหมด

3) ปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีของชุมชน โดยใหความเคารพตอคุณคา และมรดกทาง

วัฒนธรรมของประเทศ และชุมชนทองถิ่น

4) พนักงานทุกคนตระหนักถึงความรับผิดชอบที่มีตอสุขภาพ ความปลอดภัย และ

ส่ิงแวดลอม

5) พนักงานระดับผูจัดการ และหัวหนางานตระหนักถึงความรับผิดชอบ และประโยชน

ที่มีตอสุขภาพ ความปลอดภัย ส่ิงแวดลอม และความสําเร็จของชุมชน

Page 57: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

48

2.4.1 แนวทางการจัดการสารเคมีเพื่อความปลอดภัยของบริษัทฯ

2.4.1.1 การส่ังซ้ือและการเปลี่ยนแปลงการใชสารเคมี หรือสารเคมีสําหรับการทดลองใช

1) เมื่อมีการรองขอเพ่ือใชสารเคมีในพ้ืนที่การทํางาน แผนกผูใชงาน

จะตองตรวจสอบสารเคมีที่ตองการใชจากทะเบียนสารเคมี หากสารเคมีดังกลาวถูกขึ้นทะเบียนแลว

ใหแจงความประสงคที่แผนกจัดซ้ือหรือแผนกโลจิสติก เพ่ือส่ังซ้ือสารเคมีดังกลาว กรณีที่มีสารเคมี

ไมเคยถูกขึ้นทะเบียนใหแจงตอแผนกความปลอดภัยและส่ิงแวดลอม เพ่ือดําเนินการตรวจสอบ

2) แผนกจัดซ้ือ/โลจิสติกตองตรวจสอบรวมกับแผนกความปลอดภัยกับ

ส่ิงแวดลอม กรณีที่สารเคมียังไมเคยถูกขึ้นทะเบียน รวมทั้งตองประเมินขอจํากัดในการใชงาน

สารเคมีตาง ๆ ตามขอกําหนดกฎหมาย และมาตรฐานบริษัทฯ รวมกันกอนทําการส่ังซ้ือดวย

3) กรณีสารเคมีใหมยังไมเคยขึ้นทะเบียนการเปลี่ยนแปลงการใชสารเคมี/

สารเคมีสําหรับการทดลองใช แผนกจัดซ้ือหรือแผนกโลจิสติกจะตองรอคํายืนยันจากแผนกความ

ปลอดภัย และส่ิงแวดลอมกอนดําเนินการส่ังซ้ือสารเคมี สําหรับสารเคมีท่ีนํามาทดลองใชท่ีอยูใชงาน

โดยตรง ใหผูใชงานติดตอแผนกความปลอดภัย และส่ิงแวดลอมพรอมแนบดวย ขอมูลความปลอดภัย

ในการใชสารเคมี (MSDS) เพ่ือประเมินอันตรายกอนทําการทดลองใช

2.4.1.2 การขึ้นทะเบียนสารเคมี (PR - ENV - 46 - 00002 - F - 02)

1) สารเคมีใหมหรือสารเคมีท่ีมีการเปลี่ยนคุณลักษณะของสารประกอบ

จะตองทํามาประเมินอันตรายตาง ๆ และขึ้นทะเบียนในทะเบียนสารเคมีทุกคร้ังลงในเอกสาร

2) แผนกจัดซ้ือหรือแผนกโลจิสติกกรอกรายละเอียดขอมูลลงในเอกสาร

พรอมแนบเอกสารขอมูลความปลอดภัยในการใชสารเคมี (MSDS) สงฝายความปลอดภัย และ

ส่ิงแวดลอม จากนั้นฝายความปลอดภัย และส่ิงแวดลอมตองทําการประเมินขอมูล เทียบกับ

มาตรฐานตามกฎหมาย และมาตรฐานของบริษัท รวมกับผูใชงาน (User Department)

3) สารเคมีที่ผานการประเมินความเหมาะสมในการใชงานแลวจะถูกขึ้น

ทะเบียนไว และจัดเก็บขอมูลความปลอดภัยในการใชสารเคมี (MSDS) ตนฉบับ ไวที่ฝายความ

ปลอดภัยและส่ิงแวดลอม

4) ฝายความปลอดภัยและส่ิงแวดลอมจะตองจัดเตรียมขอแนะนําในการ

ใชสารเคมีอยางปลอดภัย (SUI) และทําการส่ือสารไปยังแผนกผูใชงานและผูเกี่ยวของ ผูใชงาน

จะตองเก็บขอมูล (SUI) ในพ้ืนที่การทํางานใหสามารถใชงานไดตลอดเวลา และการจัดเก็บสารเคมี

ในพ้ืนที่การทํางาน

Page 58: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

49

2.4.1.3 การใชสารเคมีและการจัดเก็บสารเคมีในพ้ืนที่การทํางาน

1) หนวยงานสโตรและผูใชงานจะตองตรวจสอบสารเคมีที่เขามาวา บรรจุ

อยูในภาชนะสภาพเรียบรอย มีเคร่ืองหมาย ฉลากของสารเคมีอันตรายชัดเจนตามขอกําหนดของ

บริษัทฯ

2) ผูใชงานจะตองควบคุมการขนยาย และการจัดเก็บสารเคมีในพ้ืนที่ที่

กําหนดให รวมทั้งเปนผูตรวจสอบพ้ืนที่การจัดเก็บสารเคมีใหอยูในสภาวะปลอดภัยกอนเสมอ

3) สารเคมีท่ีไมผานการตรวจสอบตามมาตรฐานการตรวจรับใหแจงตอ

แผนกจัดซ้ือหรือแผนกโลจิสติก เพ่ือทําการแกไขใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด

4) การใชสารเคมีในพ้ืนท่ีการทํางานจะตองคํานึงถึงความปลอดภัยเปน

หลักพนักงานที่มีสวนเกี่ยวของทุกทานจะตองปฏิบัติตามขอแนะนําการใชสารเคมีอยางปลอดภัย

(SUI) อยางเครงครัด

5) สารเคมีเหลือจากการใชงานใหผูใชตรวจสอบภาชนะและปดภาชนะ

ใหเรียบรอย ตรวจสอบฉลากกอนจะขนยายไปเก็บในพ้ืนที่เก็บสารเคมีที่กําหนดให

6) กากของเสียจากสารเคมีใหผูใชงานปฏิบัติตามระเบียบปฏิบัติ การคัด

แยกของเสีย และการกําจัดขยะของเสีย

2.4.1.4 การใหความรูและการเฝาระวัง

1) พนักงานทุกคนที่มีสวนเกี่ยวของกับการใชสารเคมีในโรงงานทุกประเภท

จะตองผานการฝกอบรมเร่ือง การจัดการสารเคมีเพ่ือความปลอดภัย

2) พนักงานที่มีโอกาสสัมผัสสารเคมีตองไดรับการตรวจสุขภาพกอนทํางาน

การตรวจสุขภาพประจําป และตรวจสุขภาพเมื่อมีการเปลี่ยนงาน ซ่ึงตองไปสัมผัสกับสารเคมีใหมทุกคร้ัง

โดยแผนกความปลอดภัย และส่ิงแวดลอมจะรวมกําหนดรายละเอียดกับแผนกที่เกี่ยวของ

3) ตองมีการตรวจสอบส่ิงแวดลอมในพ้ืนที่มีการทํางานตามขอกําหนดของ

มาตรการติดตามผลกระทบส่ิงแวดลอม EIA

2.5 งานวิจัยท่ีเก่ียวของ

พรเกียรติ เนติขจร (2546: 87 - 90) การศึกษาคร้ังนี้มีวัตถุประสงคท่ีสําคัญ คือ เพ่ือศึกษาระดับ

แรงจูงใจในการปองกันอุบัติเหตุดานการประเมินอันตราย ไดแก การรับรูความรุนแรงของอุบัติเหตุ

และการรับรูโอกาสเส่ียงของการเกิดอุบัติเหตุ แรงจูงใจในการปองกันอุบัติเหตุดานการประเมินการ

เผชิญปญหา ไดแก ความคาดหวังในความสามารถของตนเอง ความคาดหวังในประสิทธิผลของการ

Page 59: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

50

ตอบสนอง และพฤติกรรมความปลอดภัยของพนักงาน เพ่ือศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัยสวน

บุคคล แรงจูงใจในการปองกันอุบัติเหตุ ดานการประเมินปญหา และแรงจูงใจในการปองกันอุบัติเหตุ

ดานการประเมินการเผชิญปญหากับพฤติกรรมความปลอดภัย เพ่ือสรางสมการทํานายพฤติกรรมความ

ปลอดภัยจากองคประกอบการรับรูความรุนแรงของอุบัติเหตุ การรับรูโอกาสเส่ียงของการเกิดอุบัติเหตุ

ความคาดหวังในความสามารถของตนเอง และความคาดหวังในประสิทธิผลของการตอบสนองกลุม

ตัวอยางในการศึกษาคร้ังนี้ เปนพนักงานระดับปฏิบัติการในโรงงานประกอบรถยนต จํานวน 254 คน

เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย ไดแก แบบสอบถามขอมูลทั่วไป แบบสอบถามการรับรูความรุนแรงของ

อุบัติเหตุ แบบสอบถามการรับรูโอกาสเส่ียงของการเกิดอุบัติเหตุ แบบสอบถามความคาดหวังใน

ความสามารถของตนเอง แบบสอบถามความคาดหวังในประสิทธิผลของการตอบสนอง และ

แบบสอบถามพฤติกรรมความปลอดภัย วิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอร เพ่ือคํานวณหา

คารอยละ คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน คาความสัมพันธไคสแควร สัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ และการ

วิเคราะหการถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยไดขอสรุป ดังนี้ พนักงานระดับปฏิบัติการโรงงานประกอบ

รถยนตมีแรงจูงใจในการปองกันอุบัติเหตุ ดานการประเมินอันตราย ดานการประเมินการเผชิญปญหา

และพฤติกรรมความปลอดภัยในระดับสูง อายุงาน แรงจูงใจในการปองกันอุบัติเหตุดานการประเมิน

อันตราย ไดแก การรับรูความรุนแรงของอุบัติเหตุ และการรับรูโอกาสเส่ียงของการเกิดอุบัติเหตุ

แรงจูงใจในการปองกัน อุบั ติเหตุดานการประเมินการเผชิญปญหา ไดแก ความคาดหวังใน

ความสามารถของตนเอง และความคาดหวังในประสิทธิผลของการตอบสนองมีความสัมพันธเชิงบวก

กับพฤติกรรมความปลอดภัยอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 ตัวแปรความคาดหวังในความสามารถของ

ตนเอง และการรับรูโอกาสเส่ียงของการเกิดอุบัติเหตุ สามารถทํานายพฤติกรรมความปลอดภัยได

รอยละ 35.4

ทวีวัตร บุญทริกพรพันธ (2547: 68) ศึกษาเร่ือง ทัศนคติดานความปลอดภัยในการทํางานของ

พนักงานแผนกทอผา กรณีศึกษา บริษัทแหงหนึ่งในอําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ

มีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาทัศนคติดานความปลอดภัยในการทํางานของพนักงานแผนกทอผา และศึกษา

แนวทางสงเสริมดานความปลอดภัยในการทํางานของพนักงานแผนกทอผาของบริษัทแหงหนึ่ง โดยใช

แบบสอบถามเปนเคร่ืองมือในการเก็บขอมูล ศึกษาพนักงานแผนกทอผา ประกอบดวย พนักงานทอผา

ชางเคร่ือง และภารโรง รวมทั้งส้ิน 77 คน และนํามาประมวลผลการศึกษา ดวยคอมพิวเตอรโปรแกรม

SPSS สถิติที่ใชสําหรับการวิเคราะห คือ คารอยละ (Percentage) คาเฉลี่ยมัชณิมเลขคณิต (Mean) สวน

เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ผลการศึกษา พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญเปน เพศหญิง รอยละ 79.2 มีอายุ

ระหวาง 31 - 40 ป รอยละ 41.1 มีการศึกษาระดับช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 รอยละ 89.7 มีประสบการณการ

ทํางานในชวง 16 - 20 ป รอยละ 21.2 เคยไดรับคําแนะนําเกี่ยวกับอันตรายที่เกิดขึ้นจากการทํางาน รอยละ

Page 60: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

51

88.7 โดยไดรับคําแนะนําจากการอบรมที่บริษัทฯ จัดให รอยละ 58.2 และไมเคยไดรับคําวินิจฉัยจาก

แพทยวา มีการเจ็บปวยเนื่องจากทํางาน รอยละ 89.0 นอกจากนี้ ยังไดวิเคราะหถึง เพศ อายุ ระดับ

การศึกษา ลักษณะงาน และประสบการณการทํางาน ที่มีผลตอทัศคติทางดานความปลอดภัย และ

แนวทางสงเสริมการลดอุบัติเหตุ ผลปรากฏวา กลุมตัวอยางมีทั้งเห็นดวย และเห็นดวยอยางย่ิง ทําให

ทราบวา กลุมตัวอยางสวนใหญมีทัศนคติที่ดีตอความปลอดภัยและแนวทางสงเสริมการลดอุบัติเหตุ

สําหรับความตองการของกลุมตัวอยางนั้น ผลการศึกษา พบวา พนักงานแผนกทอผาสวนใหญ รอยละ

90.9 ตองการใหมีการตรวจสุขภาพประจําป รองลงมา คือ ตองการใหติดพัดลมหรือเคร่ืองปรับอากาศใน

ที่ทํางาน รอยละ 85.7 และตองการใหมีการอบรม และใหความรูเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทํางาน

กอนเร่ิมทํางาน รอยละ 58.4 ขอเสนอแนะจากการศึกษาในคร้ังนี้ คือ ผูประกอบการควรจะเอาใจใส และ

ใหความสําคัญกับสภาพแวดลอมในการทํางาน ทัศนคติทางดานความปลอดภัย แนวทางสงเสริมการลด

อุบัติเหตุ และความตองการของพนักงานแผนกทอผา เนื่องจากส่ิงเหลานี้เปนปจจัยสําคัญประการหนึ่ง

ที่สามารถสงผลกระทบตอประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการผลิต และเปนส่ิงท่ีจะชวยใหสภาพการ

ทํางานมีบรรยากาศที่ดีขึ้น ซ่ึงสงผลดีทั้งตอรางกายและจิตใจของพนักงาน นอกจากนี้ ผูประกอบการ

ควรจะมีการใหความรูเกี่ยวกับดานความปลอดภัยกอนเขาทํางาน และฝกอบรมพนักงานเปนระยะ เชน

อบรมทุก 3 เดือนหรือ 6 เดือน เปนตน การจัดใหมีการอบรม และใหความรูเกี่ยวกับความปลอดภัยใน

การทํางานกอนเร่ิมทํางาน เปนการแสดงถึง ความเอาใจใสของนายจางตอความปลอดภัยของพนักงาน

ซ่ึงเปนการใหความรูพนักงานเพ่ือปองกันอุบัติเหตุท่ีอาจเกิดขึ้นได ส่ิงสําคัญอีกประการหนึ่ง คือ การ

ปลูกฝงจิตสํานึกใหพนักงานทุกคนตองตระหนักถึงความปลอดภัยเปนสําคัญในการปฏิบัติงาน สุดทาย

คือ ในสวนของพนักงานที่ควรใหความรวมมือกับนายจางในเร่ืองการปฏิบัติตามกฎขอบังคับดานความ

ปลอดภัย รวมทั้งควรเอาใจใสดูแลเคร่ืองมืออุปกรณตาง ๆ ใหอยูในสภาพที่สมบูรณเสมอ โดยถือวา

เปนหูเปนตาใหแกนายจางในการสอดสองดูแลความปลอดภัยในการทํางาน ซ่ึงผลที่ไดนั้นยอมเปนผลดี

ตอทั้งนายจางและลูกจางเอง

สุระ จันลา (2547: 123) การศึกษาคร้ังนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาระดับการรับรูระบบความ

ปลอดภัย และพฤติกรรมความปลอดภัย เพ่ือเปรียบเทียบปจจัยสวนบุคคลท่ีมีอิทธิพลตอการรับรู

ระบบความปลอดภัย และพฤติกรรมความปลอดภัยของพนักงานระดับปฏิบัติการในโรงงาน

อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสในเขตนิคมอุตสาหกรรมบานหวา (ไฮเทค) โดยใชกลุมตัวอยางจํานวน

388 คน เก็บขอมูลโดยใชแบบสอบถาม และนําขอมูลมาหาคารอยละ คาเฉลี่ย และคาสวนเบ่ียงเบน

มาตรฐานเพ่ืออธิบายผล และนําเสนอในลักษณะตาราง ผลการศึกษา พบวา ระดับการรับรูระบบ

ความปลอดภัย และพฤติกรรมความปลอดภัยของพนักงานอยูในระดับดีมาก ปจจัยสวนบุคคลที่มี

อิทธิพลตอการรับรูระบบความปลอดภัย ไดแก เพศ มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 ปจจัยสวน

Page 61: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

52

บุคคลที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมความปลอดภัย ประกอบดวย เพศ และอายุ มีนัยสําคัญทางสถิติที่

ระดับ 0.01 และปจจัยดานระดับการศึกษา มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 การรับรูระบบความ

ปลอดภัยมีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมความปลอดภัย อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ

0.01 โดยมีคาสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธเปนบวก

ศุภวัฒน เตชะพิทักษ (2548: 89) การศึกษามีจุดประสงคเพ่ือศึกษาพฤติกรรมความ

ปลอดภัยในการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัท โคราช เดนจิ จํากัด (K2) และความสัมพันธระหวาง

ปจจัยสวนบุคคลกับพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของพนักงาน โดยจําแนกตาม

สถานภาพสวนบุคคลของพนักงาน กลุมตัวอยาง คือ พนักงาน บริษัท โคราช เดนจิ จํากัด (K2)

จํานวน 218 คน ซ่ึงไดจากการสุมตัวอยางแบบงาย เก็บรวบรวมขอมูลโดยใชแบบสอบถาม ทําการ

วิเคราะหขอมูลทางสถิติดวย คารอยละ คาเฉลี่ย สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และไคสแควร ผลการศึกษา

พบวา พฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของพนักงานอยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณา

เปนรายดาน พบวา อยูในระดับมาก 1 ดาน ระดับปานกลาง 3 ดาน เรียงลําดับตามคาเฉลี่ย ดังนี้ ดาน

การจัดการ ดานสภาพแวดลอม ดานเคร่ืองมือเคร่ืองจักรและอุปกรณ และดานคน ตามลําดับ ผล

การศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัยสวนบุคคลกับพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของ

พนักงาน พบวา เพศ อายุ ระดับการศึกษา รายได อายุงาน มีความสัมพันธกับพฤติกรรมความ

ปลอดภัยในการปฏิบัติงานของพนักงานอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ยกเวน ความถี่ใน

การฝกอบรม มีความสัมพันธกับพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของพนักงานอยางมี

นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 ซ่ึงไมเปนไปตามสมมติฐานที่ต้ังไว

Page 62: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

บทที่ 3

วิธีการศึกษา

บทนี้จะเปนบทที่กลาวถึงวิธีการศึกษา ซ่ึงจะประกอบดวย การออกแบบการศึกษา และการ

สรางเคร่ืองมือวัด โดยในสวนของเคร่ืองมือวัด จะประกอบไปดวย การหาความแมนยํา เที่ยงตรง

ของเคร่ืองมือ ในการสรางเคร่ืองมือวัดจําเปนตองกําหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ ซ่ึงในบทนี้จะรวมถึง

กลุมประชากรและกลุมตัวอยางที่จะทําการเก็บขอมูล ในสวนสุดทายจะเปนการอธิบายใหเห็นถึง

การเลือกใชสถิติในการวิเคราะหขอมูล

3.1 กรอบแนวคิดในการศึกษา

การศึกษาถึงความรูและทัศนคติตอพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางาน กรณีศึกษา การ

ปองกันโรคผิวหนังจากการใชสารเคมีในโรงงาน เปนการหาปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมความ

ปลอดภัยในการทํางาน โดยผูศึกษาไดทําการทบทวนแนวคิด ทฤษฎี และการศึกษาท่ีเกี่ยวของ โดย

สามารถสรางกรอบแนวคิดในการศึกษาได ดังภาพที่ 3.1

Page 63: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

54

ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม

ภาพที่ 3.1 กรอบแนวคิดในการศึกษา

3.2 สมมติฐานในการศึกษา

3.2.1 ผูปฎิบัติงานที่มีปจจัยสวนบุคคล ไดแก เพศ อายุ ระดับการศึกษา ระดับพนักงาน อายุงาน

รายได และประสบการณการฝกอบรมที่แตกตางกันจะมีผลตอพฤติกรรมความปลอดภัยแตกตางกัน

3.2.2 ความรูเร่ืองการปองกันอันตรายมีความสัมพันธเชิงบวกกับพฤติกรรมความปลอดภัย

3.2.3 ทัศนคติดานความปลอดภัยมีความสัมพันธเชิงบวกกับพฤติกรรมความปลอดภัย

3.3 รูปแบบการศึกษา

การศึกษาคร้ังนี้เปนการศึกษาแบบไมทดลอง (Non - Experimental Design) ในรูปแบบการศึกษาเชิง

สํารวจแบบตัดขวาง (Cross - Sectional Survey) ทั้งนี้ เนื่องจากการศึกษาคร้ังนี้ เปนการศึกษาถึงปจจัยที่มีผล

ปจจัยสวนบุคคล

1. เพศ

2. อายุ

3. ระดับการศึกษา

4. ระดับพนักงาน

5. อายุงาน

6. รายได

7. ประสบการณการฝกอบรม

พฤติกรรมการปองกันอันตราย

จากสารเคมี

ความรูเร่ืองการปองกันอันตรายจาก

สารเคมี

ทัศนคติดานการปองกันอันตรายจาก

สารเคมี

Page 64: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

55

ตอพฤติกรรมการการปองกันอันตรายฯ ของผูปฏิบัติงาน บริษัท บลูสโคป สตีล (ประเทศไทย) จํากัด ซ่ึง

เปนการศึกษาปรากฎการณที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติที่เปนจริง โดยที่ผูศึกษาไมไดมีความพยายามที่จะ

บังคับคาตัวแปรใด ๆ เพ่ือศึกษาผลกระทบตอตัวแปรตาม และมีหนวยการวิเคราะหเปนระดับบุคคล

เปนการเก็บขอมูลในชวงระยะเวลาเพียงคร้ังเดียว ผลการศึกษาที่ไดจะนําไปใชในการเสนอแนะเปน

แบบอยางในการดําเนินการดานพฤติกรรมการปองกันอันตรายของผูปฏิบัติงานในการทํางานแก

บริษัทอื่น ๆ ในประเทศไทยตอไป

3.4 ประชากรท่ีใชในการศึกษา

ทําการศึกษาเฉพาะพนักงานใน บริษัท บลูสโคป สตีล (ประเทศไทย) จํากัด ทั้งหมด 100 คน

(บริษัท บลูสโคป สตีล (ประเทศไทย) จํากัด, 2556) โดยทําการเลือกจากประชากรทั้งหมด (Census)

เนื่องจากจํานวนประชากรมีนอย

3.5 เคร่ืองมือท่ีใชในการศึกษา

เคร่ืองมือที่ใชในการศึกษาคร้ังนี้ ประกอบดวย 1) แบบสอบถาม เปนแบบสอบถามที่ผูศึกษา

สรางขึ้นตามทฤษฎี กรอบแนวคิด และนิยามปฏิบัติการ ซ่ึงแบงแบบสอบถามเปน 5 ตอน ดังนี้

ตอนที่ 1 สถานภาพสวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถาม ไดแก เพศ อายุ ระดับการศึกษา

ระดับพนักงาน อายุงาน รายได และประสบการณในการเขาอบรมการปองกันโรคจากสารเคมี

ตอนที่ 2 เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับความรูในเร่ืองการปองกันอันตรายจากสารเคมี

ตอนที่ 3 เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับทัศนคติการปองกันอันตรายจากสารเคมี

ตอนที่ 4 เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการปองกันอันตรายจากสารเคมี

ตอนที่ 5 ปญหาอุปสรรค และขอเสนอแนะ

3.5.1 การตรวจสอบคุณภาพของแบบสอบถาม

หลังจากนั้นนําแบบสอบถามไปทดลองใช (Try Out) กับตัวอยางที่ไมใชกลุมตัวอยางท่ีจะ

ทําการศึกษาแตมีคุณลักษณะใกลเคียงกับที่จะศึกษาจริง จํานวน 30 คน เพ่ือหาความเที่ยง (Reliability

Coefficient) โดยใชสัมประสิทธ์ิอัลฟาครอนบาค (Cornbrash’s Coefficient Alpha) ซ่ึงคาท่ีไดมีคา 1.00

แสดงวา มีความคงที่ภายในสมบูรณ และหากมีคา 0 แสดงวา ไมมีคาคงที่ภายใน และจะตองมีคา

Page 65: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

56

ไมตํ่ากวา 0.500 (สุจิตรา บุญยรัตพันธ, 2546: 165) ทั้งนี้ คาสัมประสิทธ์ิอัลฟาครอนบาค คํานวณไดตาม

สูตร

α =

ผูศึกษาไดนําแบบสอบถามไปทดสอบความเช่ือถือไดของมาตรวัดกับบริษัทอื่น ที่ไมใช

กลุมตัวอยาง จํานวน 30 คน ผลดังตาราง 3.1

ตารางที่ 3.1 ผลการหาคาสัมประสิทธ์ิอัลฟาครอนบาค

ปจจัย

จํานวน

ขอ

คําถาม

Cornbrash’s

Alpha

Coefficient

1) พฤติกรรมการปองกันอนัตรายจากสารเคมี 8 0.544

2) ความรูในเร่ืองการปองกันอันตรายจากสารเคมี 8 0.515

3) ทัศนคติการปองกันอนัตรายจากสารเคมี 8 0.745

รวม 24 0.686

จากตารางที่ 3.1 ผลการหาคาสัมประสิทธ์ิอัลฟาครอนบาค พบวา ทัศนคติการปองกันอันตราย

จากสารเคมี มีคาสัมประสิทธ์ิอัลฟาครอนบาคสูงที่สุด (0.745) รองลงมา ไดแก พฤติกรรมการปองกัน

อันตรายจากสารเคมี (0.544) สวนความรูในเร่ืองการปองกันอันตรายจากสารเคมี มีคาสัมประสิทธ์ิ

โดยที่ α = คาสัมประสิทธ์ิของความเที่ยงของเคร่ืองมือที่ใชวัด

Σ Si2 = ผลรวมของความแปรปรวนของคะแนนทีไ่ดจากแตละขอ

ST2 = คาความแปรปรวนของคะแนนจากขอคาํถามทุกขอ

N = จํานวนขอคําถามหรือรายการทั้งหมดที่ใชวัด

N 1- Σ Si2

N-1 ST2

Page 66: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

57

อัลฟาครอนบาคตํ่าที่สุด (0.515) แตอยางไรก็ตาม ก็ยังสูงกวาคาที่ยอมรับได ดังนั้น แบบสอบถามฉบับนี้

จึงมีความเที่ยงเพียงพอที่จะนําไปใชในการเก็บขอมูล

3.6 การเก็บรวบรวมขอมูล

1. ผูศึกษาไดทําการเก็บรวบรวมขอมูลในปการศึกษา 2556 โดยทําการแจกแบบสอบถามดวย

ตนเอง เพ่ือเก็บขอมูลจากพนักงานใน บริษัท บลูสโคป สตีล (ประเทศไทย) จํากัด จํานวน 100 คน

2. สรุปผลและจัดเก็บผลแบบสอบถามอยางเปนหมวดหมู

3.7 การวิเคราะหขอมูล

การวิเคราะหขอมูลในการศึกษาเร่ือง ความรูและทัศนคติตอพฤติกรรมความปลอดภัยใน

การทํางาน กรณีศึกษา การปองกันโรคผิวหนังที่เกิดจากสารเคมีโรงงาน บริษัท บลูสโคป สตีล

(ประเทศไทย) จํากัด วิเคราะหดวยโปรแกรม SPSS for Windows Version 17 เพ่ือหาคาสถิติ ดังนี้

1. การวิเคราะหคุณสมบัติพ้ืนฐานของประชากร โดยใชสถิติเชิงพรรณนา คารอยละ คาเฉลี่ย (Mean)

และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เพ่ือบรรยายรายละเอียดของคุณสมบัติพ้ืนฐานของ

ประชากร

2. ความรูเกี่ยวกับการปองกันอันตรายฯ เปนคําถามใหเลือกตอบ 4 คําตอบ โดยมีขอคําถาม

ทั้งหมด 8 ขอ ถาผูตอบตอบคําถามถูกให 1 คะแนน ตอบผิดให 0 คะแนน

เกณฑการแปลผลในดานความรูเกี่ยวกับการปองกันอันตรายฯ โดยใชคาเฉลี่ย ดังนี้

0 - 0.330 หมายถึง มีความรูเกี่ยวกับเกี่ยวกับการปองกันอนัตรายฯ ในระดับตํ่า

0.340 - 0.670 หมายถึง ความรูเกี่ยวกับเกี่ยวกับการปองกันอันตรายฯ ในระดับปานกลาง

0.680 - 1.00 หมายถึง ความรูเกี่ยวกับการปองกันอันตรายฯ ในระดับสูง

3. การวิเคราะหลักษณะของตัวแปรอิสระ และตัวแปรตาม รวมถึง ระดับของพฤติกรรมความปลอดภัย

ในการทํางานโดยใชสถิติเชิงพรรณนา คาเฉลี่ย (Mean) และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

เกณฑการแปลความหมายคะแนนเฉลี่ยของตัวแปรแตละตัว สําหรับตัวแปรที่มีคะแนน

ต้ังแต 1- 4 คะแนน ซ่ึงไดแก ตัวแปรอิสระ และตัวแปรตาม สามารถแปลผลได ดังนี้

Page 67: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

58

คะแนนเฉลี่ย 3.25 - 4.00 หมายถึง ดีมาก

คะแนนเฉลี่ย 2.51 - 3.25 หมายถึง ดี

คะแนนเฉลี่ย 1.76 - 2.50 หมายถึง นอย

คะแนนเฉลี่ย 1.00 - 1.75 หมายถึง นอยมาก

4. ศึกษาความสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม ดวยสถิติเชิงอนุมาน คือ

สัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ (Pearson Correlation)

การวิเคราะหคาสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระและตัวแปรตามได

กําหนดการแปลความ ดังนี้ (บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธ, 2543: 45)

1.00 หมายถึง มีความสัมพันธสูงสุด

0.710 - 0.990 หมายถึง มีความสัมพันธสูง

0.400 - 0.700 หมายถึง มีความสัมพันธคอนขางสูง

0.210 - 0.400 หมายถึง มีความสัมพันธคอนขางตํ่า

< 0.200 หมายถึง มีความสัมพันธตํ่า

Page 68: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

บทที่ 4

ผลการวิเคราะหขอมูล

บทนี้จะนําเสนอผลการวิเคราะห เร่ือง ความรูและทัศนคติตอพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน

กรณีศึกษา: การปองกันโรคผิวหนังจากการใชสารเคมีโรงงาน บริษัท บลูสโคป สตีล (ประเทศไทย) จํากัด

โดยจะนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลแบงออกเปน 3 ตอน เพ่ือตอบวัตถุประสงคของการศึกษา ดังนี้ ตอนที่ 1 สภาพทั่วไปของประชากร

ตอนที่ 2 สถิติเชิงพรรณนาของตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม

ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะหความสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม

4.1 สภาพท่ัวไปของประชากร

ผูศึกษาไดดําเนินการเก็บขอมูลจากพนักงานของ บริษัท บลูสโคป สตีล (ประเทศไทย) จํากัด

ที่เปนกลุมประชากรโดยแจกแบบสอบถาม ซ่ึงผูศึกษาไดดําเนินการเก็บตัวอยางดวยตนเอง ผูศึกษา

ไดอธิบายวัตถุประสงค และมีหนังสือขอความอนุเคราะหในการชวยตอบแบบสอบถามแนบไปกับ

แบบสอบถามทุกฉบับ และทําการเก็บขอมูลจากประชากรทั้งหมด 100 คน โดยทําการเลือกทั้งหมด

เนื่องจากประชากรมีจํานวนไมมากนัก

ผูศึกษาไดแจกแบบสอบถาม และไดแบบสอบถามฉบับสมบูรณกลับคืนมาจํานวน 100 ชุด

คิดเปนรอยละ 100 ซ่ึงเปนแบบสอบถามท่ีสมบูรณเพียงพอตอการวิเคราะห เมื่อนําแบบสอบถามที่

รวบรวมไดมาทําการวิเคราะหสถานภาพสวนตัวของประชากรตามแบบสอบถาม ตอนที่ 1 เพ่ือเปน

การพรรณนาถึงสถานภาพสวนตัวของผูตอบแบบสอบถามโดยใชสถิติพรรณนา คือ คารอยละ และ

คาเฉลี่ย ผลการวิเคราะห ดังตารางที่ 4.1

Page 69: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

60

ตารางที่ 4.1 จํานวนและรอยละของประชากรจําแนกตามสถานภาพสวนบุคคล

สถานภาพ รวม

จํานวน รอยละ

เพศ

ชาย 87 87.0

หญิง 13 13.0

อายุ (ป)

20 - 30 21 21.0

31 - 40 46 46.0

41 - 50 28 28.0

51 - 60 5 5.00

ระดับการศึกษา

มัธยมศึกษาตอนตนหรือตํ่ากวา

มัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา

อนุปริญญาหรือเทียบเทา

ปริญญาตรี

สูงกวาปริญญาตรี

32

33

22

12

1

32.0

33.0

22.0

12.0

1.00

ระดับพนักงาน

หัวหนางาน

ผูปฎิบัติงาน

ระยะเวลาการปฏิบัติงาน

นอยกวา 1 ป

1 - 5 ป

6 - 10 ป

มากกวา 10 ป

15

85

32

31

34

3

15.0

85.0

32.0

31.0

34.0

3.00

Page 70: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

61

ตารางที่ 4.1 (ตอ)

สถานภาพ รวม

จํานวน รอยละ

รายได

นอยกวา 10,000 บาทตอเดือน

15

15.0

10,000 - 20,000 บาทตอเดือน 56 56.0

20,001 - 30,000 บาทตอเดือน

มากกวา 30,000 บาทตอเดือน

18

11

18.0

11.0

การอบรมเกีย่วกับการปองกัน

เคยอบรม

ไมเคยอบรม

33

67

33.0

67.0

จากตารางที่ 4.1 ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเปน เพศชาย รอยละ 87.0 ที่เหลือเปน เพศหญิง

รอยละ 13.0 ผูตอบแบบสอบถามมีอายุระหวาง 31 - 40 ป คิดเปน รอยละ 46.0 รองลงมา รอยละ 28.0

มีอายุอยู ระหวาง 40 - 50 ป ซ่ึงชวงอายุดังกลาวเปนชวงของวัยทํางาน เปนชวงที่พรอมทั้งทางดาน

ความรู ประสบการณ พลังในการแสดงความมีสวนรวม ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญมีระดับการศึกษา

อยูในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา คิดเปนรอยละ 33.0 รองลงมาเปนระดับมัธยมศึกษา

ตอนตนหรือตํ่ากวา รอยละ 32.0 สวนใหญ รอยละ 85.0 เปนผูปฎิบัติงาน ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญมี

ระยะเวลาการปฏิบัติงาน 6 - 10 ป รอยละ 34.0 รองลงมามีระยะเวลาการปฏิบัติงาน นอยกวา 1 ป รอยละ

32.0 สวนใหญมีรายได 10,000 - 20,000 บาทตอเดือน รอยละ 56.0 รองลงมามีรายได 20,001 - 30,000 บาท

ตอเดือน รอยละ 18.0 ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญไมเคยอบรมเกี่ยวกับการปองกันฯ คิดเปนรอยละ 67.0

Page 71: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

62

4.2 สถิติเชิงพรรณนาของตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม

ตัวแปรตามของการศึกษานี้ คือ พฤติกรรมการการปองกันอันตรายฯ ของผูปฏิบัติงาน

บริษัท บลูสโคป สตีล (ประเทศไทย) จํากัด และมีตัวแปรอิสระ คือ ความรูเร่ืองการปองกันอันตรายฯ

และทัศนคติดานการปองกันอันตรายฯ เมื่อนําแบบสอบถามที่เก็บรวบรวมไดมาหาคาเฉลี่ย และคา

เบี่ยงเบนมาตรฐาน ดังตารางที่ 4.2

ตารางที่ 4.2 คาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐานของพฤติกรรมการปองกันโรคผิวหนังและตัวแปรอิสระ

ตัวแปร คาเฉลี่ย สวนเบ่ียงเบน

มาตรฐาน

แปลความ

ตัวแปรตาม

พฤติกรรม การปองกันโรคผิวหนัง 3.06 0.500 ดี

ตัวแปรอิสระ

1) ความรูเร่ือง การปองกันโรคผิวหนังฯ 0.860 0.160 สูง

2) ทัศนคติ เร่ืองการปองกันโรคผิวหนัง 3.22 0.340 ดี

จากตารางที่ 4.2 การหาคาเฉลี่ยของตัวแปรตาม คือ พฤติกรรมเร่ืองการปองกันโรคผิวหนัง พบวา

ระดับของพฤติกรรม เร่ืองการปองกันโรคผิวหนังในภาพรวมอยูในเกณฑดี คือ มีคาเฉลี่ย 3.06 สวนตัว

แปรอิสระ คือ ความรูเร่ือง การปองกันโรคผิวหนังฯ มีคาเฉลี่ย 0.860 ซ่ึงสามารถแปลผลไดวา ผูตอบ

แบบสอบถามมีความรูอยูในระดับที่สูง สวนทัศนคติ เร่ืองการปองกันโรคผิวหนัง มีคาเฉลี่ยอยูท่ี 3.22 อยู

ในเกณฑที่ดี

4.2.1 พฤติกรรม เรื่องการปองกันโรคผิวหนัง

จากการศึกษาพฤติกรรมการการปองกันอันตรายฯ ของผูปฏิบัติงาน เมื่อนํามาวิเคราะหรายขอ

ดังตารางที่ 4.3

Page 72: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

63

ตารางที่ 4.3 คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับของพฤติกรรมการการปองกันอันตรายฯ (รายขอ

คําถาม)

พฤติกรรมการการปองกนัอันตราย ฯ คาเฉลี่ย

สวน

เบ่ียงเบน

มาตรฐาน

ระดับของ

พฤติกรรมฯ

1) ทานทํางานเกี่ยวกับสารเคมีโดยไมสวมใสอุปกรณ

ปองกัน

1.71 1.01 นอยมาก

2) ทานเลือกใชอุปกรณปองกันสารเคมีตามชนิดของ

สารเคมี

3.04 1.00 ดี

3) ทานเลือกใชอุปกรณปองกันสารเคมีตาม Site 3.19 0.837 ดี

4) ทานเสนอแนะใหมีการปรับปรุงพ้ืนที่การจัดเก็บ

สารเคมีใหมั่นใจวาปลอดภัย

3.02 0.899 ดี

5) ทานเตือนเพ่ือนใหสวมใสอุปกรณปองกันความ

ปลอดภัยเมื่อตองทํางานเกี่ยวกับสารเคม ี

3.24 0.830 ดี

6) ทานสวมใสอุปกรณปองกันความปลอดภัยทุกคร้ัง

เมื่อทํางานเกี่ยวกับสารเคมี

3.53 0.643 ดีมาก

7) ทานทําความสะอาดอุปกรณปองกันความปลอดภัย

ทุกคร้ังเมื่อทํางานเกี่ยวกับสารเคมี

3.34 0.714 ดีมาก

8) ทานตรวจสอบ กอน หลัง ใชอุปกรณปองกันความ

ปลอดภัยทุกคร้ังเมื่อทํางานเกี่ยวกับสารเคมี

3.44 0.715 ดีมาก

จากตารางที่ 4.3 เมื่อนํารายการขอคําถามมาวิเคราะหรายขอ พบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญ

มีพฤติกรรมการสวมใสอุปกรณปองกันความปลอดภัยทุกคร้ัง เมื่อทํางานเกี่ยวกับสารเคมี มีคาเฉลี่ย

สูงสุด คือ 3.53 ซ่ึงอยูในระดับดีมาก รองลงมา คือ การตรวจสอบ กอนและหลังการใชอุปกรณปองกัน

ความปลอดภัยทุกคร้ัง เมื่อทํางานเกี่ยวกับสารเคมี มีคาเฉลี่ย 3.44 และการทําความสะอาดอุปกรณปองกัน

ความปลอดภัยทุกคร้ัง เมื่อทํางานเกี่ยวกับสารเคมี มีคาเฉลี่ย 3.34 ซ่ึงทั้ง 3 ขอ มีระดับพฤติกรรมอยูใน

เกณฑที่ดีมาก สวนที่มีคะแนนนอยที่สุด คือ การเสนอแนะใหมีการปรับปรุงพ้ืนท่ีการจัดเก็บสารเคมีให

มั่นใจวาปลอดภัย มีคาเฉลี่ยอยูที่ 3.02 แตก็มีระดับพฤติกรรมอยูในเกณฑท่ีดี สวนรายการขอคําถามที่ 1

Page 73: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

64

เปนคําถามเชิงลบ คือ การทํางานเกี่ยวกับสารเคมีโดยไมสวมใสอุปกรณปองกัน มีคาเฉลี่ย 1.71 ซ่ึง

สามารถแปลผลไดวา มีระดับพฤติกรรมที่นอยมาก ซ่ึงเปนพฤติกรรมที่เหมาะสม

4.2.2 ความรูเกี่ยวกับการปองกันอันตรายฯ

ความรูเกี่ยวกับการปองกันอันตรายฯ คือ พ้ืนฐานที่จะสงผลใหเกิดทัศนคติดานความปลอดภัย

และสงผลตอพฤติกรรมความปลอดภัย ซ่ึงการวิเคราะหจะมีเพียงถูกกับผิด โดยใชคาเฉลี่ยในการแปลผล

ในดานความรู เมื่อนํามาวิเคราะหรายขอ ดังตารางที่ 4.4

ตารางที่ 4.4 คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับของความรู เกี่ยวกับการปองกันอันตรายฯ

(รายขอคําถาม)

ความรูเกี่ยวกับการปองกนัอันตรายฯ คาเฉลี่ย

สวน

เบี่ยงเบน

มาตรฐาน

ระดับของ

ความรูฯ

1) สารเคมีในบริเวณที่ทํางาน จะมีอันตรายตอผิวหนังของ

คนงานหรือไม

0.870 0.338 สูงมาก

2) การทํางานเกี่ยวกับสารเคมีโดยไมมีอาการใดๆ แปลวา

สารเคมีที่ใชไมเปนอันตรายตอผิวหนังใชหรือไม

0.830 0.378 สูงมาก

3) ทานทํางานเกี่ยวกับสารเคมีโดยไมสวมใสอุปกรณ

ปองกันภัยทานคิดวารางกายสวนใดสัมผัสกอน

0.830 0.378 สูงมาก

4) สารเคมีมีกี่ประเภท 1.00 0 สูงมาก

5) สัมผัสกับสารเคมีแลว เกิด อาการ ระคายเคือง หรือคัน

แสบรอน ควรทําอยางไรลําดับแรก

0.700 0.461 สูงมาก

6) ขณะทํางานเกี่ยวกับสารเคมีควรสวมใสอุปกรณปองกัน

ภัยหรือไม

1.00 0 สูงมาก

7)

8)

การสวมใสอุปกรณปองกันภัยสวนบุคคลเมื่อทํางาน

เกี่ยวกับสารเคมีมีประโยชนอยางไร

การสวมใสอุปกรณปองกันภัยสวนบุคคลที่สกปรกเมื่อ

ทํางานเกี่ยวกับสารเคมีมีผลเสียอยางไร

0.870

0.760

0.338

0.429

สูงมาก

สูงมาก

Page 74: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

65

จากตารางที่ 4.4 เมื่อนํารายการคําถามมาวิเคราะหรายขอ พบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญมี

ความรูในระดับที่สูงมากทุกขอคําถาม โดยมี 2 ขอคําถามท่ีผูตอบแบบสอบถามตอบถูกหมดทุกคนคิด

เปนรอยละ 100 คือ สารเคมีมีกี่ประเภท และขณะทํางานเกี่ยวกับสารเคมีควรสวมใสอุปกรณปองกันภัย

หรือไม สวนขอคําถามที่มีคาเฉลี่ยตํ่าสุด คือ สัมผัสกับสารเคมีแลวเกิดอาการ ระคายเคือง หรือคันแสบ

รอน ควรทําอยางไรลําดับแรก มีคาเฉลี่ย 0.700 แตก็ยังอยูในระดับความรูที่สูงมาก

4.2.3 ทัศนคติเรื่องการปองกันโรคผิวหนังจากการทํางานเกี่ยวกับสารเคมี

ทัศนคติ คือ ความคิดความเขาใจหรือสภาวะความพรอมทางจิตที่บุคคลมีตอส่ิงเราตาง ๆ เชน

คน สัตว วัตถุ และสถานการณตาง ๆ อันเปนผลมาจากประสบการณความเช่ือ ที่จะสงผลตอการ

ตัดสินใจ อารมณ ทาทีที่แสดงออกมาเปนพฤติกรรมในทางใดทางหนึ่ง ทัศนคติตอความปลอดภัยท่ีเกิด

จากประสบการณและการหลอหลอมจากสถาบันครอบครัว สถานประกอบการ ทั้งจากการไดรับความรู

มีตอพฤติกรรมความปลอดภัยที่ดีตอไป เมื่อนํามาวิเคราะหรายขอ ผลดังตารางที่ 4.5

ตารางที่ 4.5 คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับของทัศนคติการปองกันอันตราย (รายขอคําถาม)

ทัศนคติ เรื่องการปองกันฯ คาเฉลี่ย

สวน

เบี่ยงเบน

มาตรฐาน

ระดับของ

ทัศนคติฯ

1) การทํางานเกี่ยวกับสารเคมีโดยที่ไมสวมใสอุปกรณ

ปองกันทําใหเปนโรคผิวหนัง หรือโรคอื่น ๆ ได

3.63 0.734 ดีมาก

2) อุปกรณปองกนัอันตรายสวนบุคคลทําใหหงุดหงิด

รําคาญเวลาสวมใส

2.02 0.829 นอย

3) ทานรูสึกโกรธเมื่อมีคนบังคับใหสวมใสอุปกรณปองกัน

ความปลอดภัย

1.89 0.920 นอย

4) ทานเห็นดวยหรือไมวาการทํางานเกี่ยวกับสารเคมีจะ

สงผลตอรางกายระยะยาวได

3.63 0.677 ดีมาก

5) ถามีโอกาสทานจะสนับสนุน หรือ รณรงคการปองกัน

โรคผิวหนังที่เกิดจากการทํางานเกี่ยวกับสารเคมีโดยให

สวมใสอุปกรณปองกันสวนบุคคล

3.65 0.557 ดีมาก

6) ทานเห็นดวยหรือไมวาอันตรายของสารเคมีมีทั้งชนิด

เฉียบพลันและเร้ือรัง

3.66 0.536 ดีมาก

Page 75: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

66

ตารางที่ 4.5 (ตอ)

ทัศนคติ เรื่องการปองกันฯ คาเฉลี่ย

สวน

เบี่ยงเบน

มาตรฐาน

ระดับของ

ทัศนคติฯ

7) ตอไปนี้ทานจะบอกเพ่ือนทกุคร้ังใหสวมใสอุปกรณ

ปองกันความปลอดภัยทุกคร้ังเมื่อทํางานเกี่ยวกับสารเคมี

3.62 0.648 ดีมาก

8) ตอไปนี้ทานจะสวมใสอุปกรณปองกันความปลอดภัยทุก

คร้ังเมื่อทํางานเกี่ยวกับสารเคมี

3.69 0.662 ดีมาก

จากตารางที่ 4.5 ผูตอบแบบสอบถามมีระดับของทัศนคติการปองกันอันตรายที่สูงที่สุด คือ

ตอไปนี้ทานจะสวมใสอุปกรณปองกันความปลอดภัยทุกคร้ัง เมื่อทํางานเกี่ยวกับสารเคมี มีคาเฉลี่ย

3.69 ซ่ึงอยูในเกณฑที่ดีมาก และเกือบทุกหัวขอท่ีมีระดับทัศนคติอยูในเกณฑท่ีดีมาก สวนอุปกรณ

ปองกันอันตรายสวนบุคคลทําใหหงุดหงิดรําคาญเวลาสวมใส และทานรูสึกโกรธเมื่อมีคนบังคับให

สวมใสอุปกรณปองกันความปลอดภัย เปนรายการคําถามเชิงลบ เมื่อผลออกมา คือ ระดับทัศนคติ

นอย ซ่ึงเปนผลดี เพราะการแปลผลในทิศทางตรงกันขาม

4.3 ผลการเปรียบเทียบพฤติกรรมฯ จําแนกตามคุณลักษณะของประชากร

พฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางาน กรณีศึกษา การปองกันโรคผิวหนังท่ีเกิดจากสารเคมี

บริษัท บลูสโคป สตีล (ประเทศไทย) จํากัด จําแนกตามลักษณะสวนบุคคล เชน เพศ อายุ ระดับการศึกษา

ระดับพนักงาน อายุงาน รายได ประสบการณการฝกอบรม โดยใช การวิเคราะหความแปรปรวนแบบทาง

เดียว (One - Way ANOVA) ไดผลดังตารางที่ 4.6

Page 76: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

67

ตารางที่ 4.6 ผลการวิเคราะหความแปรปรวนเพ่ือเปรียบเทียบความแตกตางของพฤติกรรมความ

ปลอดภัย จําแนกตามลักษณะสวนบุคคล

Sum of

Squares

df Mean

Square

F Sig.

เพศ

Between Groups 1.60 16 0.100 0.852 0.624

Within Groups 9.71 83 0.117

Total 11.3 99

อายุ

Between Groups 13.4 16 0.835 1.31 0.209

Within Groups 52.7 83 0.636

Total 66.1 99

ระดับ

การศึกษา

Between Groups 21.3 16 1.33 1.27 0.233

Within Groups 86.8 83 1.05

Total 108 99

ระดับ

พนักงาน

Between Groups 1.89 16 0.118 0.901 0.571

Within Groups 10.9 83 0.131

Total 12.8 99

อายุงาน

Between Groups 25.8 16 1.61 2.60 0.0030*

Within Groups 51.6 83 0.621

Total 77.4 99

รายได

Between Groups 20.4 16 1.28 2.11 0.0150*

Within Groups 50.3 83 0.606

Total 70.8 99

ประสบการณ

การฝกอบรม

Between Groups 2.64 16 0.165 0.703 0.784

Within Groups 19.5 83 0.235

Total 22.1 99

จากตาราง 4.6 พบวา ตัวแปรคุณลักษณะสวนบุคคล ไดแก เพศที่แตกตางกัน อายุที่แตกตางกัน

ระดับการศึกษาที่แตกตางกัน ระดับพนักงานท่ีแตกตางกัน ประสบการณการฝกอบรมท่ีแตกตางกัน มี

พฤติกรรมความปลอดภัยในการปองกันโรคผิวหนังท่ีเกิดจากสารเคมี ไมแตกตางกัน ท่ีนัยสําคัญทางสถิติ

0.05 มีเพียงอายุงานที่แตกตางกัน และรายไดที่แตกตางกัน จะมีผลตอพฤติกรรมความปลอดภัยในการ

ปองกันโรคผิวหนังที่ เกิดจากสารเคมีแตกตางกัน ท่ีนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 ทั้งนี้ อาจเนื่องมาจาก

ประสบการณในการทํางานที่ยาวนานสงผลตอพฤติกรรมความปลอดภัย

Page 77: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

68

4.4 ผลการวิเคราะหความสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม

การวิเคราะหความสัมพันธระหวางตัวแปรตาม คือ พฤติกรรมความปลอดภัยในการปองกัน

โรคผิวหนังที่เกิดจากสารเคมี และตัวแปรอิสระ จํานวน 2 ตัว คือ ความรูการปองกันอันตรายฯ และ

ทัศนคติการปองกันอันตรายฯ โดยใช สัมประสิทธ์ิสหสัมพันธเพียรสัน (Pearson’s Coefficient) เพ่ือ

หาความสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม ผลดังตารางที่ 4.7

ตารางที่ 4.7 สัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม

พฤติกรรมฯ ความรูฯ ทัศนคติฯ คาเฉลี่ย สวนเบ่ียงเบน

มาตรฐาน

พฤติกรรมฯ 1.00 0.0210* 0.232* 3.06 0.504

ความรูฯ 1.00 0.0370* 0.858 0.337

ทัศนคติฯ 1.00 3.22 0.165

หมายเหตุ: * = p < 0.05

จากตารางที่ 4.7 ตัวแปรอิสระ ไดแก ความรูการปองกันอันตรายฯ และทัศนคติการปองกัน

อันตรายฯ มีความสัมพันธกับพฤติกรรมความปลอดภัยในการปองกันโรคผิวหนังที่เกิดจากสารเคมีในเชิง

บวก อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทุกตัว โดยตัวแปรอิสระท่ีมีความสัมพันธกับตัวแปรตามสูง

ที่สุด คือ ทัศนคติการปองกันอันตรายฯ กับพฤติกรรมความปลอดภัย มีคาสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ 0.232

รองลงมาเปนความรูการปองกันอันตรายกับพฤติกรรมความปลอดภัย มีคาสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ

0.0210 เมื่อพิจารณาความสัมพันธระหวางตัวแปรเปนรายคู พบวา ความรูการปองกันอันตรายฯ กับ

ทัศนคติการปองกันอันตรายฯ มีคาสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ 0.0370 ซ่ึงสามารถแปลความไดวา ความรูการ

ปองกันอันตรายกับพฤติกรรมความปลอดภัยมีความสัมพันธกันคอนขางตํ่า และทัศนคติการปองกัน

อันตรายกับพฤติกรรมความปลอดภัยมีความสัมพันธกันคอนขางตํ่า

Page 78: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

บทที่ 5

สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

การศึกษาคร้ังนี้เปนการศึกษาความรูและทัศนคติตอพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางาน

กรณีศึกษา การปองกันโรคผิวหนังที่เกิดจากสารเคมีของพนักงาน บริษัท บลูสโคป สตีล (ประเทศไทย)

จํากัด โดยมีวัตถุประสงคของการศึกษา จํานวน 4 ขอ คือ 1) ศึกษาระดับของพฤติกรรมความปลอดภัยใน

การทํางานของผูปฏิบัติงาน 2) ศึกษาพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางาน จําแนกตามตามปจจัยสวน

บุคคล 3) ศึกษาความสัมพันธระหวางความรูเร่ืองการปองกันโรคผิวหนังจากการใชสารเคมีอันตรายกับ

พฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางานของผูปฏิบัติงาน และ 4) ศึกษาความสัมพันธระหวางทัศนคติเร่ือง

การปองกันโรคผิวหนังจากการใชสารเคมีอันตรายกับพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางานของ

ผูปฏิบัติงาน

ตัวแปรตามที่ทําการศึกษา คือ พฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางาน และมีตัวแปรอิสระ คือ

ความรูและทัศนคติในการปองกันอันตราย ผูศึกษาเลือกการศึกษาแบบไมทดลอง (Non - Experimental

Design) ในรูปแบบการศึกษาเชิงสํารวจแบบตัดขวาง (Cross - Sectional Survey) ทั้งนี้เนื่องจากการศึกษา

คร้ังนี้ เปนการศึกษาถึงพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางาน ซ่ึงเปนการศึกษาปรากฎการณท่ีเกิดขึ้นตาม

ธรรมชาติที่เปนจริง โดยที่ผูศึกษาไมไดมีความพยายามท่ีจะบังคับคาตัวแปรใด ๆเพ่ือศึกษาผลกระทบตอ

ตัวแปรตาม มีหนวยการวิเคราะหเปนระดับบุคคล และเปนการเก็บขอมูลในชวงระยะเวลาใด ๆเพียงคร้ัง

เดียว ผลการศึกษาที่ไดจะนําไปใชในการเสนอแนะเปนแบบอยางในการดําเนินการเพ่ือใชเปนตนแบบใน

การสรางพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางานใหกับโรงงานอื่นในประเทศไทย โดยประชากรเปาหมาย

คือ พนักงานของ บริษัท บลูสโคป สตีล (ประเทศไทย) จํากัด จํานวน 100 คน โดยทําการเลือกทั้งหมด

เคร่ืองมือที่ใชในการศึกษาคร้ังนี้ ประกอบดวย 1) แบบสอบถาม ที่ผูศึกษาสรางขึ้นจากแนวคิด ทฤษฎี และ

นิยามปฏิบัติการ โดยนําแบบสอบถามที่สรางขึ้นไปทดลองกับ กลุมตัวอยางอื่นที่ไมใชกลุมตัวอยาง

เปาหมาย จํานวน 30 ตัวอยาง เพ่ือทดสอบหาความเที่ยง (Reliability) โดยหาคาสัมประสิทธ์ิแอลฟาครอน

บราค (Cronbach’s Alpha Coefficient) ผลการทดสอบไดคา 0.515 - 0.745 สวนผลการทดสอบท้ังฉบับได

0.686 ซ่ึงอยูในเกณฑที่สูงเพียงพอตอการนําไปใชจริง

การวิเคราะหขอมูลในการศึกษา ทําการวิเคราะหดวยโปรแกรม SPSS for Windows Version 17

เพ่ือหาคาสถิติที่ใชในการวิเคราะห ไดแก 1) สถิติเชิงพรรณนา ไดแก คารอยละ คาเฉลี่ย 2) การวิเคราะห

ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One - Way ANOVA) และ 3) การหาคาสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธอยางงาย

Page 79: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

70

(Simple Correlation Analysis) เพ่ือหาความสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระกับตัวแปรตาม และระหวางตัว

แปรอิสระกับตัวแปรอิสระ

5.1 สรุปและอภิปรายผล

การสรุปและอภิปรายผลการศึกษาคร้ังนี้ ผูศึกษาขอนําเสนอสรุปและอภิปรายผลการศึกษา

เพ่ือตอบวัตถุประสงคการศึกษา 4 ขอ ดังนี้

5.1.1 เพ่ือศึกษาระดับของพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางานของผูปฏิบัติงาน ใชสถิติเชิง

พรรณนา คาเฉลี่ย (Mean) และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เพ่ือตอบวัตถุประสงคขอที่ 1

ผลการศึกษา พบวา พฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางานของผูปฎิบัติงาน พบวา สวนใหญอยูในระดับ

ดี โดยขอที่มีระดับพฤติกรรมสูงสุด คือ การสวมใสอุปกรณปองกันความปลอดภัยทุกคร้ังเมื่อทํางาน

เกี่ยวกับสารเคมี มีคาเฉลี่ย 3.53 อยูในระดับดีมาก ซ่ึงแสดงใหเห็นวา ผูปฎิบัติรูจักปองกันตนเองเปนอยาง

ดี เพราะการสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางมีประสิทธิภาพ คือ เกิดจากความเต็มใจและ

เห็นวาส่ิงที่ปฏิบัตินั้นเปนส่ิงที่ดี ทั้งนี้ เนื่องมาจาก บริษัทฯ มีหลักการบริหารจัดการดานความปลอดภัย

บนหลักพ้ืนฐานของ 3E (ENGINEERING, EDUCATION, ENFORCEMENT) ในสวนนี้บริษัทได

พยายามปรับปรุงสภาพแวดลอมใหดีโดยลดอันตรายท่ีแหลงกําเนิด เพ่ือใหสารเคมีฟุงกระจายมากท่ีสุด

นอกจากนี้ บริษัทยังมีการใหความรูในเร่ืองการปองกันอันตรายจากสารเคมี ทั้งในรูปแบบการฝกอบรม

โปสเตอร แผนพับ ใบปลิว รวมถึงกิจกรรมสงเสริมดานความปลอดภัยตาง ๆ อีกท้ังยังใหผูปฏิบัติงาน

เล็งเห็นถึงประโยชนของอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล จึงสงผลใหผูปฏิบัติงานไมมีการตอตาน

การใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีกฎระเบียบและแนวทางการ

ปฏิบัติงานกับสารเคมีอยางปลอดภัยเพ่ือใหผูปฏิบัติงานใชเปนแนวทางในการปฏิบัติ จึงสงผลใหระดับ

ของพฤติกรรมความปลอดภัยฯ ออกมาในเกณฑที่ดี สอดคลองกับผลการศึกษาของ ทวีวัตร บุญทริกพร

พันธ (2547: 68) ที่ทําการศึกษาเร่ือง ทัศนคติดานความปลอดภัยในการทํางานของพนักงานแผนกทอผา

ของบริษัทแหงหนึ่งในพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ที่กลาววา การปลูกฝงจิตสํานึกใหกับพนักงาน

ทุกคนตองตระหนักถึงความปลอดภัยเปนสําคัญในการปฎิบัติงาน และพนักงานควรใหความรวมมือกับ

นายจางในเร่ืองการปฏิบัติงานตามกฎระเบียบขอบังคับดานความปลอดภัย ซ่ึงจะสงผลตอพฤติกรรม

ความปลอดภัยที่ดี

5.1.2 ผูปฎิบัติงานที่มีปจจัยสวนบุคคล ไดแก เพศ อายุ ระดับการศึกษา ระดับพนักงาน อายุงาน

รายได และประสบการณการฝกอบรมที่แตกตางกัน จะมีผลตอพฤติกรรมความปลอดภัยแตกตางกัน

เพ่ือตอบวัตถุประสงคขอที่ 2 ใชการวิเคราะหความแปรปรวนแบบทางเดียว (One - Way ANOVA)

Page 80: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

71

ผลการศึกษา พบวา ตัวแปรคุณลักษณะสวนบุคคล ไดแก เพศ อายุ ที่ระดับการศึกษา ระดับพนักงาน

และประสบการณการฝกอบรมที่แตกตางกัน มีพฤติกรรมความปลอดภัยในการปองกันโรคผิวหนังที่

เกิดจากสารเคมี ไมแตกตางกัน มีเพียงอายุงานและรายไดที่แตกตางกัน ที่มีผลตอพฤติกรรมความ

ปลอดภัยในการปองกันโรคผิวหนังท่ีเกิดจากสารเคมีท่ีแตกตางกัน ทั้งนี้ อาจเนื่องมาจากประสบการณ

ในการทํางานที่ยาวนานสงผลตอพฤติกรรมความปลอดภัย และอายุงานที่แตกตางกันจะไดรับการเรียนรู

ในเร่ืองตาง ๆ ส่ังสมไปตามอายุงาน อาจทําใหพฤติกรรมของมนุษยมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี

และพฤติกรรมในการปองกันอันตรายก็เชนกัน ผูปฎิบัติงานอาจมีพฤติกรรมและมีวิธีปฏิบัติในการ

จัดการอันตรายที่แตกตางกันทั้งดานพฤติกรรมในการเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล การ

ดูแลตนเอง และสุขลักษณะสวนบุคคลท่ีดีในการปฎิบัติงานกับสารเคมี สวนรายไดของผูปฎิบัติงานจะ

สูงขึ้นตามอายุงานจึงสงผลในแนวทางเดียวกัน เพราะบริษัทฯ ไดใหความใสใจในเร่ืองของความ

ปลอดภัย ซ่ึงมีการจัดฝกอบรมดานความปลอดภัยใหกับพนักงานทุกป ทําใหพนักงานสะสมความรูดาน

ความปลอดภัยตลอดเวลา

5.1.3 ความรูเร่ืองการปองกันอันตรายมีความสัมพันธเชิงบวกกับพฤติกรรมความปลอดภัย

เพ่ือตอบวัตถุประสงคขอที่ 3 จะใชสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ (Pearson Correlation) ผลการศึกษา พบวา

ความรูการปองกันอันตรายกับพฤติกรรมความปลอดภัย มีคาสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ 0.0210 ซ่ึงมี

ความสัมพันธในเชิงบวกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 แตเปนความสัมพันธคอนขางตํ่า จากผล

การศึกษารายขอในเร่ืองของความรูในการปองกันตนเองของพนักงานทุกขอจะอยูในระดับที่สูงมาก

แสดงวา ผูปฏิบัติงานมีองคความรูอยางเพียงพอตอการปองกันตนเอง ท้ังนี้ เนื่องมาจาก บริษัทฯ ไดให

ความรูแกพนักงานต้ังแตเร่ิมเขาโดยมีการปฐมนิเทศนดานความปลอดภัย รวมถึงมีการจัดทําแผนการ

ฝกอบรมประจําปที่ถูกเขียนไวในระเบียบปฏิบัติของบริษัทฯ และบริษัทฯ ยังมีระเบียบปฏิบัติ ท่ีกลาว

วา พนักงานทุกคนที่มีสวนเกี่ยวของกับการใชสารเคมีในโรงงานทุกประเภทจะตองผานการฝกอบรม

เร่ือง การจัดการสารเคมีเพ่ือความปลอดภัย กอนเร่ิมปฏิบัติงาน นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังใหความรูผาน

โปสเตอร แผนพับ ใบปลิวตาง ๆ รวมถึงบอรดประชาสัมพันธ สงผลใหพนักงานมีความรูในเร่ืองความ

ปลอดภัยในการปฎิบัติงานกับสารเคมีอยางถองแท แสดงใหเห็นไดจากผลการศึกษาที่มีระดับของความ

รูอยูในเกณฑที่สูงมากทุกขอ ซ่ึงสอดคลองกับผลการศึกษาของ ทวีวัตร บุญฑริกพรพันธ (2547: 68)

ที่ทําการศึกษาเร่ือง ทัศนคติดานความปลอดภัยในการทํางานของพนักงานแผนกทอผาของบริษัทแหง

หนึ่งในพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ที่พนักงานตองการใหมีการอบรมและใหความรูเกี่ยวกับ

ความปลอดภัยในการทํางานกอนเร่ิมทํางาน การจัดใหมีการอบรมและใหความรูเกี่ยวกับความปลอดภัย

ในการทํางานกอนเร่ิมทํางาน เปนการแสดงถึง ความเอาใจใสของนายจางตอความปลอดภัยของ

พนักงาน ซ่ึงจะสงผลตอพฤติกรรมความปลอดภัยในเชิงบวก และสอดคลองกับผลการศึกษาของ

Page 81: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

72

ศุภวัฒน เตชะพิทักษ (2548: 55) ที่ศึกษาพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท

โคราช เดนจิ จํากัด (K2) ผลการศึกษา พบวา ความถี่ในการฝกอบรม มีความสัมพันธกับพฤติกรรม

ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของพนักงานอยางมีนัยสําคัญ

5.1.4 ทัศนคติดานความปลอดภัยมีความสัมพันธเชิงบวกกับพฤติกรรมความปลอดภัย เพ่ือตอบ

วัตถุประสงคขอที่ 4 โดยใชจะใชสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ (Pearson Correlation) ผลการศึกษา พบวา

ทัศนคติการปองกันอันตรายฯ กับพฤติกรรมความปลอดภัย มีคาสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ 0.232 ซ่ึงมี

ความสัมพันธในเชิงบวกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 แตเปนความสัมพันธคอนขางตํ่า จากผล

การศึกษารายขอในเร่ืองทัศนคติการปองกันอันตรายโดยขอท่ีมีระดับที่สูงที่สุด คือ ตอไปนี้ทานจะสวม

ใสอุปกรณปองกันความปลอดภัยทุกคร้ังเมื่อทํางานเกี่ยวกับสารเคมี มีคาเฉลี่ย 3.69 ซ่ึงอยูในเกณฑที่ดี

มาก และเกือบทุกหัวขอที่มีระดับทัศนคติอยูในเกณฑที่ดีมาก ทั้งนี้เนื่องมาจากบริษัทฯ มีการสราง

วัฒนธรรมความปลอดภัยในรูปแบบตาง ๆ ทั้งในเร่ืองของสัญลักษณดานความปลอดภัย การสรางคานิยม

ดานความปลอดภัย ที่กําหนดใหพนักงานทุกคนตระหนักถึงความรับผิดชอบท่ีมีตอสุขภาพ ความ

ปลอดภัยและส่ิงแวดลอมและ พนักงานระดับผูจัดการและหัวหนางานตระหนักถึงความรับผิดชอบและ

ประโยชนที่มีตอสุขภาพ ความปลอดภัย ส่ิงแวดลอม และความสําเร็จของชุมชนตลอดเวลา ทําให

ผูปฏิบัติงานจะตองมีสวนรวมในการปฏิบัติรวมกัน โดยบริษัทมีจุดมุงหมายที่จะบรรลุความปลอดภัย ทั่ว

ทั้งภูมิภาคเอเชีย สงผลทําใหพนักงานเห็นวา ความปลอดภัยจึงเปนเร่ืองท่ีมีความสําคัญมากสงผลใหเกิด

ทัศนคติที่ดี อีกทั้งบริษัทฯ จะพยายามท่ีจะปรับเปลี่ยนทัศนคติดานความปลอดภัยของพนักงานผาน

ประสบการณที่บุคคลไดรับ โดยจะนําผูท่ีประสบการณในการเกิดอุบัติการณตาง ๆ มาเลาสูกันฟง จะมี

สวนสําคัญตอการเกิดทัศนคติของบุคคลตอส่ิงใดส่ิงหนึ่งได ท้ังในทางบวกและทางลบ รวมไปถึงการ

เปลี่ยนแปลงทัศนคติที่มีอยูเดิม และมักจะใชส่ือมวลชน (Mass Communications) ไดแก หนังสือพิมพ

วิทยุ โทรทัศน ภาพยนตร แมกระทั่งอินเตอรเน็ต (Internet) เพ่ือชักจูงใหผูปฎิบัติงานเกิดทัศนคติตอ

ความปลอดภัย โดยจะปอนขอมูลขาวสาร รวมทั้งแสดงความคิดเห็นตอบุคคลและเหตุการณที่เกิดขึ้นใน

องคกรอยูตลอดเวลา ดังนั้น ผูปฏิบัติงานจึงถูกโนมนาวความคิดจากส่ือมวลชนได ซ่ึงสอดคลองกับ

การศึกษาของ รังสรรค มวงโสรส (2553: 158) ที่ทําการศึกษา ปจจัยที่มีผลตอวัฒนธรรมความปลอดภัยใน

อุตสาหกรรมปโตรเคมี ที่พบวา การส่ือสารดานความปลอดภัย ความรับผิดชอบของบุคลากรดานความ

ปลอดภัยมีอิทธิพลทางตรงตอวัฒนธรรมความปลอดภัย

Page 82: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

73

5.2 ขอเสนอแนะ

จากผลการศึกษาเร่ือง ความรูและทัศนคติตอพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางาน

กรณีศึกษาการปองกันโรคผิวหนังที่เกิดจากสารเคมีของพนักงาน บริษัท บลูสโคป สตีล (ประเทศไทย)

จํากัด มีขอเสนอแนะ ดังนี้

5.2.1 ขอเสนอแนะจากผลการศึกษา

5.2.1.1 จากผลการศึกษา พบวา อายุงานท่ีสูงขึ้นจะมีการสะสมองคความรูดานความปลอดภัย

มากขึ้น สงผลตอทัศนคติดานความปลอดภัย อันนํามาซ่ึงพฤติกรรมดานความปลอดภัย ดังนั้น บริษัทฯ ควรที่จะ

มีการบริหารจัดการความรูโดยนําหลักการ การจัดการความรูมาใช Knowledge Management โดยการ

นําความรูหรือประสบการณของผูที่มีอายุงานมากขึ้นมาถายทอดใหคนรุนตอไป เปนการเปลี่ยนความรู

ที่มีอยูในตัวคน ที่เรียกวา ความรูแฝงเรน (Tacit Knowledge) ซ่ึงมีรากฐานมาจากการกระทําและ

ประสบการณ มีลักษณะเปนความเช่ือ ทักษะ และเปนอัตวิสัย (Subjective) มาเปนความรูชัดแจง

(Explicit Knowledge) โดยการถายทอดโดยวิธีการที่เปนทางการ ไมจําเปนตองอาศัยการปฏิสัมพันธกับ

ผูอื่นเพ่ือถายทอดความรู เชน นโยบายขององคกร กระบวนการทํางาน ซอฟตแวร เอกสาร กลยุทธ

เปาหมาย และความสามารถขององคกร

5.2.1.2 จากผลการศึกษา พบวา พฤติกรรมดานความปลอดภัยเกิดจากการท่ี ผูปฏิบัติงาน

ไมมีการตอตาน มีความเต็มใจ และมีสวนรวมในการปฏิบัติงานดวยความปลอดภัยและเต็มใจ ดังนั้น บริษัท

ควรนํากระบวนการการมีสวนรวมเขามาประยุกตใชในการบริหารจัดการดานความปลอดภัยในองคการ

โดยเร่ิมจากผูบริหารไดกําหนดนโยบายไวอยางชัดเจน ทําใหบุคลากรมีเปาหมายในการดําเนินงาน

เดียวกัน ทําใหมีความเต็มใจที่จะปฏิบัติและใหความรวมมือ การเขาไปมีสวนรวมในการปฎิบัตินั้น

บุคลากรคาดหวังวา เมื่อเขาไปมีสวนรวมแลวจะไดประโยชนทั้งตนเองและองคการ ซ่ึงอาจเปนทั้ง

ผลประโยชนในรูปแบบของเศรษฐกิจ ดังนั้น ความคาดหวังนี้เมื่อไดรับการตอบสนองจะสงผลใหเกิด

ความรวมมืออยางย่ังยืน การนําเสนอโครงการใด ๆ ขององคการเพ่ือใหบุคลากรสนใจและมีสวนรวมควร

จะตองพิจารณาและนําเสนอวาผูปฏิบัติงานจะไดอะไรจากการทําโครงการนี้ เชน เปนการเพ่ิมรายได หรือ

การมีรายไดที่มั่นคง หรือการมีอาชีพพิเศษ หรืออยางนอยจะสงผลใหมีสภาพการปฏิบัติงานที่ดีขึ้น เปน

ตน ส่ิงเหลานี้เปนปจจัยที่สําคัญที่จะทําใหบุคลากรเขามามีสวนรวมอยางจริงจัง เต็มใจ และจะเกิดการมี

สวนรวมอยางย่ังยืน อยางไรก็ตาม หากโครงการใดไมสอดคลองกับความคาดหวังกับผลประโยชนท่ี

บุคลากรตองการ หรือมีการกระจายผลประโยชนอยางไมเปนธรรม โครงการนั้นก็จะสงผลใหการมีสวน

Page 83: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

74

รวมไมเกิดประสิทธิภาพและไมย่ังยืนไดเชนกัน (Mitchell, 2005) ดังนั้น ผูท่ีตองการใหเกิดการมีสวน

รวมอยางจริงจังและย่ังยืนนั้น ควรที่จะตองพิจารณา ดังนี้ (พิชาย รัตนดิลก ณ ภูเก็ต, 2552: 25)

1) ใหความสําคัญกับบุคลากร โดยยึดบุคลากรเปนศูนยกลางและจะตองพิจารณา

ถึงผลประโยชนที่บุคลากรจะไดรับเปนหลัก

2) ยอมรับความรูและทักษะของบุคลากร โดยพิจารณาวาความรูและทักษะของ

บุคลากรเปนส่ิงที่มีคุณคาและมีผลตอการดําเนินการโครงการใดอยางมีประสิทธิภาพและ

ประสิทธิผล รวมทั้งการสงเสริมและพัฒนาศักยภาพของบุคลากรเพ่ือใหการมีสวนรวมเปนไปอยาง

เขมแข็งและย่ังยืน ซ่ึงส่ิงนี้จะเปนผลประโยชนท้ังสวนบุคคลและผลประโยชนทางดานสังคมดวย

กลาวคือ เมื่อบุคลากรมีความรูจะสงผลใหตนเองมีความรูสึกในการพัฒนาศักยภาพตนเอง ตนเองมี

คุณคา มีความภูมิใจในตนเอง และนําความรูมาองคการของตนตอไป

3) การสรางบรรยากาศความเปนอิสระ บุคลากรสามารถจะแสดงความคิดเห็น ความ

ตองการไดเมื่อขาดการควบคุมจากหัวหนางาน สงผลใหเห็นความตองการที่แทจริงของบุคลากร

4) สนับสนุนการริเร่ิมของบุคลากร เมื่อความคิดเกิดจากขอตกลงของคนในองคกร

จะสงผลใหเกิดการตอบสนองตอผลประโยชนท่ีแทจริง และเกิดความกระตือรือลนในการปฏิบัติงาน

ผลักดันโครงการใหประสบผลสําเร็จได ซ่ึงส่ิงนี้จะเปนผลประโยชนในเชิงสวนบุคคลดวยเพราะจะ

สงเสริมใหประชาชนมีความรูสึกนับถือตนเอง รูสึกวาตนเองมีพลังอํานาจในการจัดการ และมี

ความรูสึกถึงประสิทธิภาพที่จะตองบริหารจัดการโครงการใด

โครงการในการแกไขปญหาใด ควรใหบุคลากรรวมรับรูขอมูลต้ังแตตนจนจบ ซ่ึง

การรับรูขอมูลเปนสิทธิขั้นพ้ืนฐานของประชาชนในประเทศที่มีการปกครองแบบประชาธิปไตยทุก

ประเทศ การที่ใหบุคลากรรับทราบปญหา ซ่ึงถือวาเปนประเด็นแรก ๆ ของการเกิดโครงการนั้น

เพราะจะสงผลใหบุคลากรที่เกี่ยวของกับปญหานั้นมีความตระหนักตอปญหา และมีความรูอยาง

ลึกซ้ึงในพ้ืนที่จะสามารถนําเสนอขอมูลวาปญหาในเชิงลึกเปนเชนใด และจะมีมุมมองในการแกไข

ปญหาเชนใด เมื่อส่ิงที่ตนเองไดนําเสนอแลวถูกนํามาพิจารณาในโครงการจะเปนการกระตุนใหเกิด

การมีสวนรวมอยางจริงจังและย่ังยืน

ดังนั้น การที่จะทําใหเกิดพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางานอยางมีประสิทธิผลและ

ย่ังยืนนั้น ตองอาศัยกระบวนการมีสวนรวมในการปฏิบัติของคนในองคการเปนหลัก โดยมีนโยบาย

เปนเปาหมายและแนวทางในการปฎิบัติ เมื่อมีการปฏิบัติอยางซํ้าตอเนื่องกันมาก็จะกลายเปน

วัฒนธรรมตอไป

5.2.1.3 จากผลการศึกษา พบวา ความรูและทัศนคติดานความปลอดภัยมีผลในเชิงบวก

ตอพฤติกรรมความปลอดภัย ดังนั้น องคการควรที่จะเพ่ิมพูนความรูใหกับบุคลากรอยางตอเนื่อง โดย

Page 84: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

75

จะตองนําเร่ือง ขีดความสามารถ (Competency) มาใช การที่บุคคลจะมีพฤติกรรมที่ปลอดภัยในการ

ทํางานไดนั้นจะตองมีขีดความสามารถทางดานความปลอดภัยที่ถูกตองเหมาะสม ซ่ึงส่ิงเหลานี้จะตองมา

จากจิตสํานึกดานความปลอดภัยตลอดเวลาในการปฏิบัติงาน โดยการสรางจิตสํานึกดานความปลอดภัยที่

ดีจะมาจากการใหความรูที่ถูกตองเหมาะจะทําใหสามารถปรับเปลี่ยนเปนทัศนคติท่ีดีและแสดงออกมา

เปนพฤติกรรมไดในที่สุด จนสามารถท่ีจะเปนตัวอยางท่ีดีตอเพ่ือนรวมงาน และนํามาใชสอน อธิบาย

เพ่ือนรวมงานไดวาส่ิงใดดี ส่ิงใดไมดี ซ่ึงเร่ืองของความปลอดภัยจําเปนตองขวนขวายหาความรูดวย

ตนเอง เพ่ือนํามาประยุกตใชและวิเคราะหได ดังนั้น เร่ืองของการเรียนรูดานความปลอดภัยจึงเปนเร่ืองที่

สําคัญที่สุด เพราะอุบัติเหตุเกิดจากเหตุการณที่ไมไดคาดคิด ไมไดวาง ไมไดต้ังใจ การเรียนรูเร่ืองความ

ปลอดภัยจึงควรเรียนรูจากประสบการณของผูอื่นที่เคยไดรับอุบัติเหตุ ซ่ึงหาไดทั่วไป เชน หนังสือพิมพ

ภาพขาวจากโทรทัศน หรือแมแตการบอกเลาของเพ่ือนรวมงานดวยกันเอง

ดังนั้น ขีดความสามารถ คือ การที่บุคคลมีพฤติกรรมการปฏิบัติงานอยางปลอดภัย

อุปนิสัยที่ไมชอบเส่ียงภัย มีความระมัดระวัง และคุณลักษณะที่มีความใฝรูในเร่ืองของความปลอดภัย

สามารถนําเร่ืองที่เรียนรูมาวิเคราะหและนําไปใชปฏิบัติไดในที่สุด ซ่ึงจะมีผลและเปนตัวกําหนดการ

ทํางานอยางมีประสิทธิภาพ และปลอดภัย (รังสรรค มวงโสรส, 2553: 163)

โดย Liikamaa and Vanharanta (2003: 18) และ Kantola et al. (2005: 9) ไดกําหนดขีด

ความสามารถดานความปลอดภัยควรมีคุณสมบัติ ดังนี้

1) มีความสามารถในการเรียนรูดานความปลอดภัยดวยตนเอง คือ การที่

บุคคลจะขวนขวายหาความรูดานความปลอดภัยไดดวยตนเอง จากส่ือตาง ๆ ท่ีอยูรอบตัว เพ่ือนํามา

ปรับใชในการทํางานอยางปลอดภัย เพราะเห็นวาความรูดานความปลอดภัยเปนส่ิงที่สามารถเพ่ิม

ทักษะในการปฏิบัติงานได

2) มีความสามารถในการถายทอดความรู และประสบการณดานความ

ปลอดภัย คือ การที่บุคลนําความรูและประสบการณดานความปลอดภัยที่ตนเองมีอยูนํามาส่ือสารให

ผูอื่นไดรับทราบและใชเปนตัวอยางที่ดีในการปฏิบัติงานไดอยางปลอดภัย

3) ความสามารถในการวิเคราะหในเร่ืองความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน

แลวนําไปใชปฏิบัติ คือ การที่บุคคลวิเคราะหวาอะไรท่ีจะเปนสาเหตุท่ีจะทําใหเกิดอุบัติเหตุในการ

ปฏิบัติงานของตน และสามารถที่จะแสดงแนวคิดที่จะปรับปรุงงานดานความปลอดภัย รวมถึงการ

แสดงพฤติกรรมที่มีความระมัดระวัง ไมชอบทํางานเส่ียง มีความละเอียดรอบคอบ

ดังนั้น ขีดความสามารถของบุคคลที่จะตองมี คือ ความสามารถในการควบคุม

ตนเอง ความสามารถเรียนรูดวยตนเอง การแสวงหาความรู และระดับของความรู ความเขาใจใน

เร่ืองของความปลอดภัยจนสามารถแสดงออกมาเปนอุปนิสัยในการปฏิบัติงานอยางปลอดภัยได

Page 85: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

76

อยางชัดเจน ซ่ึงขีดความสามารถของบุคคลจะเปนตัวผลักดันที่จะใหเกิดพฤติกรรมดานความ

ปลอดภัยที่ดี การสรางขีดความสามารถของแตละบุคคลจะผานกระบวนการบริหารจัดการดาน

ทรัพยากรมนุษย

ในสวนของทัศนคติ คอนขางเปนเร่ืองนามธรรมเพราะเปนส่ิงที่แฝงอยูในตัว

บุคคล ซ่ึงเราไมสามารถจะเห็นรูปรางทัศนคติได ถาจะศึกษาทัศนคติของบุคคลก็สามารถทําไดโดย

ดูไดจากการแสดงพฤติกรรมของผูนั้น จากผลการศึกษา พบวา ทัศนคติของผูปฎิบัติงานเปนไปใน

เชิงบวก ซ่ึงจะเกิดขึ้นไดจากการส่ือสาร การส่ือสารท่ีมีประสิทธิภาพจะนําไปสูเปาหมายและเปน

หนทางเพ่ือที่จะบรรลุเปาหมาย และเปนดัชนีช้ีวัดท่ีสําคัญตัวหนึ่งของพฤติกรรมความปลอดภัย

โดยผูบริหารสามารถที่จะส่ือสารกับพนักงานได 3 วิธี ดังนี้ (Health Safety Executive, 2002: 65)

1) ผานพฤติกรรมของผูบริหารท่ีแสดงออกใหเห็น หมายความวา ผูบริหาร

สามารถที่จะส่ือสารถึงความสําคัญของอาชีวอนามัยและความปลอดภัย จําเปนตองแสดงใหเห็นเปน

ตัวอยางเพ่ือใหพนักงานตระหนักวาความปลอดภัยมีความสําคัญ เชน การเดินสํารวจความปลอดภัย

เขารวมประชุมคณะกรรมการความปลอดภัย ใหความรวมมืออยางจริงจังในการสอบสวนอุบัติเหตุ

อุบัติการณ และการเจ็บปวยของคนงาน

2) การส่ือสารผานการเขียนเปนลายลักษณอักษร เชน นโยบายอาชีวอนามัยและ

ความปลอดภัย การกําหนดบทบาทที่เกี่ยวของกับความรับผิดชอบดานความปลอดภัย มาตรฐานการทํางาน

อยางปลอดภัย การประเมินความเส่ียง ขอมูลและการปฏิบัติในการควบคุมความเส่ียง เปนตน

3) การส่ือสารผานการพูดคุยระหวางผูบริหารและผูปฏิบัติงาน ซ่ึงจะทําให

ผูบริหารสามารถที่จะใหผูปฏิบัติงานแสดงออกและชวยใหเขามีสวนรวมในความรูสึกท่ีเกี่ยวของ

กับความปลอดภัย

การส่ือสารในองคกรเปนการแบงปนรูปแบบ แนวคิดระหวางผูบริหารและ

ผูปฏิบัติงาน การกําหนดคานิยม ความเช่ือ ทัศนคติ จะถูกสงผานโดยกระบวนการส่ือสารหรือจะ

กระตุนสนับสนุน รณรงคดานความปลอดภัย มักจะใชกิจกรรมในการส่ือสารตาง ๆ เชน โปสเตอร

แผนพับ ใบปลิว เปนตน นอกจากนั้น คุณภาพและรูปแบบของการส่ือสารก็เปนส่ิงท่ีมีความสําคัญ

อีกดวย ความสัมพันธระหวางคุณภาพของการส่ือสารกับการทํางานอยางปลอดภัยจะถูกสงผาน

โดยการเรียนรูของผูปฏิบัติงานที่เกี่ยวของกับความเปนอันตรายในการทํางาน วิธีการปองกัน

อันตราย โดยองคกรที่มีชองทางการส่ือสารแบบเปดและมีความเช่ือมั่นในกระบวนการส่ือสารจะทํา

ใหผูปฏิบัติงานมีความรูสึกมั่นใจและมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็นตอความปลอดภัยได

(รังสรรค มวงโสรส, 2553: 157)

Page 86: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

77

5.2.2 ข้อเสนอแนะในการศึกษาคร้ังต่อไป

การศึกษาเร่ือง ความรูและทัศนคติตอพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางาน กรณีศึกษา

การปองกันโรคผิวหนังที่เกิดจากสารเคมีของพนักงาน บริษัท บลูสโคป สตีล (ประเทศไทย) จํากัด

มีขอเสนอแนะในการศึกษาคร้ังตอไป ดังนี้

5.2.2.1 การศึกษาฉบับนี้ศึกษาเฉพาะ บริษัท บลูสโคป สตีล (ประเทศไทย) จํากัด

เพียงบริษัทเดียว จึงเปนความคิดเห็นของคนเฉพาะในบริษัทนั้น การศึกษาคร้ังตอไปควรท่ีจะศึกษา

ในหลาย ๆ บริษัทเพ่ือใหมีขอมูลที่มากพอนํามาสรุปไดผลที่ชัดเจนมากย่ิงขึ้น หรือทําการศึกษาใน

บริษัทอื่นที่เกี่ยวของกันเพ่ือนําผลการศึกษามาเปรียบเทียบกัน

5.2.2.2 ควรปรับกรอบแนวคิดการศึกษา เพ่ือเลือกสรรปจจัยที่เกี่ยวของใหสอดคลอง

กับบริบทของกลุมประชากร เชน ศึกษาถึงปจจัยทางดานขีดความสามารถดานความปลอดภัย (Safety

Competence) การมีสวนรวมดานความปลอดภัย และการส่ือสารดานความปลอดภัย เปนตน

5.2.2.3 ควรเปลี่ยนวิธีการศึกษาเปนการศึกษาเชิงคุณภาพเพ่ือใหขอมูลในเชิงท่ีลึก

ขึ้นโดยทําการสัมภาษณหรือเฝาสังเกตุการปฏิบัติงานของกลุมประชากร

5.3 ขอจํากัดในการศึกษา

การศึกษาเร่ือง ความรู และทัศนคติตอพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางาน กรณีศึกษา

การปองกันโรคผิวหนังที่เกิดจากสารเคมีของพนักงาน บริษัท บลูสโคป สตีล (ประเทศไทย) จํากัด

มีขอจํากัดในการศึกษา ดังนี้

5.3.1 การศึกษาคร้ังนี้มีขอจํากัดในดานเวลาที่ทําการศึกษา เนื่องจากเปนการศึกษาแบบตัดขวาง

เก็บรวบรวมขอมูลเพียง 1 คร้ัง จึงทําใหสามารถทราบขอมูลไดในชวงระยะเวลานั้น

5.3.2 การศึกษาคร้ังนี้มีขอจํากัดในดานการใชไดทั่วไป การศึกษาคร้ังนี้เปนการศึกษาเฉพาะ

ในบริษัท บลูสโคป สตีล (ประเทศไทย) จํากัด ดังนั้น จึงมีขอจํากัดในการนําตัวแบบไปใชกับบริษัท

อื่นที่มีบริบทแตกตางกับ บริษัท บลูสโคป สตีล (ประเทศไทย) จํากัด

Page 87: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

บรรณานุกรม

กิตติ อินทรานนท. 2533. การจัดการทางวิศวกรรม. กรุงเทพมหานคร: ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. จิระวัฒน วงศสวัสดิวัฒน. 2538. ทัศนคติ ความเชื่อ และพฤติกรรม: การวัด การพยากรณ และการ

เปล่ียนแปลง. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ. จิราพร เพชรดํา และคณะ. 2554.รายงานการวิจัยปจจัยเสี่ยงที่มีผลตอพฤติกรรมเบี่ยงเบนของ

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนตน: กรณีศึกษา จังหวัดนครนายก. นครนายก: สํานักงานวัฒนธรรม จังหวัดนครนายก.

เจริญจิต ลีภัทรพณิชย. 2545. พฤติกรรมในการอนุรักษสิ่งแวดลอมของวัยรุน: กรณีศึกษานักเรียน มัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธศิลปศาสตร

มหาบัณฑิต สาขาสังคมศาสตรเพื่อการพัฒนา สถาบันราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา. จักรกริช ใจดี. 2542. ความเขาใจเกี่ยวกับประชาธิปไตย ของนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. วิทยานิพนธ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขารฐัศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. จํารอง เงินดี. 2545. จิตวิทยาท่ัวไป. กรุงเทพมหานคร: ภาควิชาจิตวิทยา คณะสังคมศาสตร

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. ฑิตยา สุวรรณะชฎ. 2531. กรอบแนวความคิดทฤษฏีของกระบวนวิธีการวิจัยวิทยาศาสตรสังคม. กรุงเทพมหานคร: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร. เติมศักดิ์ คทวณิช. 2546. จิตวิทยาท่ัวไป. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชัน่. ทวีวัตร บุญทริกพรพันธ. 2547. ทัศนคติดานความปลอดภัยในการทํางานของพนักงานแผนกทอผา

กรณีศึกษา บริษัทแหงหนึ่งในอําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ. วิทยานิพนธ พัฒนาแรงงานและสวัสดิการมหาบัณฑติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ทิพวรรณ หลอสุวรรณรัตน. 2547. ทฤษฎีองคการสมัยใหม. พิมพคร้ังที่ 5. กรุงเทพมหานคร: แซทโฟรพร้ินติ้ง. ธีระ กุลสวัสดิ์. 2544. พฤติกรรมการใชโทรศัพทมือถือในขณะขับรถของผูขับขี่รถยนตในเขต กรุงเทพมหานคร. ปญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารทั่วไป มหาวิทยาลัยบรูพา. นงลักษณ ไหวพรหม. 2552. จิตวิทยาท่ัวไป. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

Page 88: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

79

บริษัท บลูสโคป สตีล (ประเทศไทย) จํากัด. 2557. ขอมูลจํานวนพนักงาน. สืบคนวันที่ 13 มิถุนายน 2556 จาก http://www.bluescopesteel.co.th/coatedsteel/th/ourcompany.cfm?nID=90fd9d7d-b82c-4dc6-b0eb- b56b7eef2486&ID=422 บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. 2543. เทคนิคการสรางเครื่องมือรวบรวมขอมูลสําหรับการวิจัย. กรุงเทพมหานคร: เจริญผล. บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. 2549. เทคนิคการสรางเครื่องมือรวบรวมขอมูลสําหรับการวิจัย.

กรุงเทพมหานคร: B&B Publishing. บุญลือ ฉิมบานไร. 2539. ปจจัยดานการบริหาร คนงาน และสภาวะแวดลอมในสถานที่ทํางานที่มี ความสัมพันธกับการเกิดอุบัติเหตุจากการทํางาน: ปจจัยดานการบริหาร คนงาน และ สภาวะแวดลอมในสถานที่ทํางานที่มีความสัมพันธกับการเกิดอุบัติเหตุจากการทํางาน เปรียบเทียบสถานประกอบการปมโลหะที่มีความถี่ของการบาดเจ็บสูงและต่ํา จังหวัด สมุทรปราการ. วิทยานิพนธวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสุขศาสตรอุตสาหกรรมและ ความปลอดภัย มหาวิทยาลัยมหิดล. บุษกร ชีวะธรรมานนท. 2552. ความรูและพฤติกรรมในการจัดการขยะในครัวเรือนของนักศึกษา มหาวิยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี. ปญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขา การบริหารทั่วไป มหาวิทยาลัยบูรพา. ผลิน ภูจรูญ. 2548. การจัดการธุรกิจรวมสมัย. พิมพคร้ังที่ 4. กรุงเทพมหานคร: บริษัท เอกพิมพไท จํากัด. พรเกียรติ เนติขจร. 2546. ปจจัยท่ีมีความสัมพันธกับพฤติกรรมความปลอดภัย: กรณีศึกษา พนักงานโรงงานประกอบรถยนตในจังหวัดสมุทรปราการ. วิทยานิพนธวิทยาศาสตร มหาบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ. พิชาย รัตนดิลก ณ ภูเก็ต. 2552. องคการและการบริหารจัดการ. กรุงเทพมหานคร: บริษัท ธิงค บียอนด บุคส จํากัด. พิภัทร แสงสินธุศร. 2550. พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในเขตเทศบาลนคร ภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต. รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารทั่วไป มหาวิทยาลัยบูรพา. มธุริน เถียรประภากุล. 2555. ปจจัยท่ีมีผลตอพฤติกรรมความปลอดภัยของพนักงานหนวยงานผลิต โอเลฟนส 1 บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) สาขาที่ 2 โรงโอเลฟนส ไอ - หนึ่ง. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการสิ่งแวดลอม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร. ยุทธนา แซเตียว. 2547. การวัด การวิเคราะห และการจัดการความรู: สรางองคกรอัจฉริยะ. กรุงเทพมหานคร:

สถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติ.

Page 89: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

80

ยุทธนา ขําเกื้อ. 2548. ความรูความเขาใจเกี่ยวกับภาวะบกพรองในการเรียนรูของนักเรียน: การสํารวจกับครูและบุคลากรทางการศึกษาท่ีปฏิบัติงานโรงเรียนแกนนําจัดการเรียนรวม. สารนิพนธภาคจิตวิทยาและการแนะแนว มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ราชบัณฑิตสถาน. 2542. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร: ราชบัณฑิตยสถาน. รุงกิจ บูรณเจริญ. 2554. การจัดการขยะฐานศูนย: กรณีศึกษา โรงเรียนจอมพระประชาสรรค อําเภอ จอมพระ จังหวัดสุรินทร. วิทยานิพนธวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการ ส่ิงแวดลอม คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร. รุงรัตน ศรีสุริยเวชน. 2531. ปจจัยดานการบริหาร คนงาน และสภาวะแวดลอมในสถานที่ทํางานที่มี

ความสัมพันธกับการเกิดอุบัติเหตุจากการทํางาน: เปรียบเทียบสถานประกอบการปมโลหะท่ีมีความถี่ของการบาดเจ็บสูงและต่ํา จังหวัดสมุทรปราการ. วิทยานิพนธวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.

รังสรรค มวงโสรส. 2553. ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอวัฒนธรรมความปลอดภัยในอตุสาหกรรมปโตรเคมี. ดุษฎีนิพนธรัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

วลัยพร สกุลพอง. 2551. พฤติกรรมการจดัการขยะมลูฝอยของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองมาบตาพดุ จังหวดัระยอง. ปญหาพิเศษรฐัประศาสนศาสตรมหาบณัฑติ สาขาการบริหารทั่วไป มหาวทิยาลยับูรพา. วิจารณ พานิช. 2547. การจัดการความรูคืออะไรไมทํา - ไมรู. สืบคนวันที่ 13 มิถุนายน 2556 จาก

http://www.kmi.or.th/5_link/Article_PVicham/0001_IntroToKM2.html. วิจิตร บุณยะโหตระ. 2536. อุบัติภัย. พิมพคร้ังที่ 2. กรุงเทพมหานคร: วิคเกอร เพาวเวอร พรอยท. วิฑูรย สิมะโชคดี และวีระพงษ เฉลิมจิระรัตน. 2544. วิศวกรรมและการบริหารความปลอดภยัใน

โรงงาน. พิมพคร้ังที่ 14. กรุงเทพมหานคร: สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย - ญ่ีปุน) วิวรรธนกร สวัสดี. 2547. ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการเกิดอุบัติเหตุของพนักงานปฏิบัติการบริษัทเจริญ

โภคภณัฑปโตรเคมี จํากัด. สารนิพนธรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบรูพา. ศุภกนิตย พลไพรินทร. 2540. เทคนิคการประมวลผล. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพแพรพิทยา. ศุภวัฒน เตชะพิทักษ . 2548. ปจจัยท่ีมีความสัมพันธกับพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ของพนักงาน บริษัท โคราช เดนกิ จํากัด (K2). วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. สนิท ปนประดับ. 2548. จิตสํานึกในการปฏิบัติงานเพื่อความปลอดภัยในการทํางานของชางไฟฟา:

ศึกษากรณีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน. วิทยานิพนธสาขาเทคโนโลยี อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.

Page 90: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

81

สราวุธ สุธรรมาสา. 2542. เอกสารการสอนชุดวิชาการบริหารงานความปลอดภัย. พิมพคร้ังที่ 10. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทยัธรรมาธิราช.

สุระ จันลา. 2547. ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการรับรูระบบความปลอดภัยและพฤติกรรมความปลอดภัย ของพนักงานระดับปฏิบตัิการในโรงงานอตุสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส ในนคิมอุตสาหกรรม บานหวา (ไฮเทค). วิทยานิพนธวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา เจาคุณทหารลาดกระบัง.

สุจิตรา บุณยรัตพันธุ. 2546. ระเบียบวิธีวิจัยสําหรับรัฐประศาสนศาสตร. พิมพคร้ังที่ 7. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพเสมาธรรม.

สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามยาเสพติด. 2552. ความรูเร่ืองการจัดการองคความรู. คนวันที่ 13 มิถุนายน 2556 จาก http://km.oncb.go.th/forums/index.php/topic,27.0.html. สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม. 2542. ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย: ขอกําหนด มอก. 18001. กรุงเทพมหานคร: สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม อรพรรณ เมธาดิลกกุล. 2536. อาชีวเวชศาสตรและสิ่งแวดลอม. กรุงเทพมหานคร: ศูนยการพิมพแกนจันทร. อรอุมา พัชรวรภาส. 2547. ความรูความเขาใจและทัศนคติของขาราชการพลเรือนเกี่ยวกับการปฏิรูป

ระบบราชการ: กรณีศึกษาขาราชการพลเรือนในเขตกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑติ.

อารยา มะเขือเทศ. 2550. การรับรูและพฤติกรรมในการจัดการขยะของประชาชน: ศึกษากรณีเขต ลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา. Heinrich, H.W. 1931. Industrial Accident Prevention. New York: McGraw - Hill. Health and Safety Executive. 2002. Successful Health and Safety Management. London: HSE Books. Kantola, J., Vesanen, T., Karwowski, W. and Vanharanta, H. 2005. Physical Compatence

Simulation. New York: Paper presented at the 10th International Conference on Human Aspects of Advanced Manufacturing: Agility and Hybrid Automation, USA.

Liikamaa and Vanharanta. 2003. Project Managers’ Personal and Social Competencies and Creative Tensions. Thessaloniki: 10th International Conference on Human - Computer Interaction, Greece.

Philip, K., Hermawan, K. and Iwan,S. 2010. Marketing 3.0: From Products to Customers to the Human Spirit. New Jercy: John Wiley & Sons Inc.

Wo, P. 1988. Practical Occupational Health. Singapore: P.G.Publishing.

Page 91: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

ภาคผนวก

Page 92: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

83

หมายเลขแบบสอบถาม

แบบสอบถาม

ความรูและทัศนคติตอพฤติกรรมความปลอดภยัในโรงงาน กรณีศึกษา:

การปองกันโรคผิวหนัง จากการใชสารเคมี โรงงาน บริษัท บลูสโคป สตีล (ประเทศไทย) จํากัด

แบบสอบถามนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาดานส่ิงแวดลอม โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาถึง

ความรูและทัศนคติตอพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน โดยแบงออกเปน 5 ตอน ดังนี ้

ตอนที ่1 เปนขอมูลทั่วไป (ภูมิหลังพนักงาน)

ตอนที ่2 เปนคําถามเกี่ยวกับความรูเร่ืองการปองกันโรคผิวหนังที่เกิดจากการทํางานเกี่ยวกับสารเคมี

ตอนที่ 3 เปนคําถามเกี่ยวกับทัศนคติเร่ืองการปองกันโรคผิวหนังที่เกิดจากการทํางานเกี่ยวกับ

สารเคมี

ตอนที่ 4 เปนคําถามเกี่ยวกับพฤติกรรมเร่ืองการปองกันโรคผิวหนังท่ีเกิดจากการทํางานเกี่ยวกับ

สารเคมี

ตอนที ่5 เปนคําถามเกี่ยวกับขอเสนอแนะและแนวทางแกไขปรับปรุง

ผูวิจัยหวังเปนอยางย่ิง ที่จะไดรับความรวมมือจากทานในการตอบคําถาม และขอขอบพระคุณ

ทาน เปนอยางย่ิงที่เสียสละเวลาในการตอบแบบสอบถาม

ขอขอบคณุในความรวมมอืของทานมา ณ โอกาสนี้

อนุวรรธก แสนตรี

การจัดการส่ิงแวดลอม ภาคพิเศษ ในสวนภูมิภาค จ.ระยอง

คณะพัฒนาสังคมและส่ิงแวดลอม สถาบันบณัฑิตพัฒนบริหารศาสตร

Page 93: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

84

ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไป (ภูมิหลังพนักงาน)

โปรดเติมขอความลงในชองวาง หรือทําเคร่ืองหมาย ลงใน ( ) ที่ตรงกับขอมลูของทานมากทีสุ่ด

1. เพศ 1. ( ) ชาย 2. ( ) หญิง

2. อายุ 1. ( ) 18 - 26 ป 2. ( ) 27 - 35 ป

3. ( ) 36 - 44 ป 4. ( ) 45 ป ขึ้นไป

3. ทานสําเร็จการศึกษาสูงสุด

1. ( ) มัธยมศึกษาตอนตนหรือตํ่ากวา

2. ( ) มัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา

3. ( ) อนุปริญญาหรือเทียบเทา

4. ( ) ปริญญาตรี

5. ( ) สูงกวาปริญญาตรี

4. ระดับพนักงาน ปจจุบันทํางานตําแหนง

1. ( ) หัวหนางาน 2. ( ) ผูปฎิบัติงาน

5. ระยะเวลาการปฏิบัติงาน

1. ( ) นอยกวา 1 ป 2. ( ) 1 - 5 ป

3. ( ) 6 - 10 ป 4. ( ) มากกวา 10 ป

6. รายได

1. ( ) ตํ่ากวา 10 000 บาท 2. ( ) 10 000 - 20 000 บาท

3. ( ) 20 000 - 30 000 บาท 4. ( ) มากกวา 30 000 บาท

7. ทานเคยไดรับการอบรมเกี่ยวกับการปองกันโรคผิวหนังที่เกิดการการทํางานเกี่ยวกับสารเคมี

หรือไม

1. ( ) เคย 2. ( ) ไมเคย

Page 94: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

85

ตอนที่ 2 คําถามเกี่ยวกับความรูเร่ืองการปองกันโรคผิวหนังที่เกิดจากการทํางานเกี่ยวกับสารเคมี

โปรดพิจารณาเลือกขอความที่ถกูที่สุด และทําเคร่ืองหมาย ลงในชองวาง

1. สารเคมีในบริเวณที่ทํางาน จะมีอันตรายตอผิวหนังของคนงานหรือไม

1. ( ) ไมมีอันตราย เพราะไมมอีาการผิดปกติอะไรแสดงใหเห็น

2. ( ) ไมมีอันตราย เพราะเคยชินกับการการทํางานเกี่ยวกับสารเคมีอยูแลว

3. ( ) มีอนัตราย เพราะทําใหเปนโรคผิวหนังได

4. ( ) มีอนัตราย เพราะทําใหเปนโรคผิวหนัง หรือ โรคกับอวัยวะอื่น ๆ ได

2. หากทาน เคยชิน กับการทํางานเกี่ยวกับสารเคมีโดยไมมีอาการใด ๆ แปลวา สารเคมีที่ใชไมเปน

อันตรายตอผิวหนังใชหรือไม

1. ( ) ใช เพราะสารเคมีไมมอีันตรายใด ๆ

2. ( ) ใช เพราะ เคยชินกับการทํางานเกี่ยวกับสารเคมีแลว

3. ( ) ใช เพราะ ปจจุบันที่ทํางานเกี่ยวกับสารเคมี ก็ไมมอีาการใด ๆ แสดงใหเห็น

4. ( ) ไมใช เพราะทํางานเกี่ยวกับสารเคมี อาจจะยังไมแสดงผล นาน ๆ ไปจะสะสมและ

เปนพิษได

3. ถาหากทานทาํงานเกี่ยวกับสารเคมีโดยไมสวมใสอุปกรณปองกันภัยทานคิดวารางกายสวนใด

สัมผัสกอน

1. ( ) มือ ผิวหนัง

2. ( ) จมูก

3. ( ) ปาก

4. ( ) อวัยวะภายใน

4. สารเคมีมีกี่ประเภท

1. ( ) 6 ประเภท

2. ( ) 7 ประเภท

3. ( ) 8 ประเภท

4. ( ) 9 ประเภท

Page 95: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

86

5. ถาหากวาทานไดสัมผัสกับสารเคมีแลว เกิดอาการระคายเคืองหรือคัน แสบรอน ควรทําอยางไร

ลําดับแรก

1. ( ) ใหสวนที่สัมผัสผานน้ําสะอาดอยางนอย 15 นาที

2. ( ) ทายากอน

3. ( ) กินยากอน

4. ( ) ทายาบริเวณที่สัมผัส พรอมกับไปพบแพทย

6. ขณะทํางานเกี่ยวกับสารเคมีควรสวมใสอุปกรณปองกันภัยหรือไม

1. ( ) ไมควรสวมใส เพราะไมสะดวกตอการทํางาน

2. ( ) ไมควรสวมใส เพราะสารเคมีไมไดรุนแรงมากนัก

3. ( ) ควรสวมใส เพ่ือปองกันอันตรายจากสารเคมีที่อาจเขาสูรางกายได

4. ( ) ควรสวมใส เพราะหัวหนางานบังคับ

7. การสวมใสอุปกรณปองกันภัยสวนบุคคลเมื่อทํางานเกี่ยวกับสารเคมีมีประโยชนอยางไร

1. ( ) ไมมีประโยชน เพราะทํางทํางานชาลง

2. ( ) ไมมีประโยชน เพราะทําใหรําคาญ

3. ( ) มีประโยชน เพราะทําใหทํางานสะดวกขึ้น

4. ( ) มีประโยชน เพราะทําใหปองกันสารเคมีที่อาจจะทําใหเกิดโรคได

8. การสวมใสอุปกรณปองกันภัยสวนบุคคลที่สกปรกเมื่อทํางานเกี่ยวกับสารเคมีมีผลเสียอยางไร

1. ( ) ทําใหเปนโรคผิวหนัง

2. ( ) ทําใหรูสึกรําคาญ

3. ( ) ทําใหสัมผัสสารเคมีมากขึ้น

4. ( ) ทําใหเสียเวลาในการทําความสะอาด

Page 96: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

87

ตอนที่ 3 คําถามเกี่ยวกับ ทัศนคติ เรื่องการปองกนัโรคผิวหนังจากการทาํงานเกี่ยวกับสารเคมี

โปรดพิจารณาเลือกขอความตอไปนี้ใหตรงกับความเห็นของทานมากที่สุดและทํา

เคร่ืองหมาย ลงในชองวาง

ขอคําถาม เห็นดวย

มากที่สุด

เห็นดวย

อยางมาก

ไมเห็น

ดวย

ไมเห็นดวย

มากที่สุด

1. การทํางานเกี่ยวกับสารเคมีโดยที่ไมสวมใสอุปกรณ

ปองกันทําใหเปนโรคผิวหนัง หรือโรคอื่น ๆ ได

2. อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลทําใหหงุดหงิด

รําคาญเวลาสวมใส

3. ทานรูสึกโกรธเมื่อมีคนบังคับใหสวมใสอุปกรณ

ปองกันความปลอดภัย

4. ทานเห็นดวยหรือไมวาการทํางานเกี่ยวกับสารเคมีจะ

สงผลตอรางกายระยะยาวได

5. ถามีโอกาสทานจะสนับสนุน หรือ รณรงคการ

ปองกันโรคผิวหนังที่เกิดจากการทํางานเกี่ยวกับสารเคมี

โดยใหสวมใสอุปกรณปองกันสวนบุคคล

6. ทานเห็นดวยหรือไมวาอันตรายของสารเคมีมีทั้งชนิด

เฉียบพลันและเร้ือรัง

7. ตอไปนี้ทานจะบอกเพ่ือนทุกคร้ังใหสวมใสอุปกรณ

ปองกันความปลอดภัยทุกคร้ังเมื่อทํางานเกี่ยวกับ

สารเคมี

8. ตอไปนี้ทานจะสวมใสอุปกรณปองกันความปลอดภัย

ทุกคร้ังเมื่อทํางานเกี่ยวกับสารเคมี

Page 97: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

88

ตอนที่ 4 คําถามเกี่ยวกับ พฤติกรรม เรื่องการปองกันโรคผิวหนังจากการทํางานที่เกีย่วกับสารเคมี

โปรดพิจารณาเลือกขอความตอไปนี้ใหตรงกับความเห็นของทานมากที่สุดและทํา

เคร่ืองหมาย ลงในชองวาง

ขอคําถาม ทําบอยมาก ทําบอย นานๆครั้ง ไมเคยทํา

1.ทานทํางานเกี่ยวกับสารเคมีโดยไมสวมใสอุปกรณ

ปองกัน

2.ทานเลือกใชอุปกรณปองกันสารเคมีตามชนิดของ

สารเคมี

3.ทานเลือกใชอุปกรณปองกันสารเคมีตาม Site

4.ทานเสนอแนะใหมีการปรับปรุงพ้ืนที่การจัดเก็บ

สารเคมีใหมั่นใจวาปลอดภัย

5.ทานเตือนเพ่ือนใหสวมใสอุปกรณปองกันความ

ปลอดภัยเมื่อตองทํางานเกี่ยวกับสารเคม ี

6.ทานสวมใสอุปกรณปองกนัความปลอดภัยทุกคร้ัง

เมื่อทํางานเกี่ยวกับสารเคมี

7.ทานทําความสะอาดอุปกรณปองกันความปลอดภัย

ทุกคร้ังเมื่อทํางานเกี่ยวกับสารเคมี

8.ทานตรวจสอบ กอน หลัง ใชอุปกรณปองกันความ

ปลอดภัยทุกคร้ังเมื่อทํางานเกี่ยวกับสารเคมี

ตอนที่ 5 ขอเสนอแนะ/แนวทางแกไขปรับปรุง

1. ขอเสนอแนะทางดานขอมูลทั่วไป

.............................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

Page 98: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

89

2. ขอเสนอแนะดาน ความรู เร่ืองการปองกันโรคผิวหนังจากการทํางานเกี่ยวกับสารเคมี

.............................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

3. ขอเสนอแนะดาน ทัศนคติ เร่ืองการปองกันโรคผิวหนังจากการทํางานเกี่ยวกับสารเคมี

.............................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

4. ขอเสนอแนะดาน พฤติกรรม เร่ืองการปองกันโรคผิวหนังจากการทํางานเกี่ยวกับสารเคมี

.............................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

5. ขอเสนอแนะดานอื่น ๆ

.................................................................................................................................................... .........

.............................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

ขอขอบคุณทุกทานที่ใหความรวมมอื

Page 99: ความรู และทัศนคติต อพฤติกรรมความปลอดภัยในโรงงาน ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/20002.pdf ·

ประวัติผูเขียน

ชื่อ - นามสกุล นายอนุวรรธก แสนตรี ประวัติการศึกษา วิทยาศาสตรบัณฑิต (สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ) มหาวิทยาลัยขอนแกน ปท่ีสําเร็จการศึกษา พ.ศ. 2541 ประสบการณทํางาน พ.ศ. 2541 - 2545

บริษัท Nishimatsu Construction Co., Ltd. ตําแหนง HSE Officer พ.ศ. 2546 - 2549

บริษัท Elite Drilling Co., Ltd. ตําแหนง HSE Supervisor พ.ศ. 2549 - 2551 บริษัท Weatherford KSP Co., Ltd. ตําแหนง HSE Supervisor พ.ศ. 2551 - 2554 บริษัท Valence Co., Ltd. ตําแหนง HSE Officer พ.ศ. 2554 - 2555 บริษัท Uhde Thailand Co., Ltd. ตําแหนง Project HSE Professional พ.ศ. 2555 - ปจจุบัน

บริษัท บลูสโคปบิลดิ้งส (ประเทศไทย) จํากัด BlueScope Buildings (Thailand) Co., Ltd. เจาหนาท่ีความปลอดภัย Project HSE Professional