339
กรมทรัพยากรธรณี แผนปฏิบัติงานและแผนการใชจายงบประมาณ สําหรับงาน/โครงการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2562 สวนแผนและประเมินผล สํานักงานเลขานุการกรม กรมทรัพยากรธรณี ตุลาคม 2561

กรมทรัพยากรธรณี · 62 กรมทรัพยากรธรณีได รับงบประมาณ 695.4451 ล านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากป

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • กรมทรัพยากรธรณ ี

    แผนปฏิบัติงานและแผนการใชจายงบประมาณ

    สําหรับงาน/โครงการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2562

    สวนแผนและประเมินผล สํานักงานเลขานุการกรม

    กรมทรัพยากรธรณี

    ตุลาคม 2561

  • กรมทรัพยากรธรณ ี

    แผนปฏิบัติงานและแผนการใชจายงบประมาณ

    สําหรับงาน/โครงการ ประจาํปงบประมาณ พ.ศ. 2562

    สวนแผนและประเมินผล สํานักงานเลขานุการกรม

    กรมทรัพยากรธรณี

    ตุลาคม 2561

  • คํานํา

    ในปงบประมาณ พ.ศ. 2562 กรมทรัพยากรธรณีไดรับงบประมาณ 695.4451 ลานบาท

    ซ่ึงเพ่ิมข้ึนจากปงบประมาณ พ.ศ. 2561 ท่ีไดรับจัดสรรงบประมาณท้ังสิ้น 653.7443 ลานบาท คิดเปนรอยละ

    6.38 ท้ังนี้ งบประมาณท่ีไดรับสวนใหญเปนงบบุคลากร และงบลงทุน ซ่ึงงบประมาณแตละงบรายจายคิดเปน

    รอยละประมาณ 30.99 และ 25.95 ของงบประมาณท้ังหมด งบรายจายอ่ืน คิดเปนรอยละประมาณ 24.34

    สวนงบดําเนินงาน คิดเปนรอยละประมาณ 18.41 และงบเงินอุดหนุนคิดเปนรอยละประมาณ 0.31

    สวนแผนและประเมินผล สลก. ไดจัดทําแผนปฏิบัติงานและแผนการใชจายงบประมาณเปน

    ประจํา ภายหลังจากท่ีพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปไดผานการพิจารณาของสภานิติบัญญัติ

    แหงชาติและไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาเรียบรอยแลว ซ่ึงแผนดังกลาวไดจัดสงใหสํานักงบประมาณเพ่ือ

    จัดสรรเงินงบประมาณรายจายใหกรมสามารถดําเนินการตามแผนงานท่ีกําหนดไวในแตละไตรมาส

    ท้ังนี้ แผนดังกลาวก็จะไดเปนประโยชนตอการตรวจติดตาม ประเมินผลการดําเนินงานซ่ึงสอดคลอง

    กับสถานการณในปจจุบันท่ีจะตองติดตามและประเมินผลการดําเนินงานของหนวยงานตางๆในหลายๆ มิติ อีกท้ัง

    แผนดังกลาวยังเปนประโยชนในการอางอิง เพ่ือการจัดทํารายละเอียดงาน/โครงการ ในลักษณะบูรณาการใน

    ปงบประมาณตอๆ ไป

    สวนแผนและประเมินผล สํานักงานเลขานกุารกรม

    ตุลาคม 2561

  • สารบัญ

    แผนงานยุทธศาสตรจัดระบบอนุรักษ ฟนฟู และปองกันการทําลายทรัพยากรธรรมชาติ

    โครงการกําหนดเขตแหลงแรเศรษฐกิจเพ่ือการบริหารจัดการแร หนา 1 - 48

    แผนงานยุทธศาสตรพัฒนาระบบการเตรียมพรอมแหงชาติและระบบบริหารจัดการภัยพิบัติ

    โครงการจัดการธรณีพิบัติภัยดินถลม หนา 49 - 67

    แผนงานบูรณาการสรางรายไดจากการทองเท่ียว กีฬา และวัฒนธรรม

    โครงการพัฒนาแหลงทองเท่ียวทางธรณีวิทยา หนา 68 - 88

    แผนงานบูรณาการพัฒนาพ้ืนท่ีระดับภาค

    โครงการยกระดับการทองเท่ียวยุคกอนประวัติศาสตร หนา 89 - 97

    แผนงานพ้ืนฐานดานการจัดการน้ําและสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรกับส่ิงแวดลอมอยางย่ังยืน

    ผลผลิต : การบริหารจัดการทรัพยากรธรณ ี

    กิจกรรมหลัก 1 : สํารวจและประเมินสถานภาพทรัพยากรธรณ ี

    การจัดทํามาตรฐาน และคลังขอมูลดานธรณีวิทยา และทรัพยากรธรณี หนา 98 - 111 การสํารวจขอมูลพ้ืนฐานดานธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณี หนา 112 - 139

    กิจกรรมหลัก 2 : จัดทํานโยบาย แผน มาตรการ และแนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรธรณี

    การจัดทํานโยบาย แผน มาตรการ แนวทางและขอเสนอการบริหารจัดการทรัพยากรธรณี

    หนา 140 - 144

    การอนุรักษและจัดการแหลงทรัพยากรธรณีเพ่ือการพัฒนาอยางยั่งยืน หนา 145 - 162

    กิจกรรมหลัก 3 : จัดการซากดึกดําบรรพ ธรณีวิทยา และธรรมชาติวิทยา

    การบริหารจัดการ จัดตั้งและพัฒนาพิพิธภัณฑซากดึกดําบรรพ ธรณีวิทยา และธรรมชาติวิทยา

    หนา 163 - 169

    การคุมครองแหลงและซากดึกดําบรรพ หนา 170 - 190

    กิจกรรมหลัก 4 : ศึกษา วิจัย พัฒนาองคความรู และบริการขอมูล ความรู ดานทรัพยากรธรณี และธรณีวิทยา

    การประสานความรวมมือระหวางประเทศ หนา 191 - 240 การบริหารท่ัวไปดานธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณี หนา 241 - 265 การใหบริการดานธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณี หนา 266 - 282

  • สารบัญ

    กิจกรรมหลัก 5 : บริหารระบบสารสนเทศธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณี

    การบริหารและพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณี หนา 283 - 295

    ผลผลิต : ขอมูลธรณีสัณฐานชายฝงทะเล

    กิจกรรมหลัก 1 : สํารวจและศึกษาธรณีสัณฐานชายฝงทะเล

    การสํารวจ ศึกษาธรณีสัณฐาน และการเปลี่ยนแปลงชายฝงทะเล หนา 296 - 317

  • 15/9/2018

    พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจ าปงีบประมาณ พ .ศ. 2562 V. 695,445,100 กรมทรัพยากรธรณ ีกระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิละสิ่งแวดล้อม

    รวมทั้งสิ้น เปา้หมาย งบบคุลากร งบด าเนินงาน งบลงทุน งบเงินอุดหนุน รายจา่ยอ่ืน รวมทั้งสิ้น

    ยทุธศาสตร์ที ่5 : ดา้นการจัดการน้ าและสร้างการเตบิโตบนคุณภาพชวีิตทีเ่ปน็มติรกับสิ่งแวดล้อมอยา่งยัง่ยนืแผนงาน : 5.1 แผนงานยทุธศาสตร์จัดระบบอนุรักษ์ ฟ้ืนฟู และปอ้งกันการท าลายทรัพยากรธรรมชาติ

    รอง อทธ. (สมหมาย) กทร.

    7,382,100 2 ชนิด - - 17,625,100 - 8,059,900 25,685,000

    1,841,300 17,625,100 2,519,100 20,144,200

    5,540,800 2 ชนิด - - - - 5,540,800 5,540,800 66,843,300 4 แห่ง / 4 แห่ง - - - - 25,613,800 25,613,800

    5,040,200 2 แห่ง - - - - 5,040,200 5,040,200

    79,265,600 - - 17,625,100 - 38,713,900 56,339,000

    ยทุธศาสตร์ที ่1 : ดา้นความมัน่คงแผนงาน : 1.9 แผนงานยทุธศาสตร์พัฒนาระบบการเตรียมพร้อมแหง่ชาติและระบบบริหารจัดการภยัพิบตัิ

    รอง อทธ. (นิวตั)ิ กธส.

    6,000,000

    50,005,500 ไม่น้อยกวา่ 2,400 คน / ไม่น้อยกวา่ 90 ต าบล/

    11.9 ล้านไร่/1,000 หมู่บา้น

    - - - 43,780,800 43,780,800

    รวม 56,005,500 - - - - 43,780,800 43,780,800

    [1] รวมยทุธศาสตร์ที่ 1 56,005,500 - - - - 43,780,800 43,780,800

    ยทุธศาสตร์ที ่2 : ดา้นการสร้างความสามารถในการแขง่ขนัของประเทศแผนงาน : 2.4 แผนงานบรูณาการสร้างรายไดจ้ากการทอ่งเทีย่ว กีฬา และวัฒนธรรม

    รอง อทธ. (นิวตั)ิ /ผชช.นราเมศวร์

    กธว.

    18,525,000 2 แห่ง / 8 แห่ง - - - - 17,590,000 17,590,000

    8,760,000 2 แห่ง / 8 แห่ง - - - - 8,830,000 8,830,000 - - - 8,760,000 8,760,000

    รวม 18,525,000 - - - - 17,590,000 17,590,000

    แผนงาน : 2.16 แผนงานบรูณาการพัฒนาพ้ืนทีร่ะดบัภาค รอง อทธ. (นิวตั)ิ /ผชช.นราเมศวร์

    สทข.2

    20,000 ราย / 2 แห่ง - - 35,930,600 - - 35,930,600

    รวม - - 35,930,600 - - 35,930,600 18,525,000 - - 35,930,600 - 17,590,000 53,520,600

    ยทุธศาสตร์ที ่5 : ดา้นการจัดการน้ าและสร้างการเตบิโตบนคุณภาพชวีิตทีเ่ปน็มติรกับสิ่งแวดล้อมอยา่งยัง่ยนืแผนงาน : 5.8 แผนงานบคุลากรภาครัฐ (ดา้นการจัดการน้ าและสร้างการเตบิโตบนคุณภาพชวีิตทีเ่ปน็มติรกับสิ่งแวดล้อมอยา่งยัง่ยนื )ผลผลิต : รายการค่าใชจ้่ายบคุลากรภาครัฐอนุรักษ์ ฟ้ืนฟู และปอ้งกันทรัพยากรธรรมชาติกิจกรรมหลกั : อนุรักษ์ ฟ้ืนฟู และป้องกันทรัพยากรธรรมชาติ1. งบบคุลากร 213,271,300 215,525,200 - - - - 215,525,200

    138,584,200 413 อตัรา 142,166,300 - - - - 142,166,300 18,830,000 57 อตัรา 17,546,100 - - - - 17,546,100 55,857,100 255 อตัรา 55,812,800 - - - - 55,812,800

    2. งบด าเนินงาน (สิทธิตามบคุคล) 3,927,100 - 3,949,800 - - - 3,949,800

    750,000 20 อตัรา - 852,000 - - - 852,000 992,000 3 อตัรา - 992,000 - - - 992,000 92,400 - - - - - -

    2,092,700 255 อตัรา - 2,105,800 - - - 2,105,800

    รวม (2) 217,198,400 215,525,200 3,949,800 - - - 219,475,000

    แผนงาน : 5.9 แผนงานพ้ืนฐานดา้นการจัดการน้ าและสร้างการเตบิโตบนคุณภาพชวีิตทีเ่ปน็มติรกับสิ่งแวดล้อมอยา่งยัง่ยนืผลผลิต : การบริหารจัดการทรัพยากรธรณี

    กธว.กธว. 3,610,000 ( 3 เรื่อง / 220 ชิ้นตวัอยา่ง) - 3,610,000 240,700 - - 3,850,700 กทธ. 20,407,500 3 จงัหวดั / ( 1 เรื่อง /

    3 แห่ง / 1 รอยเลื่อน)- - 487,200 - 20,407,500 20,894,700

    2,000,000 (1 เรื่อง) - - - - 2,000,000 2,000,000 2,000,000 (1 เร่ือง) - - - - 2,000,000 2,000,000 3,500,000 2 จงัหวดั - - 487,200 - 3,500,000 3,987,200

    3,500,000 2 จงัหวัด - - 487,200 - 3,500,000 3,987,200

    14,907,500 1 จงัหวดั / ( 3 แห่ง / 1 รอยเลื่อน)

    - - - - 14,907,500 14,907,500

    1,500,000 1 จงัหวัด - - - - 1,500,000 1,500,000 13,407,500 ( 3 แห่ง / 1 รอยเล่ือน) - - - - 13,407,500 13,407,500

    รวม 24,017,500 - 3,610,000 727,900 - 20,407,500 24,745,400

    กอท.

    กอท. 3,876,000 2 เรื่อง / 2 เรื่อง - 3,876,000 - - - 3,876,000

    กธว. 6,747,900 2 แห่ง / ( 2 ครั้ง) - - - - 9,747,900 9,747,900

    รวม 10,623,900 - 3,876,000 - - 9,747,900 13,623,900

    กิจรรมหลกั : บริหารจดัการแร่ของประเทศ

    กิจรรมหลกั : ลดผลกระทบดา้นธรณีพิบัตภิัยดนิถลม่

    กิจกรรมหลกั 1 : ส ารวจและประเมินสถานภาพทรัพยากรธรณี

    กิจกรรมหลกั : พัฒนาพิพิธภัณฑ์เพ่ือยกระดบัการท่องเที่ยวและ ให้บริการพิพิธภัณฑ์ทางธรณีวทิยาและซากดกึด าบรรพ์กิจกรรมหลัก : พัฒนาพิพิธภัณฑ์เพ่ือยกระดบัการท่องเที่ยวและให้บริการพิพิธภัณฑ์ทางธรณวีทิยาและซากดกึด าบรรพ์ (สทข.2)

    รวมยทุธศาสตร์ที่ 5 (1)

    โครงการยกระดบัการทอ่งเทีย่วยคุก่อนประวัตศิาสตร์

    2.3 ค่าตอบแทนพเิศษเงินเดือนเต็มขั้นขา้ราชการและลูกจา้งประจ า

    1.3 ค่าตอบแทนพนักงานราชการ

    2.1 ค่าเชา่บ้าน 2.2 ค่าตอบแทนเหมาจา่ยแทนการจดัหารถประจ าต าแหน่ง

    2.4 เงินสมทบกองทุนประกนัสังคม

    1. การจดัท ามาตรฐาน และคลังข้อมูลดา้นธรณวีทิยา และทรัพยากรธรณ ี

    1. การจดัท านโยบาย แผน มาตรการ แนวทางและข้อเสนอการบริหารจดัการทรัพยากรธรณี

    3.1 ส ารวจศึกษาธรณีวิทยาส่ิงแวดล้อมเพือ่การวางแผนชมุชน (กธส.) 3.2 ส ารวจและประเมินรอยเล่ือนมีพลัง (กธส.)

    กิจกรรมหลกั 2 : จดัท านโยบาย แผน มาตรการ และแนวทางการ บริหารจดัการทรัพยากรธรณี

    1. การขับเคลื่อนการบริหารจดัการแร่ภายใตก้ลไกคณะกรรมการนโยบายบริหารจดัการแร่แห่งชาต ิ(สคร.)

    1.2 ศึกษาจดัท าแนวทางการบริหารจดัการกลุ่มแร่อตุสาหกรรมเซรามิก

    1.1 เงินเดือน 1.2 ค่าจา้งประจ า

    2. การส ารวจข้อมูลพ้ืนฐานดา้นธรณวีทิยาและทรัพยากรธรณี

    1 ส ารวจข้อมูลพ้ืนฐานดา้นทรัพยากรแร่ 1.1 ส ารวจจดัท าชดุขอ้มูลพืน้ฐานด้านทรัพยากรแร่ (กทร.) 2 ส ารวจข้อมูลพ้ืนฐานดา้นเทคโนโลยธีรณี 2.1 ส ารวจจดัท าขอ้มูลธรณีเคมีพืน้ฐาน (กทธ. + กวท)

    3. ส ารวจข้อมูลพ้ืนฐานดา้นธรณวีทิยาสิ่งแวดล้อมและธรณพิีบตัภิัย

    2. การอนุรักษ์และจดัการแหล่งทรัพยากรธรณเีพ่ือการพัฒนาอยา่งยั่งยนื

    [2] รวมยทุธศาสตร์ที่ 2 (ป ี2562 บรูณาการฯ ท่องเที่ยว + บรูณาการฯ ภาค)

    ผลผลิต / กิจกรรมหลัก / งาน/โครงการ ปงีบประมาณ พ.ศ. 2562 ผู้ก ากับโครงการ/หน่วยงานที่ก ากับดแูลกิจกรรมหลัก

    หน่วยงานที่ก ากับงาน/โครงการ

    งบประมาณรายจา่ยประจ าปงีบประมาณ พ .ศ. 2562 (หลังปรับลดอนุฯ)งบประมาณ ป ี2561

    โครงการก าหนดเขตแหล่งแร่เศรษฐกิจเพ่ือการบริหารจัดการแร่

    2. การก าหนดพ้ืนที่ที่มีศักยภาพในการท าเหมืองและจ าแนกเขตแหล่งแร่เพ่ือการท าเหมืองเชิงพ้ืนที่ หรือรายชนิดแร่ (กทร.) (ป ี2561 = จดัหาแหล่งแร่เศรษฐกิจเพ่ือการพัฒนาประเทศ)

    กิจกรรมหลัก : บรูณาการให้เกิดการท่องเที่ยวดา้นธรณวีทิยาในพ้ืนที่แหล่งอนุรักษ์ธรณวีทิยา (กธว.)

    1. พัฒนาให้เกิดการท่องเที่ยวเชิงวชิาการภายในพ้ืนที่ศักยภาพอุทยานธรณ ี(กธว.)2. จดัมหกรรมเปดิโลกธรณวีทิยาเพ่ือการท่องเที่ยว (สทข.2 - 3)

    1.1 ประชมุและการด าเนินการของคณะกรรมการนโยบายบริหารจดัการแร่แห่งชาติ และส านักงานเลขานุการคณะกรรมการนโยบายบริหารจดัการแร่แห่งชาติ

    โครงการจัดการธรณพิีบตัภิยัดนิถล่ม

    1. จดัท าระบบเครือข่ายศูนยป์ฏิบตักิารธรณพิีบตัภิัย (กธส.)

    2. การเฝ้าระวงัธรณพิีบตัภิัยรายภาค (กธส.)

    โครงการพัฒนาแหล่งทอ่งเทีย่วทางธรณวีิทยา

    3. จดัหาแหล่งทรัพยากรธรณเีพ่ือการพัฒนาพ้ืนที่โครงการขนาดใหญ่ภาครัฐ (กธว.)

  • 15/9/2018

    รวมทั้งสิ้น เปา้หมาย งบบคุลากร งบด าเนินงาน งบลงทุน งบเงินอุดหนุน รายจา่ยอ่ืน รวมทั้งสิ้น

    ผลผลิต / กิจกรรมหลัก / งาน/โครงการ ปงีบประมาณ พ.ศ. 2562 ผู้ก ากับโครงการ/หน่วยงานที่ก ากับดแูลกิจกรรมหลัก

    หน่วยงานที่ก ากับงาน/โครงการ

    งบประมาณรายจา่ยประจ าปงีบประมาณ พ .ศ. 2562 (หลังปรับลดอนุฯ)งบประมาณ ป ี2561

    กคบ.

    สทข.2 47,031,500 500,000 ราย / 1 แห่ง - 47,031,500 109,355,400 - - 156,386,900

    สทข.2 47,031,500 500,000 ราย - 47,031,500 - - - 47,031,500 สทข.4 81,810,500 1 แห่ง - - 109,355,400 - - 109,355,400

    35,450,000

    10,550,000

    1,637,000

    สทข.4 34,173,500 1 แห่ง - - 109,355,400 - - 109,355,400

    กคบ. 12,400,000 4 แห่ง / 4 แห่ง / 30 ตวัอยา่ง

    - - - - 14,800,000 14,800,000

    รวม 141,242,000 - 47,031,500 109,355,400 - 14,800,000 171,186,900

    สลก.

    กอท. 12,756,600 (13 เรื่อง) - 1,493,500 - 2,184,700 9,914,600 13,592,800

    สลก. 56,089,400 (25 ครั้ง / 40 ระวาง/1 ระบบงาน /11 หลักสูตร)

    - 47,911,400 4,558,000 - 4,946,300 57,415,700

    51,333,400 (25 คร้ัง) - 46,765,400 4,558,000 - 1,347,000 52,670,400 1,146,000 (40 ระวาง) - 1,146,000 - - - 1,146,000

    750,000 (1 ระบบงาน) - - - - 750,000 750,000 2,860,000 (11 หลักสูตร) - - - - 2,849,300 2,849,300

    กวท. 10,243,000 (70 ครั้ง / 41 เรื่อง32,000 รายการ /

    2 พ้ืนที่)

    - 10,243,000 599,200 - - 10,842,200

    2,123,000 (10 คร้ัง) - 2,123,000 - - - 2,123,000 4,428,000 (32,000 รายการ) - 4,428,000 599,200 - - 5,027,200

    300,000 (41 เร่ือง ) - 300,000 - - - 300,000 480,000 (10 คร้ัง) - 480,000 - - - 480,000

    2,912,000 (50 คร้ัง) / (2 พืน้ที่) - 2,912,000 - - - 2,912,000

    กธว. 6,588,600

    3,000,000

    2,400,000

    1,188,600

    รวม 85,677,600 - 59,647,900 5,157,200 2,184,700 14,860,900 81,850,700

    ศทส.ศทส. 11,788,800 (8 ระบบ) - 9,883,800 5,956,000 - - 15,839,800

    รวม 11,788,800 - 9,883,800 5,956,000 - - 15,839,800

    รวมผลผลิตที่ 1 (3) 273,349,800 - 124,049,200 121,196,500 2,184,700 59,816,300 307,246,700

    แผนงาน : 5.9 แผนงานพ้ืนฐานดา้นการจัดการน้ าและสร้างการเตบิโตบนคุณภาพชวีิตทีเ่ปน็มติรกับสิ่งแวดล้อมอยา่งยัง่ยนื

    ผลผลิต : ขอ้มลูธรณสีัณฐานชายฝ่ังทะเลกทธ.

    กทธ. 9,400,000 4 ต าบล / 2 ชุด / ( 1 ชุด / 1 จงัหวดั)

    - - 5,683,000 - 9,400,000 15,083,000

    5,400,000 4 ต าบล / 2 ชดุ - - 5,683,000 - 5,400,000 11,083,000

    3,400,000 4 ต าบล - - - - 3,400,000 3,400,000

    2,000,000 2 ชดุ - - 5,683,000 - 2,000,000 7,683,000

    4,000,000 (1 ชดุ / 1 จงัหวัด) - - - - 4,000,000 4,000,000

    2,500,000 (1 ชดุ) - - - - 2,500,000 2,500,000

    1,500,000 (1 จงัหวัด) - - - - 1,500,000 1,500,000

    รวมผลผลิตที่ 2 (4) 9,400,000 - - 5,683,000 - 9,400,000 15,083,000

    [3] รวมยทุธศาสตร์จดัสรรงบประมาณที่ 5 (1) + (2) + (3) +(4) 282,749,800 215,525,200 127,999,000 144,504,600 2,184,700 107,930,200 598,143,700

    217,198,400 215,525,200 3,949,800 - - - 219,475,000 282,749,800 - 124,049,200 126,879,500 2,184,700 69,216,300 322,329,700 135,271,100 - - 17,625,100 - 82,494,700 100,119,800 18,525,000 - - 35,930,600 - 17,590,000 53,520,600

    รวมทัง้สิ้น [1] + [2] + [3] 653,744,300 - 215,525,200 127,999,000 180,435,200 2,184,700 169,301,000 695,445,100

    1.กทร. = กองทรัพยากรแร่ 8.กคบ. = กองคุ้มครองซากดกึด าบรรพ์2.กธว. = กองธรณีวทิยา 9.ศทส. = ศูนยเ์ทคโนโลยสีารสนเทศและการสื่อสาร3.กทธ. = กองเทคโนโลยธีรณี 10.สคร. = ส านักงานเลขานุการคณะกรรมการนโยบายบริหารจดัการแร่แห่งชาติ4.กธส. = กองธรณีวทิยาสิ่งแวดล้อม 11.สทข.1 = ส านักงานทรัพยากรธรณี เขต 15.สลก. = ส านักงานเลขานุการกรม 12.สทข.2 = ส านักงานทรัพยากรธรณี เขต 26.กอท. = กองอนุรักษ์และจดัการทรัพยากรธรณี 13.สทข.3 = ส านักงานทรัพยากรธรณี เขต 37.กวท. = กองวเิคราะห์และตรวจสอบทรัพยากรธรณี 14.สทข.4 = ส านักงานทรัพยากรธรณี เขต 4

    ค่าเปา้หมาย อธิบายสัญลักษณ์ 4 แห่ง = ตวัหนาขีดเส้นใต ้: ตวัชีว้ดัระดบัผลลัพธ์ (Out Come) 4 แห่ง = ตวัหนาไม่ขีดเส้นใต ้: ตวัชีว้ดัระดบัผลผลิต (Out put) (2 แห่ง) = (ในวงเล็บ) : ตวัชีว้ดัระดบังาน ที่ไม่ขึน้ พ.ร.บ. งบประมาณ

    กิจกรรมหลกั 3 : จดัการซากดกึด าบรรพ์ ธรณีวทิยา และธรรมชาติ วทิยา

    กิจกรรมหลกั 4 : ศึกษา วจิยั พัฒนาองค์ความรู้ และบริการข้อมูล ความรู้ ดา้นทรัพยากรธรณี และธรณีวทิยา

    กิจกรรมหลกั 5 : บริหารระบบสารสนเทศธรณีวทิยาและทรัพยากรธรณี

    กิจกรรมหลกั 1 : ส ารวจและศึกษาธรณีสณัฐานชายฝ่ังทะเล

    แผนงานยทุธศาสตร์ (ยทุธศาสตร์แร่ + พิบตัภิยั)

    4.3 การประชมุทางวิชาการเพือ่เผยแพร่องค์ความรู้ Gondwana คร้ังที่ 16 (กคบ.)

    1. การบริหารและพัฒนาเทคโนโลยสีารสนเทศธรณวีทิยาและทรัพยากรธรณี

    4.2 ใหค้วามรู้เกีย่วกบัพระราชบญัญัติคุ้มครองซากดึกด าบรรพ ์พ.ศ. 2551 แกชุ่มชน (กคบ./สทข.1,2)

    3.1 ให้บริการและพฒันาด้านธรณีเทคนิค (กทธ.) 3.2 ให้บริการวิเคราะห์และตรวจสอบทรัพยากรธรณี (กวท.) 3.3 ให้บริการด้านตรวจสอบแหล่งแร่ (กทร.) 3.4 ให้บริการขอ้มูลด้านธรณีวิทยา (กธว.)

    หมายเหตุ : ตวัอักษรยอ่ของหน่วยงานภายใน ทธ . / สัญลักษณช์อ่งค่าเปา้หมาย

    1.1 การบริหารจดัการพพิธิภัณฑ์ซากดึกด าบรรพ ์ธรณีวิทยา และธรรมชาติวิทยา

    1.1 จดัท าชดุขอ้มูลธรณีวิทยาทางทะเลและชายฝ่ังเพือ่สนับสนุนการบริหารจดัการพืน้ที่ชายฝ่ังทะเล (กทธ.)

    1.1.1 ส ารวจติดตามการเปล่ียนแปลงแนวเส้นชายฝ่ังทะเล (กธส.)

    1.1.2 ส ารวจธรณีสัณฐานทางทะเล (กทธ.)

    1.2 ศึกษาการเปล่ียนแปลงของระดับน้ าทะเลที่มีความสัมพนัธ์กบัหลักฐานทางธรณีวิทยาและการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก (กทธ.)

    1.2.1 ศึกษาการเปล่ียนแปลงของระดับน้ าทะเลที่มีความสัมพนัธ์กบัหลักฐานทางธรณีวิทยาและการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก โดยใชเ้คร่ืองมือวัดระดับน้ าทะเลขึ้น-ลง แบบอตัโนมัติ ควบคุมต าแหน่งด้วยระบบดาวเทียม (กทธ.)

    1.2.2 ศึกษาการเปล่ียนแปลงของสภาพภูมิอากาศโบราณ จากสภาพธรณีวิทยาส่ิงแวดล้อมภายในถ้ าหินปูน (สทข.2)

    1. การส ารวจ ศึกษาธรณสีัณฐาน และการเปลี่ยนแปลงชายฝ่ังทะเล

    1. การประสานความร่วมมือระหวา่งประเทศ

    2. การบริหารทั่วไปดา้นธรณวีทิยาและทรัพยากรธรณี

    แผนงานบรูณาการ (บทูอ่งเทีย่ว + บภูาคฯ)

    แผนงานพ้ืนฐาน (ผลผลิต 1 + ผลผลิต 2)แผนงานบคุลากรภาครัฐ

    4.1 เผยแพร่องค์ความรู้ด้านธรณีวิทยา ทรัพยากรธรณีและธรณีพบิัติภัยเชงิปฎิบัติการ (กธว.)

    1.2.3 ค่าขยายเขตไฟฟา้ อาคารพพิธิภัณฑ์ซากดึกด าบรรพ ์ธรณีวิทยา และธรรมชาติวิทยา ต าบลท่าขา้ม อ าเภอพนุพนิ จงัหวัดสุราษฎร์ธานี 1 งาน

    2.1 บริหารทั่วไปด้านธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณี (สลก.) 2.2 ตรวจสอบและบริการขอ้มูลด้านสารสนเทศ (ศสท.)

    2.3 พฒันาคุณภาพการบริหารจดัการภาครัฐ กรมทรัพยากรธรณี (กพร.)

    1.2.4 ค่าจดัต้ังส่วนจดัแสดงนิทรรศการภายในอาคารและพฒันาพพิธิภัณฑ์ซากดึกด าบรรพ ์ธรณีวิทยา และธรรมชาติวิทยา ต าบลท่าขา้ม อ าเภอพนุพนิ จงัหวัดสุราษฎร์ธานี (ระยะที่ 2) 1 งาน

    3.5. ติดตามส ารวจตรวจสอบพืน้ที่และประสานความร่วมมือด้านธรณีวิทยาส่ิงแวดล้อม และธรณีพบิัติภัย (ยา้ยมาจาก ผ2ก2) (สทข.1-4)

    4. การพัฒนาองค์ความรู้ดา้นธรณวีทิยา ทรัพยากรธรณ ีและธรณพิีบตัภิัย

    2.4 สัมมนาและฝึกอบรม (สลก./ศสท.)3. การให้บริการดา้นธรณวีทิยาและทรัพยากรธรณี

    1.2 การจดัต้ัง และพฒันาแหล่งเรียนรู้ พพิธิภัณฑ์ซากดึกด าบรรพ ์ธรณีวิทยาและธรรมชาติ 1.2.1 ค่าจดัต้ังส่วนจดัแสดงนิทรรศการภายในอาคาร ชั้น 2 พพิธิภัณฑ์ซากดึกด าบรรพ ์ธรณีวิทยา และธรรมชาติวิทยา ต าบลศาลา อ าเภอเกาะคา จงัหวัดล าปาง 1 แห่ง

    1.2.2 ค่าซ่อมแซมอาคาร และรอยร่ัวอาคารพพิธิภัณฑ์สิรินธร ต าบลโนนบุรี อ าเภอสหัสขนัธ์ จงัหวัดกาฬสินธุ ์1 แห่ง

    1. การบริหารจดัการ จดัตั้งและพัฒนาพิพิธภัณฑ์ซากดกึด าบรรพ์ ธรณวีทิยา และธรรมชาตวิทิยา

    2. การคุ้มครองแหล่งและซากดกึด าบรรพ์

    งานบริหารทั่วไปฯ 58,000,500 บาท + ค่าใช้จ่ายในการการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐฯ 3,610,000 บาท (งบรายจ่ายอ่ืน)

    งบประมาณ 6.40 ลบ. (งบลงทุน 4.00 ลบ. +งบรายจ่ายอื่น 2.40 ลบ.)

    งบประมาณ 3.00 ลบ. (ทะเลสาบสงขลา)

  • 15/9/2561

    กรมทรพัยากรธรณ ีกระทรวงทรพัยากรธรรมชาตแิละสิ่งแวดล้อม

    เปา้หมาย พ้ืนที่ด าเนินการ

    ยทุธศาสตร์ที่ 5 : ดา้นการจัดการน้ าและสร้างการเตบิโตบนคุณภาพชวีิตที่เปน็มติรกับสิง่แวดล้อมอยา่งยัง่ยนื

    แผนงาน : 5.1 แผนงานยทุธศาสตร์จัดระบบอนุรักษ์ ฟ้ืนฟู และปอ้งกันการท าลายทรัพยากรธรรมชาติ

    รอง อทธ. (สมหมาย) กทร.

    กิจรรมหลัก : บริหารจัดการแร่ของประเทศ2 ชนิด กรมทรัพยากรธรณี และพืน้ที่ทั่วประเทศ (แร่เฟลด์สปาร์ และดินขาว)

    2 ชนดิ4 แหง่ / 4 แหง่ 1. แร่ควอตซ์ในพืน้ที่ศักยภาพสูง (จังหวดัประจวบคีรีขันธ์)

    2. แร่โพแทชในพืน้ที่แอ่งโคราชตอนกลาง (จังหวดัมหาสารคาม) 3. แร่ทองค าในพืน้ที่ศักยภาพสูง (จังหวดัประจวบคีรีขันธ์-ชุมพร)4. หนิอุตสาหกรรม (จังหวดัสระบรีุ)

    2 แหง่ 1. พืน้ที่การพฒันาระเบยีงเศรษฐกิจภาคตะวนัออก (EEC) (จังหวดัชลบรีุ-ระยอง)2. พืน้ที่ภายใต้แผนพฒันาโครงสร้างพืน้ฐานด้านคมนาคมขนส่งของไทย - รถไฟทางคู่ (สายชุมทางถนนจิระ-ขอนแก่น)

    ยทุธศาสตร์ที่ 1 : ดา้นความมัน่คง

    แผนงาน : 1.9 แผนงานยทุธศาสตร์พัฒนาระบบการเตรียมพร้อมแหง่ชาติและระบบบริหารจัดการภยัพิบตัิ

    รอง อทธ. (นิวัติ) กธส.

    กิจรรมหลัก : ลดผลกระทบดา้นธรณพิีบตัภิยัดนิถล่ม

    ไมน้่อยกว่า 2,400 คน / ไมน้่อยกว่า 90 ต าบล/

    11.9 ล้านไร/่1,000 หมูบ่า้น

    ในพืน้ที่ 4 ลุ่มน้ า คือ ลุ่มน้ าน่าน ลุ่มน้ ากก ลุ่มน้ าชายฝ่ังทะเลตะวนัออก และลุ่มน้ าชายฝ่ังทะเลภาคใต้ฝ่ังตะวนัออก ประกอบด้วย กิจกรรมย่อย - สร้างโครงข่ายชุมชนเข้มแข็ง (ในพืน้ที่จังหวดัเชียงราย เชียงใหม่ อุตรดิตถ์ น่าน จันทบรีุ ระยอง นครศรีธรรมราช และสุราษฎร์ธาน)ี

    - จัดท าแผนที่เส่ียงภยัดินถล่มระดับชุมชน (ในพืน้ที่จังหวดัตาก พะเยา พษิณุโลก เพชรบรูณ์ ล าปาง ล าพนู เลย สตูล และสงขลา)

    ยทุธศาสตร์ที่ 2 : ดา้นการสร้างความสามารถในการแขง่ขนัของประเทศ

    แผนงาน : 2.4 แผนงานบรูณาการสร้างรายไดจ้ากการทอ่งเที่ยว กีฬา และวัฒนธรรม

    รอง อทธ. (นิวัติ) /ผชช.นราเมศวร์

    กธว.

    2 แหง่ / 8 แหง่ พ้ืนที่/เปา้หมาย ส่งเสริมระดับนานาชาติ : นครราชสีมา ส่งเสริมระดับประเทศ : อุบลราชธานี / ขอนแก่น / ตาก ส่งเสริมระดับท้องถิ่น : เพชรบรูณ์ / นราธวิาส 1. แหล่งเรียนรู้ทางธรณีวทิยาและซากดึกด าบรรพ ์ที่อยู่ภายใต้การดูแลของหน่วยงานต่างๆ และศูนย์เรียนรู้แม่ข่ายกรมทรัพยากรธรณี จ านวน 7 จังหวดั ได้แก่ กรุงเทพมหานคร จังหวดัปทุมธานี กาฬสินธุ์ ขอนแก่น ระยอง ล าปาง และจังหวดัสุราษฎร์ธานี

    พืน้ที่แหล่งธรณีวทิยา 8 แหง่ ป ี2562 1.1 พืน้ที่ถ้ าอุไรทอง จังหวดัสตูล 1.2 พืน้ที่แหล่งไดโนเสาร์อุทยานแหง่ชาติภเูวยีง จังหวดัขอนแก่น 1.3 พืน้ที่แหล่งไดโนเสาร์โคกผาส้วม จังหวดัอุบลราชธานี 1.4 พืน้ที่แหล่งหอยหนิ จังหวดัหนองบวัล าภู 1.5 พืน้ที่แหล่งไดโนเสาร์พนังเส่ือ จังหวดัชัยภมูิ 1.6 พืน้ที่แหล่งนอติลอยด์ท่ากระดาน จังหวดักาญจนบรีุ 1.7 พืน้ที่แหล่งสุสานหอยแหลมโพธิ์ จังหวดักระบี่ 1.8 พืน้ที่แหล่งไดโนเสาร์เชียงม่วน จังหวดัพะเยา 2. จัดมหกรรมเปดิโลกธรณีวทิยาเพือ่การท่องเที่ยว ณ กรุงเทพฯ (ร่วมกับ ททท.) และจังหวดักาฬสินธุ์

    แผนงาน : 2.16 แผนงานบรูณาการพัฒนาพ้ืนที่ระดบัภาค

    20,000 ราย / 2 แหง่ 1. พพิธิภณัฑ์สิรินธร อ าเภอสหสัขันธ ์จังหวดักาฬสินธุ์ 2. ศูนย์ศึกษาวจิัยและพพิธิภณัฑ์ไดโนเสาร์ภเูวยีง อ าเภอเวยีงเก่า จังหวดัขอนแก่น

    แผนงาน : 5.9 แผนงานพ้ืนฐานดา้นการจัดการน้ าและสร้างการเตบิโตบนคุณภาพชวีิตที่เปน็มติรกับสิง่แวดล้อมอยา่งยัง่ยนื

    ผลผลิต : การบริหารจัดการทรัพยากรธรณี

    กิจกรรมหลัก 1 : ส ารวจและประเมนิสถานภาพทรัพยากรธรณี กธว.กธว. ( 3 เรือ่ง / 220 ชิน้ตวัอยา่ง) พืน้ที่ต่างๆ ในประเทศไทยกทธ. 3 จังหวัด / ( 1 เรือ่ง /

    3 แหง่ / 1 รอยเลือ่น)

    (1 เรือ่ง)(1 เร่ือง) พืน้ที่ทั่วประเทศไทย

    2 จังหวัด2 จังหวัด จังหวดัประจวบคีรีขันธ ์และจังหวดัชุมพร

    1 จังหวัด / ( 3 แหง่ / 1 รอยเลือ่น)

    1 จังหวัด จังหวดัระยอง( 3 แหง่ / 1 รอยเล่ือน) 1. พืน้ที่ที่ได้รับการติดต้ังเคร่ืองมือวดัคล่ืนส่ันสะเทือนพืน้ดินไวแ้ล้ว

    2. ประเมินภยัพบิติัแผ่นดินไหวในพืน้ที่ 3 จังหวดั ได้แก่ จังหวดัเชียงราย อุตรดิตถ์ และพะเยาและศึกษาพฤติกรรมการเล่ือนตัวของรอยเล่ือนที่คาดวา่จะมีพลัง รอยเล่ือนเมืองแหงครอบคลุมพืน้ที่ในจังหวดัเชียงใหม่ และเชียงราย

    โครงการก าหนดเขตแหล่งแร่เศรษฐกิจเพ่ือการบริหารจัดการแร่

    2. การก าหนดพ้ืนที่ที่มศัีกยภาพในการท าเหมอืงและจ าแนกเขตแหล่งแร่เพ่ือการท าเหมอืงเชงิพ้ืนที่ หรือรายชนิดแร่ (กทร.) (ป ี2561 = จัดหาแหล่งแร่เศรษฐกิจเพ่ือการพัฒนาประเทศ)

    กิจกรรมหลัก : บรูณาการใหเ้กิดการทอ่งเที่ยวดา้นธรณวีิทยาในพ้ืนที่แหล่งอนุรักษ์ธรณวีิทยา (กธว.)

    กิจกรรมหลัก : พัฒนาพิพิธภณัฑ์เพ่ือยกระดบัการทอ่งเที่ยวและใหบ้ริการพิพิธภณัฑ์ทางธรณวีิทยาและซากดกึด าบรรพ์ (สทข.2)

    โครงการจัดการธรณพิีบตัภิยัดนิถล่ม

    1. จัดท าระบบเครือขา่ยศูนยป์ฏบิตักิารธรณพิีบตัภิยั (กธส.)

    2. การเฝ้าระวังธรณพิีบตัภิยัรายภาค (กธส.)

    พ้ืนที่ด าเนินการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

    ผลผลิต / กิจกรรมหลัก / งาน/โครงการ ปงีบประมาณ พ.ศ. 2562 ผู้ก ากับโครงการ/หน่วยงานที่ก ากับดแูลกิจกรรมหลัก

    หน่วยงานที่ก ากับงาน/โครงการ

    งบประมาณ ป ี2562

    โครงการพัฒนาแหล่งทอ่งเที่ยวทางธรณวีิทยา

    1. การจัดท ามาตรฐาน และคลังขอ้มลูดา้นธรณวีิทยา และทรัพยากรธรณ ี2. การส ารวจขอ้มลูพ้ืนฐานดา้นธรณวีิทยาและทรัพยากรธรณี

    1 ส ารวจขอ้มลูพ้ืนฐานดา้นทรัพยากรแร่

    3. จัดหาแหล่งทรัพยากรธรณเีพ่ือการพัฒนาพ้ืนที่โครงการขนาดใหญภ่าครัฐ (กธว.)

    1. การขบัเคลือ่นการบริหารจัดการแร่ภายใตก้ลไกคณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแร่แหง่ชาต ิ(สคร.)

    3.2 ส ารวจและประเมินรอยเล่ือนมีพลัง (กธส.)

    1.1 ประชุมและการด าเนนิการของคณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแร่แหง่ชาติ และส านกังานเลขานกุารคณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแร่แหง่ชาติ

    1.2 ศึกษาจัดท าแนวทางการบริหารจัดการกลุ่มแร่อตุสาหกรรมเซรามิก

    โครงการยกระดบัการทอ่งเที่ยวยคุก่อนประวัตศิาสตร์

    1.1 ส ารวจจัดท าชุดข้อมูลพื้นฐานด้านทรัพยากรแร่ (กทร.) 2 ส ารวจขอ้มลูพ้ืนฐานดา้นเทคโนโลยธีรณี 2.1 ส ารวจจัดท าข้อมูลธรณีเคมีพื้นฐาน (กทธ. + กวท) 3. ส ารวจขอ้มลูพ้ืนฐานดา้นธรณวีิทยาสิง่แวดล้อมและธรณพิีบตัภิยั

    3.1 ส ารวจศึกษาธรณีวิทยาส่ิงแวดล้อมเพื่อการวางแผนชุมชน (กธส.)

  • 15/9/2561

    เปา้หมาย พ้ืนที่ด าเนินการ

    ผลผลิต / กิจกรรมหลัก / งาน/โครงการ ปงีบประมาณ พ.ศ. 2562 ผู้ก ากับโครงการ/หน่วยงานที่ก ากับดแูลกิจกรรมหลัก

    หน่วยงานที่ก ากับงาน/โครงการ

    งบประมาณ ป ี2562

    กิจกรรมหลัก 2 จัดท านโยบาย แผน มาตรการ และแนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรธรณี กอท.กอท. 2 เรือ่ง / 2 เรือ่ง พืน้ที่ต่างๆ ในประเทศไทย

    กธว. 2 แหง่ / (2 ครัง้) 1. การประมวลข้อมูลแหล่งธรณีวทิยาและประเมินคุณค่าแหล่งธรณีวทิยาหรือแหล่งอนุรักษ์ธรณีวทิยาเพือ่คัดเลือกและปรับปรุงบญัชีรายชื่อแหล่งธรณีวทิยาและ/หรือแหล่งอนุรักษ์ธรณีวทิยา ด าเนินการในพืน้ที่ทั่วประเทศ

    2. การอนุรักษแ์หล่งไม้กลายเปน็หนิ จังหวดัตาก ด าเนินการใน ณ วนอุทยานไม้กลายเปน็หนิ จังหวดัตาก เขตปา่สงวนแหง่ชาติ ปา่แม่สลิด - โปง่แดง ท้องที่หมู่ 7 ต าบลตากออก อ าเภอบา้นตาก จังหวดัตาก

    3. การจัดท าพืน้ที่อนุรักษแ์ละจัดการแหล่งทรัพยากรธรณีโดยการมีส่วนร่วม ด าเนินการในพืน้ที่ รวม 2 พืน้ที่ และการสร้างเครือข่ายอนุรักษธ์รณีวทิยาด้วยวธิหีรือกระบวนการต่างๆ ได้แก่ จังหวดันครราชสีมา และจังหวดัขอนแก่น

    กิจกรรมหลัก 3 จัดการซากดกึด าบรรพ์ ธรณวีิทยา และธรรมชาตวิิทยา กคบ.สทข.2 500,000 ราย / 1 แหง่ 1. พพิธิภณัฑ์สิรินธร อ าเภอสหสัขันธ ์จังหวดักาฬสินธุ์

    2. ศูนย์ศึกษาวจิัยและพพิธิภณัฑ์ไดโนเสาร์ อ าเภอภเูวยีง จังหวดัขอนแก่น3. พพิธิภณัฑสถานแหง่ชาติธรณีวทิยาเฉลิมพระเกียรติ อ าเภอคลองหลวง จังหวดัปทุมธานี4. พพิธิภณัฑ์แร่ - หนิ ถนนพระราม 6 กรุงเทพมหานคร5. ศูนย์ศึกษาวจิัยแร่และหนิ อ าเภอเมือง จังหวดัระยอง6. พพิธิภณัฑ์ซากดึกด าบรรพ ์ธรณีวทิยา และธรรมชาติวทิยา ต าบลศาลา อ าเภอเกาะคา จังหวดัล าปาง7. พพิธิภณัฑ์ซากดึกด าบรรพ ์ธรณีวทิยา และธรรมชาติวทิยา ต าบลท่าข้าม อ าเภอพนุพนิ จังหวดัสุราษฎร์ธานี8. ส านักงานทรัพยากรธรณีเขตในส่วนภมูิภาคทั่วประเทศไทย

    กคบ. 4 แหง่ / 4 แหง่ / 30 ตวัอยา่ง

    - พืน้ที่ต่างๆ ในประเทศไทย - พืน้ที่เปา้หมายที่ได้รับการบริหารจัดการด้านธรณีวทิยาตามกฎหมาย 1 แหง่ คือ อุทยานแหง่ชาติภเูวยีง จังหวดัขอนเเก่น - พืน้ที่ใหค้วามรู้เกี่ยวกับพระราชบญัญัติคุ้มครองซากดึกด าบรรพ ์พ.ศ.2551 แก่ชุมชน จ านวน 3 แหง่ ได้แก่ จังหวดัชุมพร พทัลุง และหลักสูตรพเิศษ จังหวดัสระแก้ว

    กิจกรรมหลัก 4 ศึกษา วิจัย พัฒนาองค์ความรู ้และบริการขอ้มลู ความรู ้ ดา้นทรัพยากรธรณ ีและธรณวีิทยา

    สลก.

    กอท. (13 เรือ่ง) ราชอาณาจักรกัมพชูา สปป.ลาว สหภาพพม่า สาธารณรัฐสังคมนิยมเวยีดนาม มาเลเซีย สาธารณรัฐสิงคโปร์ สาธารณรัฐฟลิิปปนิส์ ญี่ปุน่ สาธารณรัฐเกาหลี สาธารณรัฐประชาชนจีน สมาพนัธรัฐสวสิ สหรัฐอเมริกา อิตาลี จาเมกา แคนนาดา ประเทศในทวปียุโรป และประเทศไทย

    สลก. (25 ครัง้ / 40 ระวาง/1 ระบบงาน /11 หลักสูตร)

    (25 คร้ัง)(40 ระวาง) กรมทรัพยากรธรณี และพืน้ที่ต่างๆ ในประเทศไทย

    (1 ระบบงาน) กรมทรัพยากรธรณี สถานที่จัดการประชุมต่างๆ (สถานที่ราชการและเอกชน

    (11 หลักสูตร) พืน้ที่ทั้งในกรุงเทพฯ และต่างจังหวดั)

    กวท. (70 ครั้ง / 41 เรื่อง32,000 รายการ /

    2 พ้ืนที)่

    (10 คร้ัง) พืน้ที่ในจังหวดัที่มีปญัหาวกิฤตจากโครงสร้างทางธรณีวทิยาที่เกิดจากภยัธรรมชาติต่างๆ และ/หรือที่เกิดจากการใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรณีในจังหวดัของภมูิภาคต่างๆ

    (32,000 รายการ) กรมทรัพยากรธรณี (41 เร่ือง) พืน้ที่แหล่งแร่ในเขตพืน้ที่ปา่ไม้ที่มีการขออนุญาตเข้าท าประโยชน์เพือ่ท าเหมืองแร่ พืน้ที่ที่มี

    การลักลอบขุดแร่ พืน้ที่ปา่ไม้ พืน้ที่ที่ได้รับผลกระทบจากการท าเหมืองแร่ และพืน้ที่ที่หน่วยงานอื่นขอความร่วมมือ

    (10 คร้ัง) พืน้ที่ต่างๆ ของประเทศไทย(50 คร้ัง) / (2 พื้นที)่ 1. พืน้ที่ที่เกิดเหตุธรณีพบิติัภยัในภมูิภาคต่างๆ ของประเทศไทย

    2. ส ารวจตรวจสอบเชิงพืน้ที่เพือ่แก้ไขปญัหาธรณีพบิติัภยัอย่างยั่งยืน 2 พืน้ที่ ได้แก่ 1) พืน้ที่อ าเภอแม่แตง จังหวดัเชียงใหม่ ที่เกิดธรณีพบิติัภยัหลุมยุบ 2) พืน้ที่อ าเภอบอ่เกลือ จังหวดัน่าน ที่เกิดธรณีพบิติัภยัหลุมยุบ

    กธว.

    กิจกรรมหลัก 5 บริหารระบบสารสนเทศธรณวีิทยาและทรัพยากรธรณี ศทส.ศทส. (8 ระบบ) กรมทรัพยากรธรณี หน่วยงานในสังกัดของกรมทรัพยากรธรณี และพืน้ที่ต่างๆ ในประเทศไทย

    แผนงาน : 5.9 แผนงานพ้ืนฐานดา้นการจัดการน้ าและสร้างการเตบิโตบนคุณภาพชวีิตที่เปน็มติรกับสิง่แวดล้อมอยา่งยัง่ยนื

    ผลผลิต : ขอ้มลูธรณสีัณฐานชายฝ่ังทะเลกิจกรรมหลัก 1 ส ารวจและศึกษาธรณสีัณฐานชายฝ่ังทะเล กทธ.

    กทธ. 4 ต าบล / 2 ชดุ / ( 1 ชดุ / 1 จังหวัด)

    4 ต าบล / 2 ชุด

    4 ต าบล แนวชายฝ่ังทะเล บริเวณอ าเภอขนอมและอ าเภอสิชล จังหวดันครศรีธรรมราช

    2 ชุด พืน้ที่ในทะเล บริเวณอ าเภอขนอมและอ าเภอสิชล จังหวดันครศรีธรรมราช

    (1 ชุด / 1 จังหวัด)

    (1 ชุด) พืน้ที่ชายฝ่ังทะเลอ่าวไทยและทะเลอันดามัน 24 จังหวดั ได้แก่ ตราด จันทบรีุ ระยอง ชลบรีุ ฉะเชิงเทรา นครศรีธรรมราช สมุทรปราการ กรุงเทพฯ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบรีุ ประจวบคีรีขันธ ์ชุมพร สุราษฎร์ธานี สงขลา พทัลุง ปตัตานี ระนอง พงังา ภเูก็ต กระบี ่ตรัง สตูล นราธวิาส

    (1 จังหวัด) จังหวดัสตูล นครศรีธรรมราช กระบี ่ตรัง

    2. การคุ้มครองแหล่งและซากดกึด าบรรพ์

    1. การจัดท านโยบาย แผน มาตรการ แนวทางและขอ้เสนอการบริหารจัดการทรัพยากรธรณี

    2. การอนุรักษ์และจัดการแหล่งทรัพยากรธรณเีพ่ือการพัฒนาอยา่งยัง่ยนื

    1. การบริหารจัดการ จัดตัง้และพัฒนาพิพิธภณัฑ์ซากดกึด าบรรพ์ ธรณวีิทยา และธรรมชาตวิิทยา

    1. การประสานความร่วมมอืระหว่างประเทศ

    2. การบริหารทั่วไปดา้นธรณวีิทยาและทรัพยากรธรณี

    2.1 บริหารทั่วไปด้านธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณี (สลก.) 2.2 ตรวจสอบและบริการข้อมูลด้านสารสนเทศ (ศสท.)

    3.3 ใหบ้ริการด้านตรวจสอบแหล่งแร่ (กทร.)

    3.4 ใหบ้ริการข้อมูลด้านธรณีวิทยา (กธว.) 3.5. ติดตามส ารวจตรวจสอบพื้นที่และประสานความร่วมมือด้านธรณีวิทยาส่ิงแวดล้อม และธรณีพบิติัภยั (ยา้ยมาจาก ผ2ก2) (สทข.1-4)

    4. การพัฒนาองค์ความรูด้า้นธรณวีิทยา ทรัพยากรธรณ ีและธรณพิีบตัภิยั

    2.3 พฒันาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กรมทรัพยากรธรณี (กพร.) 2.4 สัมมนาและฝึกอบรม (สลก./ศสท.)3. การใหบ้ริการดา้นธรณวีิทยาและทรัพยากรธรณี

    3.1 ใหบ้ริการและพฒันาด้านธรณีเทคนคิ (กทธ.)

    3.2 ใหบ้ริการวิเคราะหแ์ละตรวจสอบทรัพยากรธรณี (กวท.)

    1. การบริหารและพัฒนาเทคโนโลยสีารสนเทศธรณวีิทยาและทรัพยากรธรณี

    1.1.2 ส ารวจธรณีสัณฐานทางทะเล (กทธ.)

    1.2 ศึกษาการเปล่ียนแปลงของระดับน้ าทะเลที่มีความสัมพนัธ์กบัหลักฐานทางธรณีวิทยาและการเปล่ียนแปลงสภาพภมูิอากาศโลก (กทธ.)

    1.2.1 ศึกษาการเปล่ียนแปลงของระดับน้ าทะเลที่มีความสัมพนัธ์กบัหลักฐานทางธรณีวิทยาและการเปล่ียนแปลงสภาพภมูิอากาศโลก โดยใช้เคร่ืองมือวัดระดับน้ าทะเลขึน้ -ลง แบบอตัโนมัติ ควบคุมต าแหนง่ด้วยระบบดาวเทยีม (กทธ.)

    1.2.2 ศึกษาการเปล่ียนแปลงของสภาพภมูิอากาศโบราณ จากสภาพธรณีวิทยาส่ิงแวดล้อมภายในถ้ าหนิปนู (สทข.2)

    1. การส ารวจ ศึกษาธรณสีัณฐาน และการเปลีย่นแปลงชายฝ่ังทะเล

    1.1 จัดท าชุดข้อมูลธรณีวิทยาทางทะเลและชายฝ่ังเพื่อสนบัสนนุการบริหารจัดการพื้นที่ชายฝ่ังทะเล (กทธ.)

    1.1.1 ส ารวจติดตามการเปล่ียนแปลงแนวเส้นชายฝ่ังทะเล (กธส.)

  • โครงการกําหนดเขตแหลงแรเศรษฐกิจ

    เพื่อการบริหารจัดการแร

  • แผนงานยุทธศาสตร์จัดระบบอนุรักษ์ ฟื้นฟู และป้องกันการท าลายทรัพยากรธรรมชาติ

    โครงการ : ก าหนดเขตแหล่งแร่เศรษฐกิจเพื่อการบริหารจัดการแร่

    กิจกรรมหลกั : บริหารจัดการแร่ของประเทศ

    ประเภทงาน/โครงการ :

    โครงการตามแผนงานบูรณาการ โครงการตามแผนงานยุทธศาสตร์

    งาน/โครงการตามแผนงานพ้ืนฐาน โครงการตามข้อสั่งการ รมว. ทส./ปกท. ทส.

    ผู้รับผิดชอบ : กองทรัพยากรแร่ : กองธรณีวิทยา : กองเทคโนโลยีธรณี : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร : ส านักงานเลขานุการคณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแร่แห่งชาติ ผู้ประสานงาน : ผู้อ านวยการส่วนวิชาการทรัพยากรแร่ กองทรัพยากรแร่ : ผู้อ านวยการส่วนบริหารจัดการทรัพยากรแร่ กองทรัพยากรแร่ : ผู้อ านวยการส่วนมาตรฐานและข้อมูลธรณีวิทยา กองธรณีวิทยา : ผู้อ านวยการส่วนบริหารจัดการธรณีวิทยา กองธรณีวิทยา : ผู้อ านวยการส่วนธรณีเทคนิค กองเทคโนโลยีธรณี : ผู้อ านวยการส่วนสารสนเทศ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร : ผู้อ านวยการกลุ่มงานเลขานุการ ส านักงานเลขานุการ คณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแร่แห่งชาติ : ผู้อ านวยการกลุ่มงานประสานจัดการ ส านักงานเลขานุการ

    คณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแร่แห่งชาติ

    หลักการและเหตุผล พระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2560 ก าหนดให้มีคณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแร่แห่งชาติ (คนร.)

    ก าหนดยุทธศาสตร์ นโยบายการบริหารจัดการทรัพยากรแร่ของประเทศ และจัดท าแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่เพ่ือให้มีนโยบายหรือแนวทางการบริหารที่ชัดเจน เกิดประโยชน์สูงสุดภายใต้ดุลยภาพด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ ยังก าหนดให้กรมทรัพยากรธรณีเป็นส านักงานเลขานุการคณะกรรมการ นโยบายบริหารจัดการแร่แห่งชาติเพ่ือรับผิดชอบงานธุรการของคณะกรรมการและอนุกรรมการ รวมถึงการประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพ่ือให้มีการด าเนินการที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ นโยบาย และแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่

    ตามมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2560 ก าหนดให้กรมทรัพยากรธรณี และกรมอุตสาหกรรม พ้ืนฐานและการเหมืองแร่ร่วมกันจัดท าฐานข้อมูลพื้นที่ท่ีมีศักยภาพในการท าเหมืองแร่ของประเทศ การประเมินคุณค่าทางเศรษฐกิจและสังคมของแต่ละพ้ืนที่ การประเมินสถานการณ์และพิจารณาขีดจ ากัด รวมทั้งความเป็นไปได้ในการใช้ประโยชน์พ้ืนที่ดังกล่าวเพ่ือการท าเหมืองแร่ในภาพรวมให้สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริง ผลกระทบด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อมเพ่ือใช้เป็นข้อมูลในการจัดท ายุทธศาสตร์ นโยบาย และแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ ซึ่งภายใต้แผนแม่บทบริหารจัดการแร่ ก าหนดให้ต้องด าเนินการส ารวจทรัพยากรแร่ แหล่งแร่ส ารอง การจ าแนกเขตพ้ืนที่ศักยภาพแร่ พ้ืนที่หรือชนิดแร่ที่สมควรสงวนหวงห้ามหรืออนุรักษ์ไว้ และพ้ืนที่ที่มีแหล่งแร่อุดมสมบูรณ์และมูลค่าทางเศรษฐกิจสูงที่จะก าหนดให้เป็นเขตแหล่งแร่เพื่อการท าเหมือง เพื่อเป็นแนวทางในการบริหารจัดการแร่ให้เหมาะสมและ

    1

  • เกิดประโยชน์สูงสุดภายใต้ดุลยภาพด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และสุขภาพของประชาชน รวมทั้งยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) จะต้องมีการวางแผนบริหารจัดการทรัพยากรแร่เพ่ือให้เกิดการใช้ประโยชน์สูงสุดและลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและประชาชน

    การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศและโครงสร้างขนาดใหญ่ของรัฐ ไม่ว่าจะเป็นแผนพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานด้านการคมนาคม การก่อสร้างรถไฟทางคู่เพ่ือพัฒนาโครงข่ายระหว่างเมืองและประเทศเพ่ือนบ้านการที่ประเทศไทยเข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ซึ่งมีการก าหนดพ้ืนที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพ่ือรองรับอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม หรือกิจกรรมอ่ืนที่เป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจของประเทศ ท าให้มีความต้องการใช้วัตถุดิบในปริมาณที่สูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้ปริมาณส ารองของแหล่งแร่ลดลง และบางชนิดเริ่มขาดแคลนจนต้องน าเข้าแร่หลายชนิดจากต่างประเทศเพ่ือรองรับอุตสาหกรรมที่เกิดขึ้น ส่งผลให้มูลค่าการน าเข้าแร่สูงกว่าการส่งออก ดังนั้น กรอบแนวทางการปฏิรูปประเทศด้านการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คือ การกระตุ้นให้มีการแสวงหาทรัพยากรธรณีเพ่ือพัฒนาเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมส าคัญอย่างเร่งด่วนและเป็นรูปธรรมโดยการเร่งส ารวจจัดหาแหล่งแร่เศรษฐกิจ อาทิ แร่ควอตซ์ แร่โพแทช แร่ทองค า พร้อมทั้งประเมินศักยภาพทรัพยากรธรณีให้ครอบคลุมทั่วประเทศ หรือมีรายละเอียดเพียงพอส าหรับน าไปใช้ประโยชน์ในการร่วมบูรณาการกับข้อมูลทรัพยากรธรรมชาติชนิดอ่ืน รวมทั้งมีข้อสั่งการของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (พลเอกสุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) ที่ให้กรมทรัพยากรธรณีจัดท าข้อเสนอแนะในการน าแร่มีค่าไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศ เพ่ือน าเรียนนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีต่อไปซึ่งแร่มีค่าทางเศรษฐกิจที่ส าคัญ 5 ชนิด ได้แก่ ควอตซ์ โพแทช ทองค า เหล็ก และถ่านหิน เป็นผลจากมติการประชุมของคณะกรรมการพัฒนาอุตสาหกรรมแห่งชาติ (กอช.) ที่มี ม.ร.ว.ปรีดิยาธร เทวกุล รองนายกรัฐมนตรี (ในขณะนั้น) เป็นประธานเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2558 โดยที่ประชุมคราวดังกล่าวมีมติเห็นชอบให้มีการจัดท าแผนพัฒนาแร่แต่ละชนิดอย่างละเอียด พร้อมศึกษาผลประโยชน์และผลกร�