33
ประกันภัยพืชผลชวยยกระดับคุณภาพชีวิตเกษตรกร 23/09/52 1

ประกันภัยพืชผลช วยยกระด ับคุณภาพช ีวิตเกษตรกรsiteresources.worldbank.org/INTTHAILANDINTHAI/Resources/BAAC... ·

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

ประกันภยัพืชผลชวยยกระดบัคณุภาพชีวิตเกษตรกร

23/09/52 1

ปญหาเรงดวนของชาติ

รัฐบาลไดกําหนดใหการแกไขปญหาความยากจนเพื่อ

ยกระดับคุณภาพชีวิต เปนปญหาเรงดวนที่ทุกหนวยงานทั้ง

ภาครัฐและภาคเอกชนตองรวมพลังบูรณาการในการแกไขปญหา

รวมกัน โดยนําปรัชญาพระราชทาน “เศรษฐกิจพอเพียง” เปน

แนวทางหลักในการดําเนนิงานใหแกประชาชนบนพื้นฐานความ

สมดุลทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม

23/09/52 2

แนวทางการยกระดับคุณภาพชีวิตเกษตรกรอบการดําเนินงานในการยกระดับคุณภาพชีวิตเกษตร

IIncome

OOpportunity

CCost

สงเสริมใหมีรายไดเพิ่มขึ้น

จากการประกอบอาชีพอยางยั่งยืน

ลดรายจายในการดํารงชีวิตและการลงทุน

โดยใชหลักเศรษฐกิจพอเพียง

เขาถึงแหลงความรู

เขาถึงแหลงทุน

23/09/52 3

แนวความคิดในเรื่องรายไดที่เหมาะสมและยั่งยืน (Income)

Price- ตองสงู

- ตองมีเสถียรภาพ

Incomeเหมาะสมและ

ยั่งยืน

Quantity- ตองมาก- ตองมีเสถียรภาพ

I P Q= X

23/09/52 4

I P Q= X

ประกันรายได

เกษตรกร

จํานํา

ผลิตผล

มาตราการสนบัสนุน

แทรกแซง

โซนนิ่ง

ประกัน

ผลผลิต

เทคโนฯ

การผลิตประกัน

ภัยธรรมชาติ

ประกันคา

แรงงานขัน้ต่าํ

ประกัน

สังคม

โครงสราง ดี.เอ็น.เอ เกษตรกรที่สามารถยกระดับคุณภาพชีวิต.

23/09/52 6

5.ใฝรู

4. อดทน 3. ซื่อสัตย

2.ประหยดั

1. ขยนั

โครงการนํารองการประกันภัยพืชผล

โดยใชดัชนีภูมิอากาศ (The weather index insurance)

ในการผลติขาวโพดเลี้ยงสตัว

ความเปนมา

ปการผลิต 2548 ธนาคารโลกประสานงานกับ ธ.ก.ส. มีการแตงตั้งคณะทํางาน 2 คณะ เพื่อขับเคลื่อนโครงการ

ปการผลิต 2549 ดําเนนิงานโครงการนาํรองที่สาขาปากชอง

สนจ.นครราชสีมา ใชสถานีตรวจวัดอากาศ “ไรสุวรรณ” เปนดชันี

ชี้วัด (ทดลองดําเนินงานโดยไมมีการจายเงินคาเบี้ยประกันและ

คาชดเชยจริง)

ตั้งแตปการผลิต 2550 เริ่มดําเนินงานจริงจนถึงปจจุบัน

วัตถุประสงค

1. เพื่อลดความเสี่ยงในการผลิตของเกษตรกรจากภัยธรรมชาติ

2. เพื่อพัฒนารูปแบบการใหความชวยเหลือแกเกษตรกรที่

ประสบภัยธรรมชาติอยางเปนระบบและยั่งยืน

3. เพื่อเปนทางเลือกในการบริหารจัดการความเสี่ยงจากการผลิตของเกษตรกร

รูปแบบการดําเนินงาน

คูสัญญาตามกรมธรรม

ประสานงาน ประสานงาน

ป ร ะ ส า น ง า น วิ ช า ก า ร

บทบาทหนาที่

1. บริษัทประกันวนิาศภัย มีการรวมตัวของบริษัทประกันภัยชั้นนําเพื่อทําหนาที่รบัประกันภัยตามโครงการ

2. ธ.ก.ส. ทําหนาที่เปนผูประสานงานระหวางเกษตรกรผูเอาประกันและบริษัทรับประกันภัย ตลอดจนการดําเนินธุรกรรมทางการเงิน

3. ธนาคารโลก ทาํหนาที่ใหความรูดานวิชาการสวนงานอืน่ๆ ประกอบดวย กรมอุตุนิยมวิทยา คปภ.

คุณสมบัติของผูเอาประกัน

1. เปนลูกคาผูกูและผูฝากเงิน2. ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวภายในรัศมี 25 ก.ม. ของจุดวัด

น้ําฝนตามกรมธรรม

การแบงชวงระยะเวลาเพาะปลูก 4 ชวง

ประกันคุมครอง 3 ชวงแรก

1.ชวงหยอดเมล็ด

(Sowing Stage)

30 วัน

2.ชวงเจรญิเตบิโต

(Growth Stage)

20 วัน

3.ชวงออกดอกออกหัว

(Flowering Stage)

30 วัน

4.ชวงเก็บเกี่ยว

(Harvest Stage)

30 วัน

คาสินไหมทดแทนระยะเพาะปลูกที่ 1 (30 วนันับจากวนัเริ่มคุมครอง)

เปนชวงหยอดเมล็ด เพาะปลูก ใชวธิวีัดภาวะความแหงแลงสะสม (Moving dry spell)

ขั้นต่ํา

ขั้นสูง

นอยกวาขั้นต่ําถือวาไมแลง

เทากับหรือมากกวาขั้นต่ําและ เทากับหรือนอยกวาขั้นสูง ถอืวาแลง

สูงกวาขั้นสูงถือวาแลงหนัก

ตัวอยาง Moving Dry Spell Index27 28 29 30 31 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 รวม Threshold Dry Spell

0.6 0 7.6 0.6 11.8 0.4 0 0 0 0.2 21.2 10 0

0 7.6 0.6 11.8 0.4 0 0 0 0.2 0 20.6 10 0

7.6 0.6 11.8 0.4 0 0 0 0.2 0 0 20.6 10 0

0.6 11.8 0.4 0 0 0 0.2 0 0 0 13.0 10 0

11.8 0.4 0 0 0 0.2 0 0 0 0 12.4 10 0

0.4 0 0 0 0.2 0 0 0 0 0 0.6 10 9.4

0 0 0 0.2 0 0 0 0 0 0 0.2 10 9.8

0 0 0.2 0 0 0 0 0 0 0.3 0.5 10 9.5

0 0.2 0 0 0 0 0 0 0.3 10.0 10.5 10 0

0.2 0 0 0 0 0 0 0.3 10.0 3.9 14.4 10 0

คาสินไหมทดแทนระยะเพาะปลูกที่ 2 (20 วนันับถัดจากวนัสิ้นสุดการ

คุมครองระยะเวลาเพาะปลูกที่ 1) ชวงเจริญเติบโต ใชวธิวีัดปริมาณน้ําฝนสะสม

ขั้นต่ํา

ขั้นสูง

นอยกวาขั้นต่ําแลงหนัก

สูงกวาขั้นสูงถือวาไมแลง

เทากับหรือมากกวาขั้นต่ําและ เทากับหรือนอยกวาขั้นสูง ถอืวาแลง

คาสินไหมทดแทนระยะเพาะปลูกที่ 3 (30 วนันับถัดจากวนัสิ้นสุดการ

คุมครองระยะเวลาเพาะปลูกที่ 2) ชวงออกดอกออกหัว ใชวธิวีดัปริมาณน้ําฝนสะสม

ขั้นต่ํา

ขั้นสูง

นอยกวาขั้นต่ําแลงหนัก

สูงกวาขั้นสูงถือวาไมแลง

เทากับหรือมากกวาขั้นต่ําและ เทากับหรือนอยกวาขั้นสูง ถอืวาแลง

สถานีวัดปริมาณน้ําฝน "บัวชุม" จังหวัดลพบุรี

ระยะเพาะปลูกที่ 1 เริ่ม 17 พ.ค. 52 เริ่ม 24 พ.ค. 52

ระยะเวลาคุมครอง 30 วัน สิ้นสุด 15 มิ.ย. 52 สิ้นสุด22 มิ.ย. 52

ก. ดัชนีความแหงแลงสะสม ขั้นต่ํา 50 ม.ม. 50 ม.ม.

ข. ดัชนีความแหงแลงสะสม ขั้นสูง 150 ม.ม. 150 ม.ม.

ค. เกณฑมาตรฐานปริมาณน้ําฝนสะสม 10 ม.ม. 10 ม.ม.

ขั้นต่ําแตละวันที่กาํหนด

ง. อัตราคาชดเชยตอ 1 ม.ม. ของ 7.11 บาท 5.86 บาท

ภาวะแหงแลงตอไร

จ. จํานวนเงนิคาชดเชยสูงสุดตอไร 377 บาท 310 บาท

สําหรับระยะเวลาเพาะปลูกถัดไป

ระยะเวลาคุมครอง

เริ่ม 16 มิ.ย. 52 เริ่ม 6 ก.ค. 52 เริ่ม 23 มิ.ย. 52 เริ่ม 13 ก.ค. 52

สิ้นสุด 5 ก.ค. 52 (20 วัน) สิ้นสุด 4 ส.ค. 52 (30 วัน) สิ้นสุด 12 ก.ค. 52 (20 วัน) สิ้นสุด 11 ส.ค. 52 (30 วัน)

ก. ดัชนีน้าํฝนสะสม ขั้นสูง 30 ม.ม. 35 ม.ม. 30 ม.ม. 35 ม.ม.

ข. ดัชนีน้าํฝนสะสม ขั้นต่ํา 5 ม.ม. 10 ม.ม. 5 ม.ม. 10 ม.ม.

ค. อัตราคาชดเชยตอ 1 ม.ม. ของ

ปริมาณน้ําฝนที่ต่าํกวาคาดัชนีน้าํฝน 9.14 บาท 12.90 บาท 7.49 บาท 10.64 บาท

สะสมขั้นสูงตอไร

ง. จํานวนเงนิคาชดเชยสูงสุดตอไร 455 บาท 643 บาท 374 บาท 529 บาท

เบี้ยประกัยตอไร

ผลการดําเนินงานป 2552 และเปาหมายป 2553

ดําเนนิงานในพื้นที ่5 จังหวัด(ลพบุรี สระบุรี นครสวรรค เพชรบูรณ และนครราชสีมา) 16 สาขา ภายหลังสิ้นสุดการขายประกันภัยมีเกษตรกรผูเอาประกัน 817 ราย พื้นที่เอาประกัน 13,454 ไร เบี้ยประกันภัย 1,345,400 บาท

ภายหลังสิ้นสุดการคุมครองมีการชดเชยคาสินไหมทดแทน จํานวน 629 ราย ใน 4 จังหวัด ยกเวน นครสวรรค พื้นที่เพาะปลูก

10,320 ไร คาสินไหมทดแทนที่จาย 817,102 บาท

สําหรับเปาหมายป 2553 จะเพิ่มพื้นที่ดําเนินงานจากเดิมอีก 1 จังหวัด คอื จังหวัดพิษณุโลก ที่สาขานครไทย (อ.นครไทย)

สรุปปญหาอุปสรรคจากการดําเนินงาน

1. การประกันภัยโดยใชดัชนีภูมิอากาศเปนเรื่องซับซอน ยากแก

การเขาใจของเกษตรกร

2. พื้นที่รับประกันภัยรัศมี 25 ก.ม. จากสถานีวัดปริมาณน้ําฝน

หางไกลเกินไป ไมสะทอนภัยที่เกิดขึ้นจริง

3. คาเบี้ยประกันภัยสูง และคาสินไหมทดแทนไมคุมตนทนุการผลิต

กรณีเกิดภัย

4. ผลกระทบจากการจายเงินชดเชยความเสียหายอันเกดิจากภัย

ธรรมชาติของรัฐบาล

โครงการทดลองระบบการประกันภัยพืชผล

ประเภทภัยแลงรวมกบั JBIC

สําหรับเกษตรกรที่ปลูกขาวนาปในพื้นที่

จังหวัดขอนแกน

ความเปนมา

ดําเนินการตามบันทึกขอตกลงความรวมมือ (MOU)

ระหวาง ธนาคารและ JBIC เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2551 เพื่อ

เปนการบริหารจัดการความเสี่ยงดานสินเชื่อดวยการใชระบบ

ประกันวนิาศภัยโดยมีบริษัท สมโพธิ์ เจแปน ประกันภัย

(ประเทศไทย) จํากัด เปนบริษัทรับประกันภัยตามโครงการ

วัตถุประสงค

1. เพื่อใหความรูดานการประกันภัยแกพนักงานและลูกคา

2. เพื่อใหทราบจุดแข็ง จุดออน ของโครงการ

3. เพื่อนําผลการทดลองมาปรับใชในการปฏิบัติจริง

รูปแบบการดําเนินงาน

JBICJBIC

สถาบัน

วิชาการ

เกษตร

แหงชาติ

สถาบัน

วิชาการ

เกษตร

แหงชาติBAACBAAC Sompo japan

insurance

Sompo japan

insurance

ผลติภัณฑสินเชื่อใหม

สําหรับเกษตรกร

คูสัญญาตาม

กรมธรรมประกันภัย

รวมมือพัฒนา

ผลติภัณฑ

ประสานความรวมมือ

บทบาทหนาที่

1. บริษัท สมโพธิ์ เจแปน ประกันภัย (ประเทศไทย) จํากัด เปนเปน

บริษัทรับประกันภัยตามโครงการบริษัทรับประกันภัยตามโครงการ

2.2. ธธ..กก..สส.. เปนผูเอาประกันภัยเปนผูเอาประกันภัย และจดัทําผลิตภัณฑสินเชื่อใหมและจดัทําผลิตภัณฑสินเชื่อใหมสําหรับเกษตรกรตามโครงการสําหรับเกษตรกรตามโครงการ

3.3. JBIC JBIC ใหความชวยเหลือดานวิชาการใหความชวยเหลือดานวิชาการ

สวนงานอื่นๆที่เกี่ยวของสวนงานอื่นๆที่เกี่ยวของ ไดแกไดแก กรมอุตุนิยมวิทยากรมอุตุนิยมวิทยา สํานักงานคณะกรรมการกํากับและสงเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยสํานักงานคณะกรรมการกํากับและสงเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย ((คปภคปภ.).)

พื้นที่เปาหมาย

1. อําเภอเมืองขอนแกน

2. อําเภอพล

3. อําเภอบานไผ

4. อําเภอชุมแพ

5. อําเภอหนองสองหอง

ระยะเวลาดําเนินงานตั้งแตวันที่ 1 มิถุนายน 2552 ถึงวันที ่ 31 มีนาคม 2553

จังหวัดชัยภูมิ

จังหวัดนครราชสีมา

จังหวัดเลย

จังหวัดหนองบัวลําภูจังหวัดอุดรธานี

จังหวัดกาฬสินธุ

จังหวัดมหาสารคาม

จังหวัดบุรีรัมย

คุณสมบัติของผูรับการคุมครอง

1. เปนลูกคาประจําสาขาในเขตพื้นที่ตามโครงการ และปลูกขาวนาป โดยพื้นที่ปลูกขาวสวนใหญ (ไมนอยกวา 80%)อยูในเขตพื้นที่ดาํเนินงานของสาขาทีต่นเองสังกัด

2. พื้นที่ปลูกขาวนาปอยูในเขตอําเภอใดจะใชดัชนีชี้วดัปริมาณน้ําฝนของสถานี / เครื่องตรวจวัดปรมิาณน้ําฝนที่ตัง้อยูในเขตอําเภอนั้นๆ ซึ่งระบุไวในกรมธรรมเปนเกณฑวัดปริมาณน้ําฝน

ไมแลงไมแลง

แลงรุนแรง จาย 40%แลงรุนแรง จาย 40%

แลง จาย 15 %แลง จาย 15 %

ปริมาณน้ําฝนขั้นสูง

ปริมาณน้ําฝนขั้นต่ํา

เกณฑใชเงินกูกําหนดคาเบี้ยและจายสินไหมทดแทนและจะมีการกําหนดวงเงินจาย

สูงสุดแตละสถานีซึ่งจะกําหนดจากบริษัท

เกณฑใชเงินกูกําหนดคาเบี้ยและจายสินไหมทดแทนและจะมีการกําหนดวงเงินจาย

สูงสุดแตละสถานีซึ่งจะกําหนดจากบริษัท

การคํานวณคาสินไหมทดแทน

จากการวัดปริมาณน้ําฝนตั้งแต 1ก.ค.-30ก.ย.(92 วัน)

อาํเภอคา

เกณฑดัชนีน้ําฝน(ม.ม.)

กรณีเกิดภัยแลงรุนแรง

จาย 40 %

กรณีเกิดภัยแลง

จาย 15 %

ธรรมเนียม ขั้นต่ํา ขั้นสูง น้ําฝนสะสม เงินชดเชย น้ําฝนสะสม เงินชดเชย

พล 464 350 610

เทากับหรือ

นอยกวา 350 4,000

มากกวา

350 ไมถึง 610 1,500

ชุมแพ 464 360 640

เทากับหรือ

นอยกวา 360 4,000

มากกวา

360 ไมถึง 640 1,500

บานไผ 464 380 520

เทากับหรือ

นอยกวา 380 4,000

มากกวา

380 ไมถึง 520 1,500

หนองสองหอง 464 260 400

เทากับหรือ

นอยกวา 260 4,000

มากกวา

260 ไมถึง 400 1,500

เมืองขอนแกน 464 400 510

เทากับหรือ

นอยกวา 400 4,000

มากกวา

400 ไมถึง 510 1,500

หมายเหตุ 1. วงเงินกู 10,000 บาท

2. คาธรรมเนียมเทากบัรอยละ 4.64 ของวงเงินกู

ผลการดําเนินงานทดลองระบบการประกันภัยพืชผลโดยใชดัชนีภูมิอากาศ

ประเภทภัยแลง รวมกับ JBIC

สําหรับเกษตรกรที่ปลูกขาวนาปในจังหวัดขอนแกน

สาขา เกษตรกรรวมโครงการ (ราย) วงเงินกูที่ตองการประกันภัย (บาท)

1. สาขาขอนแกน 50 6,430,000

2. สาขาชมุแพ 26 380,000

3. สาขาบานไผ 37 640,000

4. สาขาหนองสองหอง 73 1,115,000

5. สาขาเมืองพล 90 1,259,000

รวม 276 9,824,000