31
ปฏิบัติการที 4 Descriptive Statistics II Mean, Median, Mode, Standard error, Standard deviation, Variance, Range, Percentile, Percentile Rank ในการวิเคราะห์ทางสถิตินั้น ในเบื้องต ้น มักต้องการทราบค่าพื ้นฐานของกลุ ่มตัวอย่างหรือประชากร ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่ามัธยฐาน ค่าฐานนิยม ฯลฯ ดังนั้น จึงต ้องทราบว่าจะต้องใช้ฟังก์ชั่นหรือคาสั่งใดในการ ประมวลค่าดังกล่าว ซึ่งทั้งโปรแกรม Microsoft® Excel 2013 และ SPSS 22 สามารถวิเคราะห์หาค่าดังกล่าวให้ได้ โปรแกรม Microsoft Excel 2013 การวิเคราะห์สถิติพรรณนาใน Microsoft® Excel 2013 ด้วย Data Analysis ในริบบอน Data | Analysis สามารถใช้ได้กับข้อมูลที่มาจากกลุ ่มตัวอย่างเพียงกลุ ่มเดียวหรือหลายกลุ ่มก็ได้ อย่างไรก็ตาม การป้อนข้อมูลจะเป็นปัจจัย กาหนดว่าเป็นการวิเคราะห์แบบใด หากป้อนข้อมูลที่มาจากกลุ ่มตัวอย่างเดียวกันหลายลักษณะแยกตามคอลัมน์หรือตาม แถว จะเป็นวิเคราะห์สถิติพรรณนาของกลุ ่มตัวอย่างเดียว ดังตัวอย่างในภาพที่ 4.1 ก ซึ่งเป็นข้อมูลจากไฟล์ afgekia_data_2. xls ใน worksheet ชื่อ Afgekia_sericea เก็บข้อมูลที่วัดจากพืชสปีชีส์นี้เท่านั้น แต่ถ ้าหากว่าป้อน ข้อมูลลักษณะแยกตามกลุ ่มตัวอย่างในคอลัมน์ (ภาพที่ 4.1 ข) หรือในแถว (ภาพที่ 4.1 ค) จะเป็นการวิเคราะห์สถิติ พรรณนาของกลุ ่มตัวอย่างแต่ละกลุ ่ม อนึ่ง ตัวอย่างในภาพที่ 4.1 ข และ ค เป็นข้อมูลเพียง 1 ลักษณะ แต่อาจป้อนข้อมูล ในทานองเดียวกันมากกว่า 1 ลักษณะได้ (ก) ภาพที 4.1 การป้อนข้อมูลจากกลุ ่มตัวอย่างเดียวมีหลายลักษณะแยกตามคอลัมน์ (ก)

ปฏิบัติการที่ 4 Descriptive Statistics II Mean, Median, Mode, …pioneer.chula.ac.th/~stosak/biostatlab/chapter4.pdf · ภาพท 4.4 การป อนส

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ปฏิบัติการที่ 4 Descriptive Statistics II Mean, Median, Mode, …pioneer.chula.ac.th/~stosak/biostatlab/chapter4.pdf · ภาพท 4.4 การป อนส

ปฏิบัติการที่ 4 Descriptive Statistics II

Mean, Median, Mode, Standard error, Standard deviation, Variance, Range, Percentile, Percentile Rank

ในการวิเคราะห์ทางสถิตินัน้ ในเบือ้งต้น มักต้องการทราบค่าพืน้ฐานของกลุ่มตัวอย่างหรือประชากร ได้ แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่ามธัยฐาน ค่าฐานนิยม ฯลฯ ดงันัน้ จึงต้องทราบวา่จะต้องใช้ฟังก์ชัน่หรือค าสัง่ใดในการประมวลคา่ดงักลา่ว ซึง่ทัง้โปรแกรม Microsoft® Excel 2013 และ SPSS 22 สามารถวิเคราะห์หาคา่ดงักลา่วให้ได้

โปรแกรม Microsoft Excel 2013

การวิเคราะห์สถิติพรรณนาใน Microsoft® Excel 2013 ด้วย Data Analysis ในริบบอน Data | Analysis สามารถใช้ได้กบัข้อมลูที่มาจากกลุม่ตวัอยา่งเพียงกลุม่เดียวหรือหลายกลุม่ก็ได้ อยา่งไรก็ตาม การปอ้นข้อมลูจะเป็นปัจจยัก าหนดวา่เป็นการวิเคราะห์แบบใด หากปอ้นข้อมลูที่มาจากกลุม่ตวัอยา่งเดียวกนัหลายลกัษณะแยกตามคอลมัน์หรือตามแถว จะเป็นวิเคราะห์สถิติพรรณนาของกลุ่มตัวอย่างเดียว ดังตัวอย่างในภาพที่ 4.1 ก ซึ่งเป็นข้อมูลจากไฟล์

afgekia_data_2.xls ใน worksheet ช่ือ Afgekia_sericea เก็บข้อมูลที่วดัจากพืชสปีชีส์นีเ้ท่านัน้ แต่ถ้าหากว่าป้อนข้อมูลลกัษณะแยกตามกลุ่มตวัอย่างในคอลมัน์ (ภาพที่ 4.1 ข) หรือในแถว (ภาพที่ 4.1 ค) จะเป็นการวิเคราะห์สถิติพรรณนาของกลุม่ตวัอย่างแต่ละกลุม่ อนึ่ง ตวัอย่างในภาพที่ 4.1 ข และ ค เป็นข้อมลูเพียง 1 ลกัษณะ แต่อาจป้อนข้อมลูในท านองเดียวกนัมากกวา่ 1 ลกัษณะได้

(ก)

ภาพที่ 4.1 การปอ้นข้อมลูจากกลุม่ตวัอยา่งเดียวมีหลายลกัษณะแยกตามคอลมัน์ (ก)

Page 2: ปฏิบัติการที่ 4 Descriptive Statistics II Mean, Median, Mode, …pioneer.chula.ac.th/~stosak/biostatlab/chapter4.pdf · ภาพท 4.4 การป อนส

2

(ข)

(ค)

ภาพที่ 4.1 (ต่อ) การปอ้นข้อมลูหลายกลุม่ตวัอยา่งแยกตามคอลมัน์ (ข) และแยกตามแถว (ค)

การวเิคราะห์สถิติพรรณนาด้วย Descriptive Statistics มีขัน้ตอนดงันี ้1. เปิดไฟล์ข้อมลู afgekia_data_2.xlsx แล้วเลอืก Data Analysis ในริบบอน Data | Analysis

2. จากรายการตวัเลอืกในไดอะลอ็ค (ภาพที่ 4.2 ก) เลอืก Descriptive Statistics แล้วกด จะมีไดอะลอ็คดงัภาพท่ี 4.2 ข ซึง่มีรายละเอยีดให้ปอ้นคา่ดงันี ้

Page 3: ปฏิบัติการที่ 4 Descriptive Statistics II Mean, Median, Mode, …pioneer.chula.ac.th/~stosak/biostatlab/chapter4.pdf · ภาพท 4.4 การป อนส

3

ช่องที่ต้องเติม ค าอธิบาย

Input Input Range: ข้อมลูดิบ – ต้องระบ ุ

Group By: Column Row

บนัทกึข้อมลูของตวัแปรแตล่ะตวัแปรแยกตามคอลมัน์ (เป็นคา่ตัง้ต้น) หรือบนัทกึข้อมลูของตวัแปรแตล่ะตวัแปรแยกตามแถว

Label in First Row: ถ้าเลอืก (เป็นเคร่ืองหมาย ) หมายความวา่ แถวแรก (หรือคอลมัน์แรก) ของข้อมลูดิบเป็นข้อความอธิบายข้อมลูดิบ

Output options Output Range: New Worksheet Ply New Workbook

เลอืกให้ผลการวิเคราะห์แสดงใน worksheet เดียวกนั หรือใน worksheet ใหม ่หรือใน workbook ใหม ่

Summary statistics: แสดงตารางคา่สถิติพรรณนา Confidence Level for Mean: ก าหนดคา่ความเช่ือมัน่ของคา่เฉลีย่ คา่ตัง้ต้นเป็น 95% Kth Largest คา่ในล าดบัท่ี... จากคา่ที่มากที่สดุ (ปอ้นจ านวนเต็ม) Kth smallest คา่ในล าดบัท่ี... จากคา่ที่น้อยที่สดุ (ปอ้นจ านวนเต็ม)

3. ให้เตมิข้อมลูดงันี ้(รูปท่ี 4.2 ค) a. ที่ช่อง Input Range: เลอืกเซลล์ B1:H38

b. ที่ Grouped By: เลอืก Column

c. ที่ Label in First Row: เลอืกให้เป็น

d. ที่ช่อง New Worksheet Ply ก าหนดช่ือ worksheet เป็น afgekia_sericea_descstat

e. ที่ Summary Statistics, Confidence Level for Mean:, Confidence Level for

Mean: เลอืกให้เป็น

f. ที่ Kth Largest และ Kth smallest เลอืกให้เป็น และใสค่า่ 5 ทัง้สองช่อง g. กดปุ่ ม

4. ผลการวิเคราะห์เป็นดงัภาพที่ 4.2 ง ซึง่เป็นคา่สถิติพรรณนาของตวัแปร 7 ตวั (nol rl rd petil petid ll และ lw) ตวัแปรละ 2 คอลมัน์ โดยช่ือตวัแปรระบใุนคอลมัน์แรกเหนือข้อความคา่สถิติตา่ง ๆ (เชน่ nol คอลมัน์ A แถวที่ 1) แล้วคา่สถิติจะแสดงในคอลมัน์ที่ 2 (nol คอลมัน์ B) การปรับคา่ความกว้างของคอลมัน์ จ านวนทศนยิม และ ฯลฯ จะช่วยผลการวเิคราะห์ดไูด้ง่ายขึน้และสวยงามมากขึน้ อนึง่ หากวา่มีข้อผิดพลาดหรือไมส่ามารถวเิคราะห์หาคา่สถิติบางคา่ให้ได้ จะมี #N/A ที่คา่สถิตินัน้แทน

Page 4: ปฏิบัติการที่ 4 Descriptive Statistics II Mean, Median, Mode, …pioneer.chula.ac.th/~stosak/biostatlab/chapter4.pdf · ภาพท 4.4 การป อนส

4

(ก)

(ข)

(ค)

ภาพที่ 4.2 รายการ Descriptive Statistics จาก Analysis ToolPak (ก) ไดอะลอ็ค Descriptive Statistics (ข) ซึง่ปอ้นคา่ตา่ง ๆ แล้ว (ค)

Page 5: ปฏิบัติการที่ 4 Descriptive Statistics II Mean, Median, Mode, …pioneer.chula.ac.th/~stosak/biostatlab/chapter4.pdf · ภาพท 4.4 การป อนส

5

(ง)

ภาพที่ 4.2 (ต่อ) ผลการวเิคราะห์ด้วย Descriptive Statistics (ง)

หากต้องการทราบว่าคา่ในข้อมลูดิบอยู่ในล าดบัหรือที่เปอร์เซ็นไทล์ที่เทา่ใด (กลา่วคือ หาค่า Percentile Rank นัน้เอง) สามารถท าได้โดยใช้โมดลุช่ือ Rank and Percentile ใน Data Analysis ในริบบอน Data | Analysis ส าหรับขัน้ตอนการวิเคราะห์ มีดงันี ้

1. เปิดไฟล์ afgekia_data.xls แล้วเลอืก Data Analysis ในริบบอน Data | Analysis

2. จากรายการตวัเลอืกในไดอะลอ็ค (ภาพท่ี 4.3 ก) เลอืก Rank and Percentile แล้วกด จะมีไดอะลอ็คดงัภาพท่ี 4.3 ข ซึง่มีรายละเอียดให้ปอ้นคา่ดงันี ้

ช่องที่ต้องเติม ค าอธิบาย

Input Input Range: ข้อมลูดิบ – ต้องระบ ุ

Group By: Column Row

บนัทกึข้อมลูของตวัแปรแตล่ะตวัแปรแยกตามคอลมัน์ (เป็นคา่ตัง้ต้น) หรือบนัทกึข้อมลูของตวัแปรแตล่ะตวัแปรแยกตามแถว

Label in First Row: ถ้าเลอืก (เป็นเคร่ืองหมาย ) หมายความวา่ แถวแรก (หรือคอลมัน์แรก) ของข้อมลูดิบเป็นข้อความอธิบายข้อมลูดิบ

Output options Output Range: New Worksheet Ply New Workbook

เลอืกให้ผลการวิเคราะห์แสดงใน worksheet เดียวกนั หรือใน worksheet ใหม ่หรือใน workbook ใหม ่

3. กด ของช่อง Input Range: แล้วเลอืกข้อมลู C1:H120 แล้วกด

4. ที่ Group By: เลอืก Column เนื่องจากตวัแปรแตล่ะตวัเก็บข้อมลูแยกตามคอลมัน์

5. ที่ Label in First Row: เลอืกให้แถวแรกของข้อมลูดิบเป็นข้อความอธิบายข้อมลูดิบ

6. ช่อง Output options ให้เก็บผลใน worksheet ใหม ่และตัง้ช่ือเป็น Rank_Percentile

7. เมื่อเติมคา่ได้ดงัภาพท่ี 4.3 ค จึงกด จะได้ผลการวเิคราะห์ ดงัภาพท่ี 4.3 ง ซึง่แสดงผลการวิเคราะห์เพยีงบางสว่น คือ ผลการวิเคราะห์ของตวัแปร 2 ตวัแปรจาก 7 ตวัแปร

Page 6: ปฏิบัติการที่ 4 Descriptive Statistics II Mean, Median, Mode, …pioneer.chula.ac.th/~stosak/biostatlab/chapter4.pdf · ภาพท 4.4 การป อนส

6

ผลการวิเคราะห์ในภาพที่ 4.3 ง เป็น worksheet ใหม่ช่ือ Rank_Percentile นี ้ยกมาเพียงผลการวิเคราะห์ส าหรับตวัแปร Rachis length (rl) และตวัแปร Rachis diameter (rd) โดยแต่ละตวัแปรประกอบด้วยคอลมัน์ 4 คอลมัน์ ดงันี ้

• Point หมายถึงต าแหนง่ของข้อมลูของตวัแปรใน worksheet ช่ือ afgekia_data • rl หรือ rd หมายถึงค่าของข้อมูลในตัวแปร rl หรือ rd ซึ่งเป็นค่าเดียวกันกับค่าใน worksheet ช่ือ

afgekia_data เพียงแตส่ลบัต าแหนง่ • Rank หมายถึงล าดบัของข้อมลู เรียงจากค่ามากที่สดุ (Rank เป็น 1) ไปหาค่าน้อยที่สดุ (Rank เป็น

11900) สงัเกตวา่ข้อมลู 2 คา่หรือมากกวา่ มี Rank เดียวกนัเนื่องจากข้อมลูดงักลา่วมีคา่เทา่กนั จึงถกูก าหนดให้มีล าดบัเดียวกนั เนื่องจากในโมดลุนี ้ฟังก์ชัน่ท่ีใช้หาล าดบัเป็น Rank.Eq

• Percent หมายถึง Percentile rank ของข้อมลูคา่นัน้เมื่อเทียบกบัข้อมลูทัง้หมด ในกรณีตวัอยา่งนี ้มีจ านวน 119 ค่า สงัเกตว่าข้อมลู 2 ค่าหรือมากกว่า อยู่ใน Percentile rank เดียวกนัเนื่องจากข้อมลูดงักลา่วมีคา่เทา่กนั

(ก)

(ข)

ภาพที่ 4.3 รายการ Rank and Percentile จาก Analysis ToolPak (ก) ไดอะลอ็คของ Rank and Percentile (ข)

Page 7: ปฏิบัติการที่ 4 Descriptive Statistics II Mean, Median, Mode, …pioneer.chula.ac.th/~stosak/biostatlab/chapter4.pdf · ภาพท 4.4 การป อนส

7

(ค)

(ง)

ภาพที่ 4.3 (ต่อ) เมือ่ปอ้นคา่ตา่ง ๆ แล้ว (ค) ผลการวิเคราะห์ด้วย Rank and Percentile (ง)

นอกเหนือจากการใช้ Data Analysis ดงักล่าวมาข้างต้นแล้ว ยงัมีฟังก์ชัน่ใน Excel 2013 ที่ใช้เพื่อหาค่าสถิติตา่ง ๆ ได้เช่นเดียวกนักบั Descriptive Statistics และ Rank and Percentile และอาจท าได้มากกวา่ เนื่องจากในโมดลุทัง้สอง หากสงัเกตผลการวิเคราะห์ในภาพที่ 4.2 ง และ 4.3 ง จะพบว่าไม่มีค่า percentile หรือกล่าวอีกนยัหนึ่งว่าไม่

Page 8: ปฏิบัติการที่ 4 Descriptive Statistics II Mean, Median, Mode, …pioneer.chula.ac.th/~stosak/biostatlab/chapter4.pdf · ภาพท 4.4 การป อนส

8

สามารถหาคา่ให้ได้ ดงันัน้ จึงควรทราบฟังก์ชัน่ทางสถิติและการใช้งานฟังก์ชัน่เหลา่นัน้บ้าง เพื่อสามารถน าไปปรับใช้งานได้ตามความต้องการ

ตารางที่ 4.1 ฟังก์ชั่นส าหรับการค านวนหาค่าสถติพรรณนา

ค่าสถติ ิ ฟังก์ชนั ตัวแปรต่างๆ

คา่เฉลีย่ Mean average(x1, x2, …) x1, x2, … คือคา่ข้อมลูดิบ คา่มธัยฐาน Median median(x1, x2, …) x1, x2, … คือคา่ข้อมลูดิบ คา่ฐานนิยม Mode • หากมเีพียง 1 คา่ mode.sngl(x1, x2, …) x1, x2, … คือคา่ข้อมลูดิบ • หากมมีากกวา่ 1 คา่ mode.mult(x1,x2,…)

กด ค้างไว้ แล้วกด เพื่อปอ้นสตูรเป็น array formula

คา่มากที่สดุ Maximum max(x1, x2, …) x1, x2, … คือคา่ข้อมลูดิบ คา่น้อยที่สดุ Minimum min(x1, x2, …) x1, x2, … คือคา่ข้อมลูดิบ คา่เบีย่งเบนมาตรฐาน

Standard deviation

stdev.s(x1, x2, …) x1, x2, … คือคา่ข้อมลูดิบ

คา่ความแปรปรวนVariance

var.s(x1, x2, ...) x1, x2, … คือคา่ข้อมลูดิบ

คา่พิสยั Range max(x1, x2, …) - min(x1, x2, …) x1, x2, … คือคา่ข้อมลูดิบ จ านวนข้อมลู Count count(x1,x2,...) x1, x2, … คือคา่ข้อมลูดิบ คา่ล าดบั Rank • ถ้าข้อมลูดิบมีคา่เทา่กนัตัง้แต ่2 คา่ขึน้ไป จะก าหนดคา่ล าดบัเดยีวกนั

rank.eq(x,array,[order]) - x คือคา่ข้อมลูดิบที่ต้องการทราบ percentile rank - array คือ ข้อมลูดิบ

- order หากเป็น 0 ข้อมลูดิบเสมือนวา่เรียงจากมากไปน้อย หากเป็น 1 ข้อมลูดิบเสมือนวา่เรียงจากน้อยไปมาก หากไมร่ะบ ุจะเป็นข้อมลูดิบเสมือนวา่เรียงจากมากไปน้อย

• ถ้าข้อมลูดิบมีคา่เทา่กนัตัง้แต ่2 คา่ขึน้ไป จะก าหนดคา่ล าดบัเฉลีย่กนั

rank.avg(x,array,[order])

คา่ข้อมลูดิบที ่ percentile

ล าดบัท่ี k

percentile.inc(array,k) - array คือ ข้อมลูดิบ - k คือล าดบัท่ีจาก 0%-100% (ต้องมี % ตามหลงั) หรือ 0-1

percentile rank ของคา่ข้อมลูดิบ

percentrank.inc(array,x,[significance]) - array คือ ข้อมลูดิบ - x คือคา่ข้อมลูดิบที่ต้องการทราบ percentile rank - significance คือจ านวนทศนิยมของ percentile rank อาจจะระบหุรือไม่ต้องระบก็ุได้

Page 9: ปฏิบัติการที่ 4 Descriptive Statistics II Mean, Median, Mode, …pioneer.chula.ac.th/~stosak/biostatlab/chapter4.pdf · ภาพท 4.4 การป อนส

9

ส าหรับการใช้ฟังก์ชั่นข้างต้น จะยกเป็นตวัอย่างโดยใช้ไฟล์ข้อมูล afgekia_data_2.xlsx ใน worksheet ช่ือ afgekia_mahidole (มีข้อมลูในแถวที่ 2-51) โดยท าตามดงันี ้

1. พิมพ์ค าอธิบายค่าสถิติลงในเซลล์ A53:A62 ดังนี ้mean median mode N s.d. s.e. max min

range และ variance

2. พิมพ์สตูรลงในเซลล์ B53:B62 ดงัภาพท่ี 4.4 ก ซึง่จะได้ผลการค านวณดงัภาพท่ี 4.4 ข

(ก)

(ข)

ภาพที่ 4.4 การปอ้นสตูรเพื่อค านวณคา่ทางสถิติ (ก) และผลการค านวณ (ข)

การหา Rank และ Percentile Rank นัน้ จะใช้ข้อมลูเดยีวกนัโดยท าตามดงันี ้3. เลอืกคอลมัน์ D:F โดยวาง ที่หวัคอลมัน์ D กดแปน้ซ้ายของเม้าส์แล้วลากไปทางขวาถงึคอลมัน์ F

แล้วปลอ่ยแปน้ซ้าย ซึง่ จะเปลีย่นเป็น จึงกดแปน้ขวาของเม้าส์ เลอืก Insert (ภาพท่ี 4.5 ก)

Page 10: ปฏิบัติการที่ 4 Descriptive Statistics II Mean, Median, Mode, …pioneer.chula.ac.th/~stosak/biostatlab/chapter4.pdf · ภาพท 4.4 การป อนส

10

4. พิมพ์ที่เซลล์ D1:F1 ที่วา่งด้วยค า Rank.eq Rank.avg และ Percentile Rank (ภาพท่ี 4.5 ข) 5. พิมพ์สตูรการค านวณดงัภาพท่ี 4.5 ค – จ โดยต้องอ้างอิงเซลล์ข้อมลูดิบที่เป็น array แบบสมับรูณ์แถว

a. เซลล์ D2 – หาล าดบัของค่าในเซลล์ C2 จากข้อมลูดิบในเซลล์ C2:C51 โดนคิดเสมือนว่าข้อมูลดิบเรียงจากน้อยไปมาก หากข้อมลูดิบมีค่าซ า้กนั ให้ล าดบัแก่ข้อมลูเหลา่นัน้เป็นล าดบัเดียวกัน เช่น สมมตุิวา่มีข้อมลูเรียงกนัเป็น 100 101 101 105 110 จะได้ล าดบัเป็น 1 2 2 4 5

b. เซลล์ E2 – หาล าดบัของค่าในเซลล์ C2 จากข้อมลูดิบในเซลล์ C2:C51 โดนคิดเสมือนว่าข้อมลูดิบเรียงจากน้อยไปมาก หากข้อมลูดิบมีคา่ซ า้กนั ให้ล าดบัแก่ข้อมลูเหลา่นัน้เป็นล าดบัเฉลี่ย เช่น สมมุติว่ามีข้อมลูเรียงกนัเป็น 100 101 101 105 110 จะได้ล าดบัเป็น 1 2.5 2.5 4 5 ซึ่งล าดบัเฉลี่ยคิดจากค่า 101 ซึ่งอยู่ในล าดบัที่ 2 และ 3 แต่ว่า ข้อมูลมีค่าเท่ากัน จึงได้ล าดบัเฉลี่ยเป็น (2+3)2 2.5

c. เซลล์ F2 – หา percentile rank ของคา่ในเซลล์ C2 จากข้อมลูในเซลล์ C2:C51 เมื่อได้คา่แล้ว มีทศนิยม 2 ต าแหนง่ คา่ที่ได้จะอยูใ่นช่วง 0-1

6. เมื่อปอ้นสตูรแล้วจะได้ผลดงัภาพท่ี 4.5 ฉ และหลงัจากคดัลอกสตูรแล้ว จะได้ผลดงัภาพท่ี 4.5 ช

(ก)

(ข)

(ค)

(ง)

(จ)

ภาพที่ 4.5 การแทรกคอลมัน์จ านวน 3 คอลมัน์ (ก) พิมพ์ค าอธิบายที่หวัคอลมัน์ (ข) ปอ้นฟังก์ชัน่ rank.eq (ค) ฟังก์ชัน่ rank.avg (ง) ฟังก์ชัน่ percentrank.inc (จ)

Page 11: ปฏิบัติการที่ 4 Descriptive Statistics II Mean, Median, Mode, …pioneer.chula.ac.th/~stosak/biostatlab/chapter4.pdf · ภาพท 4.4 การป อนส

11

(ฉ)

(ช)

ภาพที่ 4.5 (ต่อ) ผลการค านวณในเซลล์แรก (ฉ) เมื่อคดัลอกสตูรไปยงัเซลล์ D2:F51 (ช)

จากภาพที่ 4.5 ช ซึง่แสดงคา่ล าดบัและ percentile rank ของข้อมลูในตวัแปร rl นัน้ เนื่องจากมีข้อมลูเพียง 50 ค่า ล าดบัจึงเรียงจาก 1 ถึง 50 แต่เมื่อข้อมลูมีค่าซ า้กนั ฟังก์ชัน่ Rank.EQ จะให้ค่าล าดบัข้อมลูต่างจาก Rank.AVG เช่น ค่า 15.50 ซึ่งเร่ิมต้นที่ล าดบั 41 มีค่าซ า้ทัง้สิน้ 4 ค่า ใน Rank.EQ จะให้เป็นคา่ 41 เท่ากนั ในขณะที่ใน Rank.AVG จะให้ล าดบั 15.50 ทัง้สี่ค่าเป็น 41 42 43 44 ก่อน แล้วจึงน ามาเฉลี่ยได้เป็น (41+42+43+44)442.5 ทัง้สองฟังก์ชั่น จะให้ล าดับกับค่าที่มากกว่าขึน้ไปเป็น 45 เหมือนกัน (ดูค่า 15.60) ส่วน percentile rank หากข้อมูลมีค่าซ า้กัน จะได้ค่า

percentile rank เดียวกนั (สงัเกตคา่ 15.50 ซึง่มีคา่ซ า้กนั 4 คา่ ทกุคา่มี percentile rank เป็นคา่เดียวกนั) สว่นการหาคา่ข้อมลูที่ kth percentile นัน้ จะต้องใช้ฟังก์ชัน่ percentile.inc เพียงทางเดียว ไมม่ีโมดลุใน Data

Analysis ช่วยวิเคราะห์ ตวัอยา่งการค านวณเป็นดงันี ้

Page 12: ปฏิบัติการที่ 4 Descriptive Statistics II Mean, Median, Mode, …pioneer.chula.ac.th/~stosak/biostatlab/chapter4.pdf · ภาพท 4.4 การป อนส

12

7. ที่เซลล์ A63:A38 พิมพ์ค าอธิบายและคา่ percentile ที่ 5 25 50 75 และ 95 (ภาพท่ี 4.6 ก) 8. ที่เซลล์ C64 พิมพ์สตูร =percentile.inc(C$2:C$51,A64/100) (ภาพท่ี 4.6 ข) 9. คดัลอกสตูรของเซลล์ C64 ไปยงัเซลล์ C65:68 (ภาพท่ี 4.6 ค)

(ก)

(ข)

ภาพที่ 4.6 ก าหนดคา่ kth percentile (ก) ปอ้นสตูร (ข)

Page 13: ปฏิบัติการที่ 4 Descriptive Statistics II Mean, Median, Mode, …pioneer.chula.ac.th/~stosak/biostatlab/chapter4.pdf · ภาพท 4.4 การป อนส

13

(ค)

ภาพที่ 4.6 (ต่อ) คดัลอกสตูร (ค)

โปรแกรม SPSS 22

การวิเคราะห์สถิติพรรณนาในโปรแกรม SPSS สามารถท าได้โดยใช้ค าสัง่ Frequencies… หรือ Descriptive… หรือ Explore… ในเมนู Analyze > Descriptive Statistics นอกจากนี ้ยังอาจใช้ค าสัง่ Case Summaries… ในเมนู Analyze > Reports ได้อีกค าสัง่หนึ่ง ในบทนีจ้ะกลา่วถึงค าสัง่แต่ละค าสัง่เพื่อให้ทราบถึงความแตกตา่งของแต่ละค าสัง่ และสามารถเลอืกใช้งานได้อยา่งสมเหมาะสมตอ่ไป

การวิเคราะห์สถิติพรรณนาด้วยค าสัง่ Frequencies… มีขัน้ตอนดงันี ้1. เปิดไฟล์ afgekia_data.sav แล้วเลอืก Analyze > Descriptive Statistics > Frequencies… (ภาพ

ที่ 4.7 ก)

2. จากรายการตวัแปรในช่องซ้ายในไดอะล็อค เลือกตวัแปร Rachis length แล้วกด แล้วเลือกไม่แสดงตารางแจกแจงความถ่ีโดยเปลีย่น ใน เป็น (ภาพท่ี 4.7 ข)

3. กด แล้วเลอืกคา่สถิติดงัภาพท่ี 4.7 ค แล้วกด

4. เมื่อกด จะได้ผลการวิเคราะห์แสดงดงัภาพที่ 4.7 ง สงัเกตว่าจ านวนข้อมูลดิบ (N) มาจาก 3 ชนิด ไมม่ีการแยกกลุม่ข้อมลู ดงันัน้ ค าสัง่นี ้เหมาะกบัข้อมลูที่ไมม่ีการแยกกลุม่ของข้อมลู หากต้องการให้ผลวิเคราะห์แยกกลุ่มข้อมูล ต้องใช้ค าสัง่ Data > Select Cases… เพื่อเลือกข้อมูลเฉพาะกลุ่มที่สนใจเทา่นัน้ หรืออีกแนวทางหนึง่ คือ ใช้ค าสัง่ Explore หรือ Case Summaries ที่จะกลา่วถึงตอ่ไป

Page 14: ปฏิบัติการที่ 4 Descriptive Statistics II Mean, Median, Mode, …pioneer.chula.ac.th/~stosak/biostatlab/chapter4.pdf · ภาพท 4.4 การป อนส

14

(ก)

(ข)

ภาพที่ 4.7 ค าสัง่ Frequency ในเมน ูAnalysis > Descriptive Statistics (ก) ไดอะลอ็ค Frequencies (ข)

Page 15: ปฏิบัติการที่ 4 Descriptive Statistics II Mean, Median, Mode, …pioneer.chula.ac.th/~stosak/biostatlab/chapter4.pdf · ภาพท 4.4 การป อนส

15

(ค)

(ง)

ภาพที่ 4.7 (ต่อ) คา่สถิติที่ค าสัง่ Frequencies มใีห้เลอืก (ค) ผลการวิเคราะห์ด้วยค าสัง่ Frequencies (ง)

Page 16: ปฏิบัติการที่ 4 Descriptive Statistics II Mean, Median, Mode, …pioneer.chula.ac.th/~stosak/biostatlab/chapter4.pdf · ภาพท 4.4 การป อนส

16

การวเิคราะห์สถิติพรรณนาด้วยค าสัง่ Descriptives… มีขัน้ตอนดงันี ้1. เปิดไฟล์ afgekia_data.sav แล้วเลอืก Analyze > Descriptive Statistics > Descriptives… (ภาพ

ที่ 4.8 ก)

2. จากรายกายตวัแปรในช่องซ้ายในไดอะล็อค เลือกตวัแปร Rachis length แล้วกด แล้วเลือกไม่แสดงตารางแจกแจงความถ่ีโดยเปลีย่น ใน เป็น (ภาพท่ี 4.8 ข)

3. กด แล้วเลอืกคา่สถิติดงัภาพท่ี 4.8 ค แล้วกด

4. เมื่อกด จะได้ผลการวิเคราะห์แสดงดงัภาพท่ี 4.8 ง สงัเกตวา่คา่สถิติตา่ง ๆ และการวิเคราะห์ในค าสั่ง Descriptives และ Frequencies คล้ายคลึงกัน กล่าวคือ ไม่มีการแยกกลุ่มข้อมูล แต่ข้อที่ต่างกันคือ ในค าสัง่ Frequency มีค่าสถิติ Percentiles ให้เลือกและสามารถสร้างกราฟได้ ดังนัน้ ค าสัง่ Descriptives นี ้จึงเหมาะกบัข้อมลูที่ไม่มีการแยกกลุม่ของข้อมูลและไม่ต้องการค่าสถิติอื่น ๆ หรือกราฟ อย่างไรก็ตาม หากต้องการให้ผลวิเคราะห์แยกกลุ่มข้อมูล ต้องใช้ค าสัง่ Data > Select

Cases… เพื่อเลือกข้อมูลเฉพาะกลุ่มที่สนใจเท่านัน้ หรืออีกแนวทางหนึ่ง คือ ใช้ค าสัง่ Explore หรือ Case Summaries ที่จะกลา่วถึงตอ่ไป

(ก)

ภาพที่ 4.8 ค าสัง่ Descriptives ในเมน ูAnalysis > Descriptive Statistics (ก)

Page 17: ปฏิบัติการที่ 4 Descriptive Statistics II Mean, Median, Mode, …pioneer.chula.ac.th/~stosak/biostatlab/chapter4.pdf · ภาพท 4.4 การป อนส

17

(ข)

(ค)

ภาพที่ 4.8 (ต่อ) ไดอะลอ็ค Descriptives (ข) คา่สถิติทีค่ าสัง่ Descriptives มีให้เลอืก (ค)

Page 18: ปฏิบัติการที่ 4 Descriptive Statistics II Mean, Median, Mode, …pioneer.chula.ac.th/~stosak/biostatlab/chapter4.pdf · ภาพท 4.4 การป อนส

18

(ง)

ภาพที่ 4.8 (ต่อ) ผลการวเิคราะห์ด้วยค าสัง่ Descriptives (ง)

การวเิคราะห์สถิติพรรณนาด้วยค าสัง่ Explore… มีขัน้ตอนดงันี ้1. เปิดไฟล์ afgekia_data.sav แล้วเลอืก Analyze > Descriptive Statistics > Explore… (ภาพท่ี 4.9

ก)

2. จากรายกายตัวแปรในช่องซ้ายในไดอะล็อค เลือกตัวแปร Rachis length แล้วกด ของช่อง (ภาพท่ี 4.9 ข)

3. จากรายกายตวัแปรในช่องซ้ายในไดอะลอ็ค เลอืกตวัแปร Species แล้วกด ของช่อง

(ภาพท่ี 4.9 ข)

4. ที่ช่อง Display เลอืกให้แสดงผลเฉพาะคา่สถิติ

5. กด แล้วเลอืกคา่สถิตดิงัภาพท่ี 4.9 ค แล้วกด

6. เมื่อกด จะได้ผลการวิเคราะห์แสดงดังภาพที่ 4.9 ง-จ สังเกตว่าผลการวิเคราะห์ในค าสัง่ Explore ส าหรับตัวอย่างนี ้แยกตามกลุ่มข้อมูล ซึ่งในแต่ละกลุ่ม มีค่าสถิติเช่นเดียวกับค าสั่ง

Frequencies และ Descriptives ข้างต้น สว่นท่ีเพิ่มขึน้มาในผลการวิเคราะห์ด้วยค าสัง่ Explore คือ ค่า Extreme Values (หรือ outliers นัน้เอง) นอกจากนี ้ค าสั่ง Explore ยังสร้างกราฟได้เช่นกัน (อ่านเพิ่มเติมในบทท่ี 3) อนึ่ง หากไม่ต้องการแยกกลุม่ ไม่ต้องระบตุวัแปรใน ซึ่งจะได้ผลการวิเคราะห์เช่นเดียวกบัค าสัง่ Frequencies และ Descriptives

Page 19: ปฏิบัติการที่ 4 Descriptive Statistics II Mean, Median, Mode, …pioneer.chula.ac.th/~stosak/biostatlab/chapter4.pdf · ภาพท 4.4 การป อนส

19

(ก)

(ข)

ภาพที่ 4.9 ค าสัง่ Explore ในเมน ูAnalysis > Descriptive Statistics (ก) ไดอะลอ็ค Explore (ข)

Page 20: ปฏิบัติการที่ 4 Descriptive Statistics II Mean, Median, Mode, …pioneer.chula.ac.th/~stosak/biostatlab/chapter4.pdf · ภาพท 4.4 การป อนส

20

(ค)

(ง)

ภาพที่ 4.9 (ต่อ) คา่สถิติที่ค าสัง่ Explore มีให้เลอืก (ค) ผลการวเิคราะห์ด้วยค าสัง่ Explore แสดงคา่สถิติพรรณนา (ง)

Page 21: ปฏิบัติการที่ 4 Descriptive Statistics II Mean, Median, Mode, …pioneer.chula.ac.th/~stosak/biostatlab/chapter4.pdf · ภาพท 4.4 การป อนส

21

(จ)

ภาพที่ 4.9 (ต่อ) Percentiles และ Extreme Values (จ)

การวเิคราะห์สถิติพรรณนาด้วยค าสัง่ Case Summaries… มีขัน้ตอนดงันี ้

1. เปิดไฟล์ afgekia_data.sav แล้วเลอืก Analyze > Descriptive Statistics > Case Summaries……

(ภาพท่ี 4.10 ก)

2. จากรายกายตัวแปรในช่องซ้ายในไดอะล็อค เลือกตัวแปร Rachis length แล้วกด ของช่อง (ภาพท่ี 4.10 ข)

3. จากรายกายตัวแปรในช่องซ้ายในไดอะล็อค เลือกตัวแปร Species แล้วกด ของช่อง (ภาพท่ี 4.10 ข)

4. ที่ช่อง เลอืกไมแ่สดงข้อมลูดิบ โดยเปลีย่น เป็น (ภาพท่ี 4.10 ข)

5. กด แล้วเลือกค่าสถิติจากรายการในช่อง Statistics: แล้วกด ให้ตวัแปรที่เลือกมาอยู่

ในช่อง Cell Statistics: เลอืกคา่สถิติตา่ง ๆ ดงัภาพท่ี 4.10 ค แล้วกด

6. เมื่อกด จะได้ผลการวิเคราะห์แสดงดงัภาพที่ 4.10 ง สงัเกตว่าค่าสถิติต่าง ๆ และการวิเคราะห์ในค าสั่ง Case Summaries ส าหรับตัวอย่างนี ้แยกตามกลุ่มข้อมูล เช่นเดียวกับค าสั่ง Explore ข้างต้น สว่นที่เพิ่มขึน้มาในผลการวิเคราะห์ด้วยค าสัง่ Case Summaries คือ ค่าสถิติเพิ่มขึน้ (ภาพที่ 4.10 ค) ในค าสัง่ Case Summaries นี ้ไม่สามารถสร้างกราฟใด ๆ ได้ อนึ่ง หากไม่ต้องแยกกลุม่ ไม่ต้องระบตุวัแปรใน ซึง่จะได้ผลการวิเคราะห์เช่นเดียวกบัค าสัง่ Frequencies และ Explore ข้างต้น

Page 22: ปฏิบัติการที่ 4 Descriptive Statistics II Mean, Median, Mode, …pioneer.chula.ac.th/~stosak/biostatlab/chapter4.pdf · ภาพท 4.4 การป อนส

22

(ก)

(ข)

ภาพที่ 4.10 ค าสัง่ Case Summaries ในเมน ูAnalysis > Reports (ก) ไดอะลอ็ค Case Summaries (ข)

Page 23: ปฏิบัติการที่ 4 Descriptive Statistics II Mean, Median, Mode, …pioneer.chula.ac.th/~stosak/biostatlab/chapter4.pdf · ภาพท 4.4 การป อนส

23

(ค)

(ง)

ภาพที่ 4.10 (ต่อ) คา่สถิติทีค่ าสัง่ Case Summaries มใีห้เลอืก (ค) ผลการวิเคราะห์ด้วยค าสัง่ Case Summaries

แสดงคา่สถิติพรรณนา (ง)

Page 24: ปฏิบัติการที่ 4 Descriptive Statistics II Mean, Median, Mode, …pioneer.chula.ac.th/~stosak/biostatlab/chapter4.pdf · ภาพท 4.4 การป อนส

24

สว่นการหาคา่ Rank และ Percentile Rank ของข้อมลูนัน้ ใช้ค าสัง่ Rank Cases ในเมน ูTransform มีขัน้ตอนวิเคราะห์ดงันี ้

1. เปิดไฟล์ afgekia_data.sav แล้วเลอืก Transform > Rank Cases... (ภาพท่ี 4.11 ก)

2. จากรายการตวัแปรในช่องซ้าย เลือกตวัแปร Rachis length แล้วกด ของช่อง แล้วก าหนดให้ค่าที่น้อยที่สุดเป็นล าดบัที่ 1 ใน โดยเลือก และให้แสดงตารางผลสรุป (ภาพท่ี 4.11 ข)

3. กด ก าหนดคา่ดงัภาพท่ี 4.11 ค (Types) แล้วกด

4. กด ก าหนดคา่ดงัภาพท่ี 4.11 ค (Ties) แล้วกด

5. เมื่อกด จะได้ผลดงัภาพที่ 4.11 ง ซึ่งรายงานตวัแปรที่สร้างขึน้ใหม่ 2 ตวัแปร คือตวัแปรที่ค่า Rank (Rrl) และตวัแปรที่เป็นค่า Percentile Rank (Prl) โดยตวัแปรทัง้สองนีจ้ะปรากฏเป็นตวัแปรสดุท้ายในวินโดว์ Data Editor (ภาพท่ี 4.11 จ)

6. หากต้องการแสดงคา่ข้อมลูของตวัแปร Rachis length พร้อมคา่ Rank และ Percentile Rank ให้ใช้ค าสัง่ Case Summaries ในเมน ูAnalysis > Reports โดยตัง้คา่แสดงผลดงัภาพท่ี 4.11 ฉ และเลอืก

ให้แสดง Number of Cases ใน เท่านัน้ เมื่อกด จะมีตารางแสดงข้อมลูดิบของตวัแปร Rachis length พร้อมกบัค่า Rank และ Percentile Rank ของข้อมลูดิบแต่ละค่า (ภาพที่ 4.11ช) สงัเกตวา่ ไมม่ีการแยกกลุม่ข้อมลูในตารางที่แสดงในภาพท่ี 4.11 ช

(ก)

ภาพที่ 4.11 ค าสัง่ Rank Case ในเมน ูTransform (ก)

Page 25: ปฏิบัติการที่ 4 Descriptive Statistics II Mean, Median, Mode, …pioneer.chula.ac.th/~stosak/biostatlab/chapter4.pdf · ภาพท 4.4 การป อนส

25

(ข)

(ค)

(ง)

ภาพที่ 4.11 (ต่อ) ตัง้คา่ในไดอะลอ็ค Rank Cases (ข) เลอืกคา่สถิติใน Rank Types และ Ties (ค) รายงานสรุปตวัแปรที่สร้างขึน้ใหม ่(ง)

Page 26: ปฏิบัติการที่ 4 Descriptive Statistics II Mean, Median, Mode, …pioneer.chula.ac.th/~stosak/biostatlab/chapter4.pdf · ภาพท 4.4 การป อนส

26

(จ)

(ฉ)

ภาพที่ 4.11 (ต่อ) คา่ข้อมลูในตวัแปรที่สร้างขึน้ใหม ่(จ) การก าหนดคา่ในค าสัง่ Case Summaries เพื่อแสดงคา่ในตวัแปร Rachis lenth พร้อมกบั Rank และ Percentile Rank (ฉ)

Page 27: ปฏิบัติการที่ 4 Descriptive Statistics II Mean, Median, Mode, …pioneer.chula.ac.th/~stosak/biostatlab/chapter4.pdf · ภาพท 4.4 การป อนส

27

(ช)

ภาพที่ 4.11 (ต่อ) และตารางข้อมลูตวัแปร Rachis length (ช)

หากต้องการทราบ Rank และ Percentile Rank ของข้อมูลแยกเป็นกลุ่ม สามารถท าตามวิธีการข้างต้น เพียงแตป่รับเปลีย่นบางขัน้ตอนดงันี ้

i. ในขัน้ตอนที่ 2 การเลือกตวัแปร – ให้เพิ่มการเลือกตวัแปร Species แล้วกด ของช่อง (ภาพที่ 4.12 ก) เมื่อวิเคราะห์ข้อมลูแล้วจะมีตวัแปรเกิดขึน้ 2 ตวัแปร RAN001 และ PER001 (ภาพที่ 4.12 ข และ ค) เนื่องจากมีตวัแปร Rrl และ Prl อยูแ่ล้วจากการวเิคราะห์ก่อนหน้านี ้SPSS จึงไมส่ร้างตวัแปรที่มีช่ือซ า้หรือเขียนข้อมลูทบั แต่จะสร้างตวัแปรใหม่แทนและมีช่ือตวัแปรเป็น RAN001 และ PER001 ตวัแปรทัง้สองนีเ้ก็บคา่ Rank และ Percentile Rank แยกตามกลุม่ที่ก าหนดโดย Species

ii. ในขัน้ตอนที่ 6 การแสดงข้อมลู – ให้เลือกตวัแปร RAN001 และ PER001 แทน Rrl และ Prl พร้อมทัง้

ให้เพิ่มการเลือกตวัแปร Species แล้วกด ของช่อง (ภาพที่ 4.12 ง) ซึ่งแสดงผลดงัตารางในภาพท่ี 4.12 จ – ฉ (แสดงผลเพียง 2 กลุม่จาก 3 กลุม่)

จากภาพที่ 4.12 จ – ช สงัเกตวา่ในแตล่ะกลุม่จะมี Rank ที่สงูที่สดุตา่งขึน้ ขึน้กบัจ านวนข้อมลูในแตล่ะกลุม่ และมี Percentile Rank จาก 0 ถึง 100 ภายในแตล่ะกลุม่ด้วย

Page 28: ปฏิบัติการที่ 4 Descriptive Statistics II Mean, Median, Mode, …pioneer.chula.ac.th/~stosak/biostatlab/chapter4.pdf · ภาพท 4.4 การป อนส

28

(ก)

(ข)

(ค)

ภาพที่ 4.12 ก าหนดตวัแปรระบกุลุม่ด้วย ในไดอะลอ็ค Rank Cases (ก) ตวัแปรที่สร้างขึน้ใหม ่(ข) [เปรียบเทยีบภาพท่ี 4.12 ข กบัภาพท่ี 4.11 ง] ตวัแปร RAN001 และ PER001 ในวินโดว์ Data Editor (ค)

Page 29: ปฏิบัติการที่ 4 Descriptive Statistics II Mean, Median, Mode, …pioneer.chula.ac.th/~stosak/biostatlab/chapter4.pdf · ภาพท 4.4 การป อนส

29

(ง)

(จ)

ภาพที่ 4.12 (ต่อ) การก าหนดคา่ในค าสัง่ Case Summaries เพื่อแสดงคา่ในตวัแปร Rachis lenth พร้อมกบั Rank และ Percentile Rank แยกตามตวัแปรกลุม่ Species (ง) ตารางข้อมลูตวัแปร Rachis length พร้อมกบั Rank และ Percentile

Rank ของกลุม่ที่ 1(จ)

Page 30: ปฏิบัติการที่ 4 Descriptive Statistics II Mean, Median, Mode, …pioneer.chula.ac.th/~stosak/biostatlab/chapter4.pdf · ภาพท 4.4 การป อนส

30

(ฉ)

(ช)

ภาพที่ 4.12 (ต่อ) ตารางข้อมลูตวัแปร Rachis length พร้อมกบั Rank และ Percentile Rank ของกลุม่ที่ 2 (ฉ) กลุม่ที่ 3 (ช)

Page 31: ปฏิบัติการที่ 4 Descriptive Statistics II Mean, Median, Mode, …pioneer.chula.ac.th/~stosak/biostatlab/chapter4.pdf · ภาพท 4.4 การป อนส

31

แบบฝึกหดัปฏิบตัิการที่ 4

1. จงใช้ข้อมลูในตารางของข้อที่ 1 ของแบบฝึกหดัปฏิบตักิารครัง้ที่ 3 เพื่อหาคา่ดงัตอ่ไปนี ้

ก) จงหาคา่เฉลีย่ (mean) คา่มธัยฐาน (median) คา่ฐานนิยม (mode) คา่ความแปรปรวน (variance) คา่เบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation) และคา่พิสยั (range) คา่ Rank แบบเฉลีย่และ Percentile Rank

ของจ านวนไขข่องป ูโดยใช้โปรแกรม Microsoft® Excel 2013

ข) ให้ใช้โปรแกรม SPSS 22 เพื่อหาคา่ในข้อ ก.

ค) จากหาอตัราการตายจากโรคหวัใจที ่percentile ที่ 5 10 25 50 75 90 และ 95

การบ้านปฏิบตักิารที่ 4

จงใช้ข้อมลูในตารางในข้อที่ 1 และ 2 ของการบ้านปฏิบตัิการครัง้ที่ 3 เพื่อหาคา่ดงัตอ่ไปนี ้

i. จงหาคา่ Mean, Median, Mode, Range, Standard deviation, Variance, Standard error, Rank

แบบเฉลีย่และ Percentile Rank โดยใช้โปรแกรม Microsoft® Excel 2013

ii. ให้ใช้โปรแกรม SPSS 22 เพื่อหาคา่ในข้อ ก.

iii. จากหาคา่ X ที ่percentile ที่ 1 5 10 50 90 95 และ 99