88
นายกมล บูรณพงศ์ รองอธิบดีกรมการขนส่งทางบก (ฝ่ายวิชาการ)

นายกมล บูรณพงศ์€¦ · •ชื่อผูประจ ารถ ใบอนุญาตผูประจ ารถ และ ต าแหนง

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • นายกมล บูรณพงศ์ รองอธิบดีกรมการขนส่งทางบก (ฝ่ายวิชาการ)

  • หัวข้อการน าเสนอ

    อุบัติเหตุที่เกิดจากรถบรรทุก บัญญัติ 10 ประการ กฎกระทรวงที่เกี่ยวข้อง มาตรฐานคุณภาพบริการขนส่งด้วยรถบรรทุก (Q Mark) และ

    MOU ที่เก่ียวข้อง โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการขนส่งสินค้าทางถนน

    รองรับการเปิดเสรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ความตกลงที่เก่ียวข้องกับการขนส่งทางถนนระหว่างประเทศ

  • ปัจจุบัน ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีจ านวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนท้องถนนมากที่สุดในโลกเป็นอันดับ 2 รองจากประเทศนามิเบีย

  • ถึงเวลาแล้วหรือยัง ? ที่เราต้องร่วมมือกันหยุดพฤติกรรมเสี่ยงเพื่อป้องกันอุบัติเหตุทางท้องถนน เพื่อก้าวสู่ทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางท้องถนน

  • ร่วมขจดัปัญหาอุบัติเหตุรถบรรทุก

    5

    รถจอดเสีย/จอดพกัรถขา้งทาง ไม่แสดงสัญญาณเตือนภยั

    19 มกราคม 2559 รถโดยสารชนทา้ยรถบรรทุกออ้ย อ.ชุมแพ จ.ขอนแก่น มีผูไ้ดร้บับาดเจ็บ 4 ราย

  • ร่วมขจดัปัญหาอุบัติเหตุรถบรรทุก

    6

    รถจอดเสีย/จอดพกัรถขา้งทาง ไม่แสดงสัญญาณเตือนภยั

    13 กุมภาพนัธ ์2559 รถโดยสารชนทา้ยรถพ่วง 18 ลอ้ บรรทุกออ้ย อ.ภูกระดึง จ.เลย มีผูเ้สียชีวิต 1 ราย ผูไ้ดร้บับาดเจ็บ 14 ราย

  • 18 มิถุนายน 2559 รถตูโ้ดยสารชนทา้ยรถบรรทุกพ่วง 18 ลอ้ ถนนฉลองกรุง เขตลาดกระบงั กทม. มีผูไ้ดร้บับาดเจ็บ 1 ราย

    ร่วมขจดัปัญหาอุบัติเหตุรถบรรทุก

    7

    จอดรถในทีห่า้มจอด

  • ร่วมขจดัปัญหาอุบัติเหตุรถบรรทุก

    8

    ขับรถผ่านทางรถไฟ

    30 ตุลาคม 2557 รถไฟชนประสานงากบัรถบรรทุก 10 ลอ้ อ.เมือง จ.ขอนแก่น มีผูเ้สียชีวิต 5 ราย ผูไ้ดร้บับาดเจ็บ 20 ราย

    ไม่ลดความเร็ว ไม่หยุด ไม่ระวงั

  • ร่วมขจดัปัญหาอุบัติเหตุรถบรรทุก

    9

    ขับรถผ่านทางรถไฟ ไม่ลดความเร็ว ไม่หยุด ไม่ระวงั 8 มกราคม 2559 รถบรรทุกพ่วง 18 ลอ้ พุ่งชนขบวนรถไฟ อ.เมือง จ.เพชรบุรี มีผูเ้สียชีวิต 5 ราย ผูไ้ดร้บับาดเจ็บ 30 ราย

  • ร่วมขจดัปัญหาอุบัติเหตุรถบรรทุก

    10

    ขับรถผ่านทางรถไฟ

    30 พฤษภาคม 2559 รถบรรทุกพ่วง 22 ลอ้ พุ่งชนขบวนรถไฟ อ.ก าแพงแสน จ.นครปฐม มีผูไ้ดร้บับาดเจ็บ 3 ราย

    ไม่ลดความเร็ว ไม่หยุด ไม่ระวงั

  • ร่วมขจดัปัญหาอุบัติเหตุรถบรรทุก

    11

    รถบรรทุกตูบ้รรทุกสินคา้ (Container)

    3 กุมภาพนัธ ์2557 ตูบ้รรทุกสินคา้ตกจากรถบรรทุกทบัรถตูโ้ดยสาร บริเวณทางต่างระดบัรงัสิตขาออก มีผูเ้สียชีวิต 1 ราย

    ไม่ใช ้Twist-lock ยดึตูส้ินคา้

  • ร่วมขจดัปัญหาอุบัติเหตุรถบรรทุก

    12

    รถบรรทุก ตูบ้รรทุกสินคา้ (Container)

    ไม่ใช ้Twist-lock ยดึตูส้ินคา้

  • ร่วมขจดัปัญหาอุบัติเหตุรถบรรทุก

    13

    รถบรรทุกตูบ้รรทุกสินคา้ (Container) ไม่ใช ้Twist-lock ยดึตูส้ินคา้

  • ร่วมขจดัปัญหาอุบัติเหตุรถบรรทุก

    14

    สภาพเคร่ืองอุปกรณส่์วนควบ

    21 พฤษภาคม 2558 รถบรรทุกพ่วง22ลอ้ เบรกแตก ชนรวด 16 คนั อ.กบนิทรบุ์รี จ.ปราจีนบุรี มีผูไ้ดร้บับาดเจ็บจ านวนมาก

    ไม่พรอ้มใชง้าน

  • ร่วมขจดัปัญหาอุบัติเหตุรถบรรทุก

    15

    28 มีนาคม 2559 รถบรรทุกพ่วง18ลอ้ เบรกแตก ชนรวด 9 คนั อ.นาดี จ.ปราจีนบุรี มีผูไ้ดร้บับาดเจ็บกว่า 10 ราย

    สภาพเคร่ืองอุปกรณส่์วนควบ ไม่พรอ้มใชง้าน

  • ร่วมขจดัปัญหาอุบัติเหตุรถบรรทุก

    16

    บรรทุกน ้าหนักเกิน ดัดแปลงสภาพตัวรถ

  • ร่วมขจดัปัญหาอุบัติเหตุรถบรรทุก

    17

    บรรทุกน ้าหนักเกิน ดัดแปลงสภาพตัวรถ

  • ร่วมขจดัปัญหาอุบัติเหตุรถบรรทุก

    18

    5 กุมภาพนัธ ์2555 รถบรรทุกแกส๊แอลพีจี พลิกคว า่ ถนนล าลูกกา จ.ปทุมธาน ีปิดการจราจรนานกว่า 8 ชัว่โมง

    ในขณะหย่อนความสามารถ ขับรถเกินชัว่โมงท างาน หรือ

  • ร่วมขจดัปัญหาอุบัติเหตุรถบรรทุก

    19

    23 มีนาคม 2555 รถบรรทุกแกส๊แอลพีจี เสียหลกัพุ่งชนราวสะพาน ถนนพฒันาการ กรุงเทพฯ มีผูไ้ดร้บับาดเจ็บไฟลวกร่างกาย 1 ราย

    ในขณะหย่อนความสามารถ ขับรถเกินชัว่โมงท างาน หรือ

  • ค าพิพากษาศาลฎีกา ในคดีของอุบัติเหตุทางถนน

  • ข้อเท็จจริง

    เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2556 เวลา 05.50 เกิดเหตุรถตู้โดยสารสาย ปราจีนบุรี-อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ หมายเลขทะเบียน ฮบ-8901 กรุงเทพมหานคร (รถตู้ป้ายด า) พุ่งชนท้ายรถพ่วง 18 ล้อ หมายเลขทะเบียน 70-6551 นครปฐม และตัวพ่วงหมายเลขทะเบียน 70-6525 นครปฐม ที่จอดเสียริมถนนสายปราจีนบุรี -ฉะเชิงเทรา ท าให้มีผู้เสียชีวิต 9 ราย บาดเจ็บ 7 ราย

  • รถตู้ปราจีนบุรี-อนุสาวรีย์ ชนท้ายรถพ่วง 18 ล้อ

    ผู้โดยสารเสียชีวิต ใครต้องรับผิดชอบ ?

  • ความรับผิดทางอาญา มาตรา 59 วรรค 4 กระท าโดยประมาท มิใช่โดยเจตนา แต่

    กระท าโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์

    มาตรา 291 กระท าโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ ความตาย ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกิน 10 ปี และ ปรับไม่เกิน 20,000 บาท

    มาตรา 300 กระท าโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกิน 3 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 6,000 บาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ

  • คนขับรถพ่วง 18 ล้อ มีความผิดดังนี้

    แม้จอดเสียอยู่ข้างทางในเวลามืดค่ า เมื่อคนขับไม่เปิดสัญญาณไฟ คนขับจึงมีความผิดฐานประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย และประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัสตามมาตรา 291,300

  • ความรับผิดทางแพ่ง มาตรา 425 นายจ้างต้องร่วมรับผิดกับลูกจ้าง ในผลแห่งละเมิด

    ซึ่งลูกจ้างได้กระท าไปในทางการที่จา้งนั้น

    ผู้ที่ต้องร่วมรับผิดกับคนขับรถตู้และคนขับรถพ่วง 18 ล้อ

    นายจ้างรับผิดเฉพาะมูลหน้ีละเมิด ไม่ต้องรับผิดทางอาญา

  • ตัวอย่างค าพิพากษาศาลฎีกา

    ค าพิพากษาศาลฎีกาที่ 2210/2554 จอดรถบนไหล่ทางในลักษณะไม่กีดขวาง แต่ไม่เปิดไฟหรือใช้แสงสว่าง

    ตามท่ีก าหนดในกฎกระทรวงเพื่อเป็นสัญญาณให้ผู้ขับขี่มองเห็นรถ ท่ีจอดอยู่ เป็นความประมาทอันเกิดจากการงดเว้นการที่จักต้องกระท า เพื่อป้องกันผล

  • บัญญัติ 10 ประการ ส าหรับผู้ประกอบการขนส่งสินค้า

    ด้วยรถบรรทุก

    ลงนาม ณ วันที่ 4 เมษายน 2557

  • บัญญัติ 10 ประการ

    1. ห้ามใช้ผู้ขับรถที่ไม่มีใบอนุญาตขับรถ หรือถูกพักใช้เพิกถอนใบอนุญาตขับรถ

    2. ห้ามใช้ผู้ขับรถขับรถติดตอ่กันนาน เกินกว่าที่กฎหมายก าหนด

    3. ควบคุมดูแลไม่ให้ผู้ขับรถเสพสุรา ยาเสพย์ติดหรือวัตถุออกฤทธิ์ต่อ

    จิตประสาท ขณะปฏิบตัิหน้าทีข่ับรถ

    4. ควบคุมดูแลให้ผู้ขับรถใช้ความเร็วตามที่กฎหมายก าหนด

    และขับชิดขอบทางด้านซ้าย

    5. จัดท าประวัติคนขับรถและรายงาน

    อุบัติเหตุ (ถ้ามี)

  • บัญญัติ 10 ประการ

    10. รถบรรทุก ตู้คอนเทนเนอร ์

    ต้องใช้ TWIST LOCK

    7. จัดให้มีป้ายสะท้อนแสงหรือไฟ กระพริบส าหรับใช้เมื่อรถเสีย

    9. รถบรรทุกวัตถุอันตรายต้องติดตั้งระบบ GPS

    8. ไม่บรรทุกน้ าหนักเกินกว่าที่กฎหมายก าหนด

    6. ไม่ใช้รถไม่จดทะเบียนเสียภาษี หรือมีสภาพไม่มั่นคงแข็งแรง หรือเครื่อง

    อุปกรณ์และส่วนควบไม่ถูกต้อง

  • บัญญัติ 10 ประการ

    1. ห้ามใช้ผู้ขับรถที่ไม่มีใบอนุญาตขับรถ หรือถูกพักใช้เพิกถอนใบอนุญาตขับรถ

    ชนิดที่ 1 ส าหรับ รถบรรทุกที่มีน้ าหนักรถและ น้ าหนัก บรรทุกรวมไม่เกิน 3.5 ตัน

    ชนิดที่ 2 ส าหรับ รถบรรทุกที่มีน้ าหนักรถและ น้ าหนักบรรทุกรวมเกิน 3.5 ตัน

    ชนิดที่ 3 ส าหรับ รถลากจูง

    ชนิดที่ 4 ส าหรับ รถบรรทุกวัตถุอันตราย

  • บัญญัติ 10 ประการ

    2. ห้ามใช้ผู้ขับรถขับรถติดต่อกันนานเกินกว่าที่ กฎหมายก าหนด

    8 Hour Rule

  • บัญญัติ 10 ประการ

    3.ควบคุมดูแลไม่ให้ผู้ขับรถเสพสุรา ยาเสพย์ติด หรือวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท ขณะปฏิบัติหน้าที่ขับรถ

  • บัญญัติ 10 ประการ

    4. ควบคุมดูแลให้ผู้ขับรถใช้ความเร็วตามที่กฎหมายก าหนดและขับชิดขอบทางด้านซ้าย

  • บัญญัติ 10 ประการ

    5.จัดท าประวัติคนขับรถและรายงานอุบัติเหตุ (ถ้ามี)

  • บัญญัติ 10 ประการ

    6.ไม่ใช้รถไม่จดทะเบียนเสียภาษี หรือมีสภาพไม่มั่นคง แข็งแรง หรือเครื่องอุปกรณ์และส่วนควบไม่ถูกต้อง

  • บัญญัติ 10 ประการ

    7. จัดให้มีป้ายสะท้อนแสงหรือไฟกระพริบส าหรับใช้ เมื่อรถเสีย

  • บัญญัติ 10 ประการ

    8. ไม่บรรทุกน้ าหนักเกินกว่าที่กฎหมายก าหนด

  • บัญญัติ 10 ประการ

    9.รถบรรทุกวัตถุอันตรายต้องติดตั้งระบบ GPS

    +

  • บัญญัติ 10 ประการ

    10. รถบรรทุกตู้คอนเทนเนอร์ ต้องใช้ TWIST LOCK

  • กฎกระทรวง การก าหนดประเภทผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบการขนส่ง

    ที่ต้องจัดให้มีสมุดประจ ารถ ประวัติผู้ประจ ารถ รายงานการขนส่ง และรายงานอุบัติเหตุที่เกิดจากการขนส่ง

    พ.ศ.2559

  • กฎกระทรวง

    ตั้งแต่วันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2559 ก าหนดให้ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบการขนส่ง ต้องจัดให้มี

    สมุดประจ ารถ

    ประวัติ ผู้ประจ า

    รถ

    รายงานการ

    ขนส่ง

    รายงานอุบัติเหตุที่เกิดจาก

    การขนส่ง

  • กฎกระทรวง

    • ผู้ประกอบการขนส่งต้องจัดให้มีสมุดประจ ารถ

    • แต่ถ้าได้ติดตั้ง GPS และเครื่องรูดบัตรแสดงตัวตน ตามท่ีกรมการขนส่งทางบกก าหนด ให้ถือว่าได้จัดท าสมุด ประจ ารถแล้ว

    สมุดประจ ารถ

    OR

  • กฎกระทรวง

    • ผู้ประกอบการขนส่ง ต้องจัดท าประวัติผู้ประจ ารถเก็บไว้ และแจ้งกรมฯ ภายใน 15 วัน นับจากวันที่ผู้ประจ ารถได้ปฏิบัติหน้าที่กับตน โดยต้องมีรายละเอียดดังนี้ • ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบการขนส่ง

    • ชื่อผู้ประจ ารถ ใบอนุญาตผู้ประจ ารถ และต าแหน่ง

    • ระยะเวลารับเข้าท างานและการเลิกจ้าง

    • ประวัติการเปลี่ยนแปลงรายละเอียดตา่งๆ

    • ในกรณีมีการเปลี่ยนแปลง ต้องแจ้งกรมฯ ภายใน 15 วัน นับแต่มีการเปลี่ยนแปลงข้อมูล

    ประวัติผู้ประจ ารถ

  • กฎกระทรวง

    • ผู้ประกอบการขนส่งต้องจัดท ารายงานการขนส่งตามแบบที่กรมการขนส่งทางบกก าหนดและรายงานให้กรมฯทราบ ทุก 3 เดือน ซึ่งอย่างน้อยต้องมีรายการดังต่อไปนี ้• ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบการขนส่ง

    • รถที่ใช้ประกอบการขนส่ง • ผู้ประจ ารถ • ประเภทและปริมาณสินค้า • เส้นทางพร้อมทั้งสถานที่หยุดและจอด หรือสถานที่

    ท าการขนส่ง

    • จ านวนเที่ยว

    รายงานการขนส่ง

  • กฎกระทรวง

    • เมื่อเกิดอุบัติเหตุที่เกิดจากการขนส่ง ที่มีผู้เสียชีวิต บาดเจ็บสาหัส หรือมีความเสียหายของทรัพย์สิน มูลค่าเกิน 100,000 บาท ต้องรายงานกรมฯ ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่เกิดอุบัติเหตุซึ่งอย่างน้อยต้องมีรายการดังต่อไปนี้ • ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบการขนส่ง • ผู้ประจ ารถ

    • รถที่เกิดอุบัติเหตุ • คู่กรณี

    • สถานที่ และเวลาที่เกิดเหตุ • ผู้บาดเจ็บ และความเสียหาย

    • ลักษณะหรือพฤติการณ์ที่เกิดอุบัติเหตุ • สาเหตุการเกิดอุบัติเหตุ

    รายงานอุบัติเหตุ

    ที่เกิดจาการขนส่ง

  • กฎกระทรวง ความปลอดภัยในการขนส่ง พ.ศ.2558

  • กฎกระทรวงความปลอดภัยในการขนส่ง

    ในการใช้รถท าการขนส่งสัตว์หรือสิ่งของ

    ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบการขนส่ง ต้องไม่ใช้หรือยินยอมให้บุคคลดังต่อไปปฏิบัติหน้าที่ขับรถ

    • ผู้ที่ไม่มีใบอนุญาต,ใบอนุญาตไม่ตรงตามประเภทและชนิดรถที่ใช้ขนส่ง หรือใบอนุญาตสิ้นอาย ุ• ผู้ที่ปฏิบัติหน้าที่ขับรถเกินชั่วโมงการท างานที่กฎหมายก าหนด • ผู้ที่หย่อนความสามารถในการขับรถ

  • กฎกระทรวงความปลอดภัยในการขนส่ง

    ในการใช้รถท าการขนส่งสัตว์หรือสิ่งของ

    ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบการขนส่ง ต้องจัดให้มี สิ่งต่อไปนี้

    • เครื่องหมายหรือสัญญาณแสดงเม่ือจ าเป็นต้องจอดรถในทางเดินรถหรือไหล่ทาง • อุปกรณ์หรือเครื่องมือท่ีจ าเป็นในการระงับเหตุฉุกเฉิน • สิ่งป้องกันไม่ให้ของตกหล่นหรือก่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคล หรือทรัพย์สิน •เอกสารหรือคู่มือการปฏิบัติเม่ือเกิดเหตุฉุกเฉิน •รายงานข้อมูลเกี่ยวกับความปลอดภัยในการขนส่ง

  • กฎกระทรวงความปลอดภัยในการขนส่ง

    ในการใช้รถท าการขนส่งสัตว์หรือสิ่งของ

    ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบการขนส่ง ต้องควบคุม ก ากับ ดูแล

    • ให้ผู้ขับรถใช้อุปกรณ์และส่วนควบ ตามที่กฎหมายก าหนด • ให้ผู้ขับรถใช้ความเร็วไม่เกินกว่าที่กฎหมายก าหนด • การบรรทุกสัตว์หรือสิ่งของให้ตรงตามลักษณะรถที่ก าหนดไว้ในเงื่อนไขใบอนุญาตประกอบการ •ให้ผู้ขับรถเข้ารับการอบรมตามหลักสูตรและระยะเวลาที่กรมการขนส่งทางบกก าหนด

  • กฎกระทรวงความปลอดภัยในการขนส่ง

    ในการใช้รถท าการขนส่งสัตว์หรือสิ่งของ

    ผู้ขับรถต้องปฏิบัติหน้าที่ดังต่อไปนี้ • จัดท าสมุดประจ ารถ (ยกเว้นในกรณีที่รถติดตั้ง GPS และเชื่อมต่อกับ Server ของกรมแล้ว) • ไม่ใช้โทรศัพท์ขณะขับรถ • ใช้อุปกรณ์และส่วนควบท่ีจ าเป็นตามที่กฎหมายก าหนด •แสดงเครื่องหมายหรือสัญญาณเมื่อจ าเป็นต้องจอดรถในทางเดินรถหรือไหล่ทาง

  • กฎกระทรวง ความปลอดภัยในการขนส่งวัตถุอันตรายทางถนน พ.ศ. 2558

  • กฎกระทรวงความปลอดภัยในการขนส่งวัตถุอันตรายทางถนน

    ในการใช้รถท าการขนส่งวัตถุอันตรายทางถนน

    ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบการขนส่งวัตถุอันตราย ต้องไม่ให้หรือยินยอมบุคคลดังต่อไปปฏิบัติหน้าที่ขับรถ

    • ผู้ที่ไม่มีใบอนุญาตชนิดที่ 4 ,ถูกพักใช้,เพิกถอนหรือใบอนุญาตสิ้นอายุ • ผู้ที่ไม่มีหนังสือรับรองผ่านการอบรมตามหลักสูตรที่กรมการขนส่งทางบกก าหนด • ผู้ที่ปฏิบัติหน้าที่ขับรถเกินชั่วโมงการท างานที่กฎหมายก าหนด • ผู้ที่หย่อนความสามารถในการขับรถ

  • กฎกระทรวงความปลอดภัยในการขนส่งวัตถุอันตรายทางถนน

    ในการใช้รถท าการขนส่งวัตถุอันตรายทางถนน

    ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบการขนส่งวัตถุอันตรายต้องปฏิบัติดังต่อไปนี้

    • ใช้รถที่มีอุปกรณ์และส่วนควบ ตามที่กฎหมายก าหนด • จัดให้มีอุปกรณ์หรือเครื่องมือที่จ าเป็นในการระงับเหตุฉุกเฉิน • จัดให้มีเอกสารการขนส่งอยู่ในรถตลอดการขนส่ง • ติดป้ายอักษร ภาพและเครื่องหมายวัตถุอันตรายท่ีรถขนส่ง • ตรวจสอบภาชนะบรรจุวัตถุอันตรายให้เป็นไปตามท่ีกฎหมายก าหนด

  • กฎกระทรวงความปลอดภัยในการขนส่งวัตถุอันตรายทางถนน

    ในการใช้รถท าการขนส่งวัตถุอันตรายทางถนน

    ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบการขนส่งวัตถุอันตรายต้องปฏิบัติดังต่อไปนี้

    • จัดให้มีเคร่ืองหมายหรือฉลากเพื่อแสดงความเป็นอันตราย • ตรวจสอบความถูกต้องของการจัดวาง ผูกรัด ติดตรึง และบรรทุก • ไม่บรรทุกเกินน้ าหนักที่กฎหมายก าหนด • จัดท าและรายงานข้อมูลการขนส่งวัตถุอันตราย • ควบคุมผู้ขับรถไม่ให้ใช้ความเร็วเกินอัตราตามท่ีกฎหมายก าหนด

  • กฎกระทรวงความปลอดภัยในการขนส่งวัตถุอันตรายทางถนน

    ในการใช้รถท าการขนส่งวัตถุอันตรายทางถนน

    ผู้ขับรถวัตถุอันตรายต้องตรวจสอบความปลอดภัยในการขนส่งวัตถุอันตรายดังต่อไปน้ี

    • ความพร้อมของ อุปกรณ์หรือเครื่องมือท่ีจ าเป็นใน การระงับเหตุฉุกเฉิน • ความถูกต้องของเอกสารการขนส่ง • ความถูกต้องของป้ายอักษร ภาพและเครื่องหมายวัตถุอันตรายท่ีรถขนส่ง • เครื่องหมายฉลาก และภาชนะบรรจุวัตถุอันตราย ให้เป็นไปตามที่กฎหมายก าหนด •ความถูกต้องของการจัดวาง ผูกรัด ติดตรึง และบรรทุก

  • กฎกระทรวงความปลอดภัยในการขนส่งวัตถุอันตรายทางถนน

    ในการใช้รถท าการขนส่งวัตถุอันตรายทางถนน

    ผู้ขับรถวัตถุอันตรายต้องปฏิบัติดังต่อไปนี้ • ไม่บรรทุกผู้โดยสารไปกับรถขนส่งวัตถุอันตราย • ไม่เปิดภาชนะที่บรรจุวัตถุอันตรายในระหว่างท าการขนส่ง • ไม่สูบบุหรี่ในระหว่างการขนส่ง ขนถ่าย และเคลื่อนย้าย วัตถุอันตราย ทั้งในบริเวณใกล้เคียงและภายในรถ • ไม่กระท าการใด ๆ ที่ก่อให้เกิดเปลวไฟหรือ ประกายไฟ • ดับเครื่องยนต์ในระหว่างการขนถ่ายวัตถุอันตรายข้ึนและลงจากรถ ยกเว้นกรณีที่ต้องใช้เครื่องยนต์ในการขับเคลื่อนอุปกรณ์ในการขนถ่ายวัตถุอันตราย • ใช้ห้ามล้อทุกครั้งที่จอดรถบรรทุกวัตถุอันตราย

  • สถิติจ านวนใบอนุญาตขับรถ ณ วันที่ 31 พ.ค. 59

    สถิติ ทั่วประเทศ กรุงเทพฯ ส่วนภูมิภาค รวมใบอนุญาตขับรถตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ 28,672,883 4,490,339 24,182,544

    รวมใบอนุญาตผู้ขับรถตามกฎหมายด้วยการขนส่งทางบก 1,710,415 116,588 1,593,827

    -ใบอนุญาตผู้ขับรถชนิดที่ 1 13,591 671 12,920

    -ใบอนุญาตผู้ขับรถชนิดที่ 2 127,010 97,302 1,173,708

    -ใบอนุญาตผู้ขับรถชนิดที่ 3 313,442 12,655 300,787

    -ใบอนุญาตผู้ขับรถชนิดที่ 4 112,372 5,960 106,412

    สถิติรวมใบอนุญาตทั้งสิ้น 30,418,312 4,618,545 25,799,767

  • สถิติจ านวนรถที่จดทะเบียนสะสม ณ วันที่ 31 พ.ค. 59

    สถิติ ทั่วประเทศ กรุงเทพฯ ส่วนภูมิภาค รย. 3 รถยนต์ส่วนบุคคล Van & Pick Up 6,199,916 1,259,175 4,940,741

    รวมรถบรรทุก 1,039,073 136,206 902,867

    -รถบรรทุกไม่ประจ าทาง 264,839 72,152 192,687

    -รถบรรทุกส่วนบุคคล 774,234 64,054 710,180

    สถิติจ านวนรถทุกชนิด 37,015,647 9,170,861 27,844,786

  • มาตรฐานคุณภาพ บริการขนส่งด้วยรถบรรทุก

  • 60

    ขอ้ก าหนด 44 ขอ้ > บงัคบั 24 ขอ้ > แนะน า 20 ขอ้

  • หน่วยตรวจประเมินอิสระ (IB)

    หมายเหตุ : ค่าธรรมเนียมในการตรวจประเมิน เร่ิมต้นที่ 13,000 บาทขึ้นไป ทั้งนี้ยังไม่รวมค่าเดินทางและค่าที่พัก

    61

  • สถิติการด าเนินการของหน่วยตรวจประเมินอิสระ

    12 11 12 12 12 13 12

    1 1 1

    5 6 6

    8 4

    5 5

    5 5 5

    0

    5

    10

    15

    20

    25

    2559 2558

    รวม 141 บริษัท

  • สถิติผู้ตรวจประเมิน และหัวหน้าผู้ตรวจประเมิน

    สถิติ ยังไม่หมดวาระ(ราย) หมดวาระ (ราย) รวม(ราย)

    ผู้ตรวจประเมิน 1,181 780 1,961 หัวหน้าผู้ตรวจประเมิน 43 - 43 รวม 1,224 780 2,004

    หัวหน้าคณะผู้ตรวจ (ยังไม่หมดวาระ), 43

    ผู้ตรวจ (ยังไม่หมดวาระ),

    1,181

    ผู้ตรวจ (หมดวาระแล้ว),

    780

    Q Mark

    Inspector

  • สถิติผู้ประกอบการที่ได้รับ Q Mark

    สถิติ ได้รับการรับรองฯ จากทั้งหมด ร้อยละ

    ผู้ประกอบการขนส่งด้วยรถบรรทุกไมป่ระจ าทาง(ราย) 295 19,304 1.53

    รถบรรทุกไม่ประจ าทาง(คัน) 43,945 268,031 16.40

    หมายเหตุ : การรับรองมาตรฐานฯ ณ 10 ก.พ. 2559 จ านวนผู้ประกอบการและรถทั้งหมด ข้อมูล ณ 31 พ.ค. 2559

  • สถิติผู้ประกอบการที่ได้รับ Q Mark แบ่งตามขนาดกิจการ

    ขนาดกิจการ จ านวนผู้ประกอบการ(ราย) จ านวนรถ (คัน) S (รถ 1 - 30 คัน) 72 983 M (รถ 31 - 100 คัน) 92 5,532 L (รถ 101 - 1,000 คัน) 127 32,031 XL (รถมากกว่า 1,000 คัน) 4 5,399

    รวม 295 43,945

    2.24%12.59%

    72.89%

    12.29%

    จ านวนรถท่ีได้รับการรับรอง Q Mark แยกตามขนาดกิจการ

    S (รถ 1 - 30 คัน) M (รถ 31 - 100 คัน)L (รถ 101 - 1,000 คัน) XL (รถมากกว่า 1,000 คัน)

  • การจัดท าบันทึกความร่วมมือ (MOU) ที่เกี่ยวกับ Q Mark บันทึกความร่วมมือ (MOU) ระหว่างกรมการขนส่งทางบก ผู้ว่าจ้าง (ภาครัฐ)และผู้ว่าจ้าง (ภาคเอกชน) ดังต่อไปนี้

    1. การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 2. บริษัท เอสซีจี โลจสิติกส์ แมนเนจเม้นท์ จ ากัด

    3. องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน German International Cooperation (G IZ)

    4. หน่วยงานประกันภัย (ในอนาคต) เพ่ือส่งเสริมให้ผู้ว่าจ้าง ตระหนักในการเลือกใช้ผู้ประกอบการขนส่งที่ได้รับ การรับรองมาตรฐาน Q Mark ซึ่งให้บริการด้วยความปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ

  • การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ร่างบันทึกความร่วมมือ (MOU)ระหว่าง กรมการขนส่งทางบก กับการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

    • สนับสนุนวิทยากรและเอกสารในการให้ความรู้ Q mark • สนับสนุนการพัฒนาและการตรวจประเมินให้เป็นกรณีพิเศษ •จัดล าดับการเข้าตรวจประเมินส าหรับผู้สมัคร Q Mark ภายใต้ MOU เป็นล าดับแรก

    • ก าหนดนโยบายในการสนับสนุนให้ในนิคมอุตสาหกรรมเลือกใช้ผู้ประกอบการ Q Mark • จัดการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ Q Mark ปีละ 1 คร้ัง

  • บริษัท เอสซีจี โลจิสติกส์ แมนเนจเม้นท์ จ ากัด ร่างบันทึกความร่วมมือ (MOU)ระหว่าง กรมการขนส่งทางบก กับบริษัท เอสซีจี โลจสิติกส์ แมนเนจเม้นท์ จ ากัด

    • สนับสนุนวิทยากรและเอกสารในการให้ความรู้ Q mark • สนับสนุนการพัฒนาและการตรวจประเมินให้เป็นกรณีพิเศษ •จัดล าดับการเข้าตรวจประเมินส าหรับผู้สมัคร Q Mark ภายใต้ MOU เป็นล าดับแรก

    • ก าหนดนโยบายในการผลักดันให้ พันธมิตรคู่ค้าเข้าสู่ระบบมาตรฐาน Q Mark อย่างต่อเนื่อง • จัดการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ Q Mark ปีละ 1 คร้ัง • ก าหนดสิทธิประโยชน์ ให้แก่พันธมิตรคู่ค้าท่ีได้รับ Q Mark

  • องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน ร่างบันทึกความร่วมมือ (MOU)ระหว่าง กรมการขนส่งทางบก กับองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน (GIZ)

    • สนับสนุนวิทยากรและเอกสารในการให้ความรู้ Q Mark แก่ผู้ประกอบการในกลุ่ม CLMV+T •สนับสนุนการพัฒนาและจัดตั้งระบบมาตรฐาน Q Mark ในกลุ่มประเทศ CLMV •ร่วมมือกับ GIZ ในการพัฒนาปรับปรุงข้อก าหนดต่างๆ รวมถึงการก ากับดูแลด้านการขนส่งสินค้าอันตราย

    • จัดฝึกอบรม และให้ค าปรึกษาหลักสูตร ECO Driving ให้แก่ พขร. • สนับสนุนผู้เชี่ยวชาญด้านการขนส่งสินค้าอันตราย •สนับสนุนผู้เชี่ยวชาญในการพัฒนาการก ากับดูแลการขนส่งสินค้าอันตราย •ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนความรู้ Q Mark ในประเทศ CLMV • จัดประชาสัมพันธ์ สัมมนาผู้ประกอบการเร่ือง Q Mark และการขนส่งสินค้าอันตราย ในประเทศ CLMV+T

  • สิทธิประโยชน์ส าหรับ ผู้ได้รับการรับรองมาตรฐานคุณภาพ

    บริการขนส่งด้วยรถบรรทุก

  • สิทธิประโยชน์

    การประกอบการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ

    (Road Transport Permit)

    ผู้ประกอบการท่ีได้การรับรอง Q MARK จะได้รับการโปรโมท

    ประชาสัมพันธ ์

    การเข้าใช้สถานีขนส่งสินค้า (Truck Terminal)

    ของกรมการขนส่งทางบก

    ได้รับสิทธิ์เข้าร่วมประชุมสัมมนาเพ่ือสร้างพันธมิตรทางธุรกิจ

  • สิทธิประโยชน์ 1. การประกอบการขนส่งสินค้า

    ระหว่างประเทศ

    (Road Transport Permit)

    ผู้ประกอบการที่ ได้ การรับรอง Q Mark จะได้รับคะแนน 35 คะแนน จากคะแนนเต็ม 100 ค ะ แ น น ใ น ก า ร ข อ อ นุ ญ า ตประกอบการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ

  • สิทธิประโยชน์ 2. ได้รับสิทธิ์ เข้าร่วมการประชุม /สัมมนา เพื่อสร้าง

    พันธมิตรทางธุรกิจ (Business Matching) ด้านการขนส่งสินค้าทางถนน ณ ประเทศเพื่อนบ้าน

    และการส ารวจเส้นทาง หรือกิจกรรมอื่น ๆ ร่วมกับคณะผู้บริหารของกรมการขนส่งทางบก

  • สิทธิประโยชน์ 3. ผู้ประกอบการที่ได้รับการรับรอง Q MARK

    จะได้รับการโปรโมต ประชาสัมพันธ์ ผ่านกิจกรรมต่างๆของกรมการขนส่งทางบก อาทิเช่น

    เผยแพร่ผ่าน www.thaitruckcenter.com ,

    เผยแพร่เป็นเอกสารประกอบการประชุมระหว่างหน่วยงานภาครัฐในภูมิภาคอาเซียน

  • สิทธิประโยชน์ 4. การเข้าใช้สถานีขนส่งสินค้า

    (Truck Terminal) ของกรมการขนส่งทางบก

    ผู้ประกอบการที่ได้รับรอง Q MARK จะได้รับการพิจารณาในล าดับแรก ในการคัดเลือกผู้เข้าใช้พื้นที่สถานีขนส่งสินค้ากรมการขนส่งทางบก ทั้ งสถานีขนส่งที่ให้บริการในปัจจุบัน และที่อยู่ในแผนพัฒนาสถานีในส่วนภูมิภาค

  • พัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการขนส่งสินค้าทางถนนของไทย • พัฒนาเครือข่ายและการส่งเสริมการประกอบธุรกิจการขนส่งในภูมิภาคอาเซียนให้มี

    ประสิทธิภาพ ปลอดภัย น่าเชื่อถือ o จัดประชุมหารือเพื่อพัฒนาความสัมพันธ์และความร่วมมือระหว่างองค์กรภาครัฐ

    (G to G) จัดสัมมนาในประเทศเพื่อนบ้าน (B to B) และการสร้างพันธมิตรทางการค้า พร้อมทั้งจับคู่พันธมิตรคู่ค้า (Business Matching) พร้อมทั้งเผยแพร่ระบบมาตรฐานคุณภาพบริการขนส่งด้วยรถบรรทุก(Q Mark) ในประเทศอาเซียนที่มีพรมแดนทางถนนติดต่อกับประเทศไทยและพื้นที่ต่อเน่ืองทั้ง 8 ประเทศ

    o จัดท าคู่มือผู้ประกอบการขนส่ง ภายใต้หัวข้อ “เตรียมความพร้อมผู้ประกอบการขนส่งอาเซียน” ของแต่ละประเทศ จ านวน 8 ประเทศ เพื่อเผยแพร่ให้แก่ผู้ประกอบการขนส่งสินค้าและผู้ที่เก่ียวข้องได้มีความรู้พื้นฐานก่อนจะด าเนินการขนส่งสินค้าในประเทศภูมิภาคอาเซียน

    o เผยแพร่องค์ความรู้ต่างๆเกี่ยวกับการขนส่งสินค้าในอาเซียนเป็นรูปแบบ online บนเว็บไซต์ www.thaitruckcenter.com

  • 55 57

    56 57

    57 INDIA

    57

    CHINA

    56 57

    55 57

    56

    56

    60 MALAYSIA

    60

    60

    60

    77

  • ปี 2560

    78

    มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย บรูไน

    ขอรับงบประมาณเพื่อด าเนินโครงการ 25 ล้านบาท

    ส ารวจเส้นทางครอบคลุมพื้นที่ 4 ประเทศ

    ประชุมเชิงปฏิบัตกิาร (Workshop) ภาครัฐและภาคเอกชนด้านการขนส่งสินค้าของไทย จ านวน 3 ครั้ง

    - การส ารวจเส้นทาง

    - ก าหนดประเด็นหารือและเตรียมความพร้อม การประชุม G to G

    - ก าหนดประเด็นหารือและเตรียมความพร้อม การประชุม B to B

    ประชุมระหว่างองค์กรภาครัฐ (G to G) ณ ประเทศเพื่อนบ้าน 4 ประเทศ

    การประชุมระหว่างภาคเอกชน (B to B) พร้อมกิจกรรมการจับคู่พันธมิตรธุรกิจ (Business Matching)

    ณ ประเทศเพื่อนบ้าน 4 ประเทศ

    สัมมนาเพื่อเผยแพร่ผลการศึกษาและส ารวจเส้นทาง 200 คน

    คู่มือ “เตรียมความพร้อมผู้ประกอบการขนส่งไทยสู่อาเซียน” ประเทศเพื่อนบ้านในภูมิภาคอาเซียน 4 ประเทศ ได้แก่ มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย บรูไน (ประเทศละ 500 เล่ม)

  • ความตกลงที่เก่ียวข้องกับการขนส่งทางถนนระหว่างประเทศ o ความตกลงว่าด้วยการยอมรับ ใบอนุญาตขับขี่รถยนต์ในประเทศ ที่ออกโดย

    ประเทศ สมาชิกอาเซียน ประเทศสมาชิกอาเซียนตกลงร่วมกันในการยอมรับใบอนุญาตขับขี่รถยนต์ในประเทศทุกประเภท (เว้นแต่ใบอนุญาตขับรถชั่วคราว/เฉพาะกาล/ผู้หัดขับ) ที่ออกโดย เจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายหรือ สมาคมยานยนต์แห่งชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน

    ทั้งนี้ใบอนุญาตขับขี่รถยนต์ใดถ้ามิได้เขียนขึ้นเป็นภาษาอังกฤษจะต้องแนบ ค าแปลเป็นภาษาอังกฤษ ที่ได้รับรองแล้วด้วย o ความตกลงว่าด้วยการยอมรับ หนังสือรับรองการ การตรวจสภาพของแต่ละ

    ประเทศ ประเทศสมาชิกอาเซียน ตกลงยอมรับหนังสือรับรองการตรวจสภาพรถ ที่ใช้ในเชิงพาณิชย์ท่ีถูกต้องที่ออกส าหรับ รถบรรทุกสินค้า และรถบริการสาธารณะ (ยกเว้นส าหรับรถท่ีใช้ขนส่งสินค้าอันตราย) โดย เจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานที่ได้รับมอบหมายของประเทศสมาชิก

    ส าหรับในประเทศไทยผู้ประกอบการสามารถขอหนังสือรับรองได้ที่ กรมการขนส่งทางบกและส านักงานขนส่งจังหวัดท่ัวประเทศ ค่าธรรมเนียมการออกใบอนุญาตประกอบการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ

    2,500 บาท ค่าธรรมเนียมออกหนังสือนุญาตรถระหว่างประเทศ(เล่มเขยีว) พร้อมหนังสือ

    รับรองการตรวจสภาพรถ และสติกเกอรต์ัว T 20 บาท/คัน (หนังสือหมดอายุพร้อมภาษีประจ าปี)

    ข้อมูลล่าสุด 17 พ.ค. 2559

  • ความตกลงว่าด้วยการขนส่งทางถนนไทย-ลาว o ภาคีคู่สัญญาจะให้สิทธิ ซึ่งกันและกัน ในการขนส่งสินค้าและผู้โดยสาร

    ระหว่างประเทศ รวมทั้ง การขนส่งสินค้าและผู้โดยสารผ่านแดนโดย ยานพาหนะที่ใช้ในการพาณิชย์ทั้งของรัฐและเอกชน โดยไม่จ ากัดจ านวนรถ

    o ความตกลงดังกล่าวมีผลในทางปฏิบัติแล้ว โดยผู้ประกอบการขนส่งที่ประสงค์จะประกอบการขนส่งภายใต้ ความตกลงฯ สามารถยื่นเอกสาร/หลักฐาน เพื่อขอรับใบอนุญาตประกอบการขนส่งได้ ที่กรมการขนส่งทางบก และส านักงานขนส่งจังหวัดทั่วประเทศ

    o สถิติใบอนุญาตประกอบการขนส่งสินค้า ระหว่างประเทศไทย-ลาว รถบรรทุกไม่ประจ าทาง(รถ 70) จ านวน 1,205 ราย จ านวนรถ 27,684 คัน รถบรรทุกส่วนบุคคล(รถ 80) จ านวน 173 ราย จ านวนรถ 1,830 คัน

    ข้อมูลล่าสุด 31 พ.ค. 2559

  • เส้นทางขนส่งสินค้าตามความตกลงไทย-ลาว

    เส้นหมายเลข 3 (R3A) ห้วยทราย-น้ าทา

    เส้นหมายเลข 13 อุคมไซ-เวินค า (ชายแดนลาว-กัมพูชา)

    เส้นหมายเลข 9 สะหวันนะเขต-แดนสะหวัน (เช่ือมมุกดาหารกับเวียดนาม)

    เส้นหมายเลข 10 วังเตา-ปากเซ (เชื่อมอุบลราชธานีกับสปป.ลาว)

    เส้นหมายเลข 13 และ 18 ปากเซ- อัตตะบือ (ชายแดนลาว-เวียดนาม)

    เส้นหมายเลข 8 บอลิค าไซ-น้ าพาว (ชายแดนลาว-เวียดนาม)

    เส้นหมายเลข 12 ท่าแขก-จะลอ

    (เชื่อมนครพนมกับเวียดนาม)

    เส้นหมายเลข 1 น้ าทา- เมืองขวา (ชายแดนลาว-เวียดนาม)

  • MOU ว่าด้วยการขนส่งทางถนนไทย-ลาว-เวียดนาม o อยู่ภายใต้กรอบความตกลงว่าด้วยการขนส่งข้ามพรมแดนใน

    อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ าโขง (GMS CBTA) เป็นการแลกเปลี่ยนสิทธิ การเดินรถบรรทุกสินค้า จ านวนรวมฝ่ายละ 400 คัน ณ จุดผ่านแดนมุกดาหาร -สะหวันนะเขต และแดนสะหวัน -ลาวบาว

    o สถิติใบอนุญาตประกอบการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศไทย-ลาว-เวียดนาม รถบรรทุกไม่ประจ าทาง(รถ 70) จ านวน 25 ราย จ านวนรถ 379 คัน

    o ความคืบหน้าในการปรับปรุงความตกลง ปัจจุบันประเทศไทย -ลาว -เวียดนาม ได้ ลงนามในบทเพิ่มเติมบันทึกความเข้าใจฯ แล้ว เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2556 เพื่อขยายเส้นทางให้ครอบคลุมท่าเรือส าคัญและเมืองหลวง 3 ประเทศ (ฮานอย เวียงจันทน์ และกรุงเทพฯ) ซึ่งไทยได้ให้สัตยาบันครบทุกภาคผนวกในวันที่ 30 มีนาคม 2558 ขณะน้ียังอยู่ระหว่างรอการหารือเพื่อเริ่มด าเนินการจริง

    ข้อมูลล่าสุด 31 พ.ค. 2559 กรุณาตรวจสอบข้อมูลกับกรมขนส่งทางบก ก่อนน าไปเผยแพร่ เนื่องจากจะมีการประชุมหารือกรอบความตกลง GMS ในช่วงปลายปี 2559

  • เส้นทางขนส่งสินค้าตาม MOU ไทย-ลาว-เวียดนาม

    ในสปป. ลาว ใช้เส้นหมายเลข 9 สะหวันนะเขต-แดนสะหวัน

    (เชื่อมมุกดาหารกับเวียดนาม) ในเวียดนาม

    ใช้เส้น AH 16 ลาวบ่าว-ดงฮา และ AH1 ดงฮา- ท่าเรือดาหนัง

    ในเวียดนาม เส้น AH1 ดงฮา-ฮานอย-ท่าเรือไฮฟอง ลงนามและให้สัตยาบันเรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างรอการหารือทั้งสามฝ่าย

    ก่อนด าเนินการใช้จริง

  • MOU ว่าด้วยการขนส่งทางถนนไทย-กัมพูชา o อยู่ภายใต้กรอบความตกลงว่าด้วยการขนส่งข้ามพรมแดนใน

    อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ าโขง (GMS CBTA) เป็นการแลกเปลี่ยนสิทธิ การเดินรถบรรทุกสินค้าและรถโดยสาร จ านวนรวมฝ่ายละ 40 คัน ณ ด่านพรมแดนอรัญประเทศ - ปอยเปต

    o สถิติใบอนุญาตประกอบการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศไทย-กัมพูชา รถบรรทุกไม่ประจ าทาง(รถ 70) จ านวน 16 ราย จ านวนรถ 35 คัน รถโดยสารไม่ประจ าทาง(รถ 30) จ านวน 3 ราย จ านวนรถ 5 คัน

    o ความตกลงนี้ยังไม่ตอบสนองต่อความต้องการทางเศรษฐกิจ ปัจจุบันฝ่ายไทยและกัมพูชา เห็นชอบในหลักการในการเพิ่มโควตารถขนส่งสินค้าและรถโดยสารไม่-ประจ าทางเป็นฝ่ายละ 150 คัน หากแต่ยังคงเหลือการเจรจาในรายละเอียดเพื่อแก้ไขบันทึกความเข้าใจ ฯ

    40

    150

    ข้อมูลล่าสุด 31 พ.ค. 2559 กรุณาตรวจสอบข้อมูลกับกรมขนส่งทางบก ก่อนน าไปเผยแพร่ เนื่องจากจะมีการประชุมหารือกรอบความตกลง GMS ในช่วงปลายปี 2559

  • เส้นทางขนส่งสินค้าตาม MOU ไทย-กัมพูชา

    เส้นAH1 กรุงเทพ- พนมเปญ ผ่านด่านบ้านคลองลึก

  • MOU ว่าด้วยการขนส่งทางถนนไทยผ่านแดนมาเลเซียไปยังสิงคโปร์

    o บันทึกความเข้าใจว่าด้วยการขนส่งสินค้าเน่าเสียง่ายทางถนนจากประเทศไทยผ่านแดนมาเลเซียไปยังสิงคโปร์ ลงนามเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2522 ณ กรุงเทพฯ

    o ประเทศมาเลเซียยินยอมให้มีการขนส่งสินค้าเน่าเสียง่ายทางถนน จากประเทศไทยผ่านแดนมาเลเซียไปยังสิงคโปร์ ปีละ 30,000 ตัน โดยยกเว้นการช าระอากร ภาษีค่าธรรมเนียม และค่าภาระอื่นๆ

    ทั้งน้ี สินค้าเน่าเสียง่าย ได้แก่ ปลา สัตว์น้ าที่มีเปลือกหุ้ม ตัวหอย เน้ือสัตว์แช่เย็นหรือแช่แข็ง ผลไม้ ผักสดแช่เย็นหรือแช่แข็ง และมีการจ ากัดจ านวนผู้ประกอบการขนส่งเท่าที่รัฐบาล 2 ฝ่าย เห็นชอบเท่านั้น

    o บันทึกความเข้าใจฯดังกล่าวมีผลในทางปฏิบัติแล้ว โดยมีผู้ประกอบการขนส่งที่ด าเนินการในปัจจุบัน จ านวน 1 ราย

    ได้แก่ บริษัทอาเซียนคอนเทนเนอร์ ทรานซ์ จ ากัด จ านวนรถ 20 คัน

    ข้อมูลล่าสุด 31 พ.ค. 2559

  • MOU ว่าด้วยการขนส่งทางถนนไทย-เมียนมา o อยู่ภายใต้กรอบความตกลงว่าด้วยการขนส่งข้ามพรมแดนในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ าโขง (GMS

    CBTA) ได้มีการจัดท าร่างบันทึกความเข้าใจว่าด้วยการเริ่มใช้ความตกลงว่าด้วยการขนส่งสินค้าและผู้โดยสารข้ามพรมแดน ณ จุดผ่านแดนแม่สาย-ท่าขี้เหล็ก และแม่สอด-เมียวดี โดยมีโควตาจานวนรถ (รวม 2 ด่าน) 200 คัน เสร็จเรียบร้อยแล้ว ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 แต่ยังไม่ได้มีการลงนาม เน่ืองจากรอความพร้อมของเมียนมา ทั้งน้ี ล่าสุดได้รับการประสานงานจากเมียนมา ว่าเมียนมาได้น าร่างบันทึกความเข้าใจฯ ให้หน่วยงานที่เก่ียวข้องพิจารณาแล้ว

    ข้อมูลล่าสุด 31 พ.ค. 2559 กรุณาตรวจสอบข้อมูลกับกรมขนส่งทางบก ก่อนน าไปเผยแพร่ เนื่องจากจะมีการประชุมหารือกรอบความตกลง GMS ในช่วงปลายปี 2559