23
ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 1. ทบทวนความร้เบื้องต้น ถ้าให้ ABC เป็นสามเหลี่ยมที่มีมุม C เป็นมุมฉาก และมี a, b และ c เป็นความยาว ของด้านตรงข้ามมุม A, B และ C ตามลาดับ B c a A b C อัตราส่วนตรีโกณมิติ sin = cos = tan = cosec = sec = cot =

ฟังก์ชันตรีโกณมิติ · ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 1. ทบทวนความรู้เบื้องต้น

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

ฟงักช์นัตรโีกณมติิ 1. ทบทวนความรูเ้บือ้งตน้

ถ้าให้ ABC เป็นสามเหลีย่มท่ีมีมุม C เป็นมุมฉาก และมี a, b และ c เป็นความยาวของด้านตรงข้ามมุม A, B และ C ตามล าดับ

B

c a

A b C

อตัราสว่นตรโีกณมติ ิsin = cos = tan = cosec = sec = cot =

2. การวดัมมุ 2.1 การวัดมุมในทิศทวนเข็มนาฬิกา

2.2 การวัดมุมในทิศตามเข็มนาฬิกา

3. หนว่ยของมมุ 3.1 องศา

1 องศา = 60 ลิบดา เขียนด้วย 1o=60’

1 ลิบดา = 60 ฟลิิปดา เขียนแทนด้วย 1’=60”

3.2 เรเดียน

ก าหนดวงกลมมีจดุศูนย์กลางท่ี O มีรัศมี r หน่วย และ เป็นมุมท่ีจุดศนูย์กลางรองรับด้วยสว่นโค้งท่ียาว a

= ความยาวของส่วนโค้งที่รองรับมุม

รัศมีของวงกลม [เรเดียน]

=

[เรเดยีน]

โดยทั่วๆ ไป การเขียนขนาดมุมเป็นเรเดียนมักจะไม่เขียนหน่วยก ากับ

การแปลงเรเดยีนใหเ้ปน็องศา

= 1 0

1 = 1 0

= 1 =

4. วงกลมหนึง่หนว่ย

มุม 0o 30o 45o 60o 90o sin

cos

tan

cosec

sec

cot

แบบฝกึหดัที1่ 1. จงหาพิกดั (Coordinate) ของจดุตอ่ไปนี ้

1.1 (-

)

1.2 ( 1 )

1.3 (-1

)

2. จงหา ซึ่ง - เมื่อ มี โคออร์ดิเนท ดังนี ้

2.1 (√

- √

)

2.2 (-1 0)

2.3 (√

1

)

มมุ

ทวนเข็มเป็น +

ตามเข็มเป็น -

เอกลกัษณต์รโีกณ

=1 =1 =1

=1 =1 =1

ฟงัก์ชนัตรโีกณมติขิองมมุของรูปสามเหลีย่มมมุฉาก

Ex. ABC มีด้าน b ยาว 0√ มุม A กาง 30 และมุม B กาง 60 จงหาด้าน a และด้าน c

B

a c

C b A

Ex สามเหลี่ยมดา้นเทา่รปูหนึ่งแนบในวงกลม ซึ่งมสีี่เหลี่ยมจัตุรัสลอ้มรอบ ถ้าด้านของสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวดา้นละ 10 นิ้ว จงหาพื้นที่ของสามเหลี่ยมนี ้

D P C

A B

Q R

แบบฝกึหดัที2่

1. สามเหลีย่ม ABC รปูหนึ่ง ก าหนดให้ A=30 , C=90 และดา้น a = √ จงหามุม B และด้านของสามเหลี่ยมอีกสองดา้น

2. ชายคนหนึ่งยืนอยูบ่นหนา้ผาสูง 100 ฟุต เห็นกองหินสองกองบนพื้นดินเบื้องล่างในแนวเดียวกัน ถ้ามุมกดลงของกองหินท้ังสองเป็น 60 และ 45 ตามล าดบั อยากทราบว่าหินสองกองนั้นอยู่ห่างกันเท่าไร

ตรโีกณมติแิละการประยกุต ์ฟงักช์ันตรโีกณมติิของผลบวกและผลตา่งของจ านวนจรงิหรอืมมุ

ให้ เป็นจ านวนจริงสองจ านวนหรือมุมสองมุม จะได้ความสัมพันธ์ ต่อไปนี้

( )=

( )=

( )=

( )=

Ex 1 จงหาค่าของ , 10

=

10 =

( )= 1

( )=

1

( )= 1

( )= 1

Ex 3 จงหาค่าของ (-1 )

Ex 4 ก าหนด =

และ =

1

1

จงหาค่าของ ( - )

การเปลีย่นฟังกช์ันผลบวกหรอืผลตา่งใหเ้ป็นผลคณู

= (

) (

)

= (

) (

)

= (

) (

)

= (

) (

)

= ( ) ( )

= ( ) ( )

= ( ) ( )

= ( ) ( )

Ex 1 จงหาค่าของ 0 - 0 -√ 10

ฟงักช์ันตรโีกณมติิของจ านวนจรงิหรอืมมุ 2A

=

= {

11

=

1

= 1

Ex 1 ก าหนด =

จงหา

Ex 2 ก าหนด =

จงหาค่าของ (

) เมื่อ เป็นมุมแหลม

สตูรเกีย่วกับฟงักช์ันตรโีกณมติมิมุ 3A ,

=

=

=

1

=

1

= √1

= √1

= √1 1

=

1 =

1

ฟงัก์ชนัอนิเวอรส์ของฟงักช์นัตรโีกณมติิ เราสามารถจ ากัดโดเมนของฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่นๆ เพือ่ให้เป็นฟังก์ชัน 1-1 และสามารถหาอินเวอร์สฟังก์ชันได้ จึงมีการจ ากัดโดเมนและเรนจ์ ดังตารางต่อไปนี้

ฟังก์ชัน โดเมน เรนจ์

sin [

] [ 1 1]

cos

[0 ] [ 1 1]

tan (

) R

cot

(0 ) R

sec [0

) (

] ( 1] [1 )

cosec [

0) (0

] ( 1] [1 )

ถ้าให้ = {( ) = [-

]} อินเวอร์สของฟังก์ชนั f คือ

-1= {( ) = [-

]} และเขียน x=siny ในเทอมของ y เป็น y=arcsinx

หรือ y=sin-1x (อ่านว่า อาร์คไซน์เอ็กซ์) ในท านองเดียวกัน arccos แทนอินเวอร์สของ cos arctan แทนอินเวอร์สของ tan arccot แทนอินเวอร์สของ cot arcsec แทนอินเวอร์สของ sec arccosec แทนอินเวอร์สของ cosec

ตารางแสดงอนิเวอรส์ของฟงักช์นัตรโีกณมติ ิพรอ้มโดเมนและเรนจ์

ฟังก์ชัน โดเมน เรนจ์ sin

[ 1 1]

[

]

cos

[ 1 1] [0 ]

tan

R (

)

cot R (0 ) sec ( 1] [1 ) [0

) (

]

cosec ( 1] [1 ) [

0) (0

]

หมายเหต ุ

1. arcsinx อาจเขียนแทนดว้ย sin-1=x

arccosx อาจเขียนแทนดว้ย ..............

arctanx อาจเขียนแทนดว้ย ..............

arccotx อาจเขียนแทนดว้ย ..............

arcsecx อาจเขียนแทนดว้ย ..............

arccosec อาจเขียนแทนดว้ย ..............

แบบฝึกหัดที3่ จงหาค่าของ

1. (1

)

2. (√

)

3. ( (

))

สมการตรโีกณมติ ิ

Ex - - =0

กฎของโคไซนแ์ละไซน ์กฎของโคไซน ์ ในรูปสามเหลี่ยม ABC ใดๆ ถ้า a,b,c เป็นความยาวของดา้นตรงข้ามมุม A,B,C ตามล าดบั จะไดว้่า

C

b a

A B

c

= -

= -

= -

กฎของไซน ์

ในรูปสามเหลี่ยม ABC ใดๆ ถ้า a,b,c เป็นความยาวของด้านตรงข้ามมุม A,B,C ตามล าดับ

จะได้

=

=

หรือ อาจเขียนเป็น

=

=

เราสามารถหาพื้นที่ของรูปสามเหลีย่มใดๆ ไดด้ังนี ้

ถ้า ABC เป็นรปูสามเหลีย่มใดๆ ที่ a,b และ c เป็นความยาวของด้านตรงขา้มมุม A,B และ C ตามล าดบั

พื้นที่ =1

ตารางหน่วย

พื้นที่ =1

ตารางหน่วย

พื้นที่ =1

ตารางหน่วย

Ex ก าหนด a=3 , c=5 และ B=120 จงหา b

= -

แบบฝกึหดัที4่

1. ก าหนด a=15, b=7, c=13 จงหามุม C

2. ในสามเหลี่ยม ABC ซึ่งมีมุม A และ B เป็นมุมแหลม ถ้า

=

=

1 และถ้า ยาว 1 นิ้ว จงหาความยาวดา้น

แบบฝกึหดัที5่

1. ณ จุดโคนเสาต้นหนึ่ง จะมองเห็นมุมยกขึ้นของยอดหอคอยเท่ากบั 45 และจากยอดของเสานั้น ซึ่งสูง 10 เมตร มุมยกขึ้นของยอดหอคอยเท่ากับ 30 ดังนั้นหอคอยสูงเท่าไร