17
การใช้วัตถุเจือปนในยาแผนโบราณ และ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร

การใช้วัตถุเจือปนในยาแผน ...food.fda.moph.go.th/data/news/2555/september/doc1859/D...ยาแผนโบราณอน ญาตให

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • การใช้วัตถุเจือปนในยาแผนโบราณ และ

    ผลิตภณัฑ์เสริมอาหาร

  • วัตถุประสงค์

    เพื่อเป็นแนวทางในการพจิารณาจ ากัด หรือห้ามการใช้

    วัตถุเจือปนในยาแผนโบราณ และผลิตภณัฑ์เสริมอาหาร เพื่อ

    คุ้มครองความปลอดภยัของผู้บริโภค และเอือ้ประโยชน์ในทาง

    การค้าระหว่างประเทศ

  • สาระส าคัญ

    ประกอบด้วย

    นิยามศัพท์ต่างๆที่เกี่ยวข้อง

    ลักษณะและวัตถุประสงค์การใช้วัตถุเจือปน

    รายชื่อของแหล่งอ้างอิงคุณภาพหรือมาตรฐานและเงื่อนไขการใช้วัตถุเจือปน

    ขัน้ตอนการพจิารณาการใช้วัตถุเจือปนในยาแผนโบราณและผลิตภณัฑ์เสริมอาหาร

    รายชื่อวัตถุเจือปนที่ห้ามใช้ และที่จ ากัดการใช้

    หลักเกณฑ์การประเมินความปลอดภัยของวัตถุเจือปน

  • วัตถุเจือปน หมายถึง สารใดๆ ซึ่งไม่ได้บริโภคโดยตรง หรือไม่ใช่

    ส่วนประกอบหรือสารส าคัญที่ใช้เจือปนเพื่อให้ผลทัง้ในทางตรงและ

    ทางอ้อมในการผลิต การเตรียม การปรับปรุงคุณภาพ การบรรจุ

    การขนส่ง และการเก็บรักษา ซึ่งมีผลต่อคุณภาพหรือมาตรฐานหรือ

    ลักษณะของผลิตภัณฑ์ยาแผนโบราณ และผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร

    เช่น สี วัตถุกันเสีย สารที่ช่วยในการยึดเกาะ เป็นต้น ทัง้นีไ้ม่รวมถึง

    สารแต่งกลิ่นรส

  • วัตถุเจือปนตามแนวทางของอาเซียน

    แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่

    1. วัตถุเจือปนที่ห้ามใช้

    2. วัตถุเจือปนที่จ ากัดการใช้ (ยังอยู่ระหว่างการ

    พจิารณา)

  • หลักการในการพจิารณาใช้วัตถุเจือปน

    การพจิารณาใช้วัตถุเจือปน ต้องค านึงถงึ

    1. ความจ าเป็นในการใช้

    2. ความปลอดภยัของวัตถุเจือปน

    3. คุณภาพหรือมาตรฐานของวัตถุเจอืปน

  • การใช้วัตถุเจือปน

    วัตถุเจือปนที่น ามาใช้ต้องไม่ก่อความเส่ียงแก่ผู้บริโภค ปริมาณที่ใช้ต้อง

    ไม่เกินปริมาณสูงสุดที่ ก าหนดให้ใช้ได้ และใช้ในปริมาณเท่าที่ จ าเป็นเพ่ือ

    บรรลุผลทางเทคโนโลยีในการผลิต เช่น การคงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ เพิ่ม

    ความสามารถในการเก็บรักษาหรือคงสภาพผลิตภัณฑ์ หรือชะลอการเน่าเสีย

    ช่วยในการผลิต เตรียม บรรจุ ขนส่ง หรือเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ โดยต้องไม่ส่งผล

    ต่อธรรมชาติ ส่วนประกอบอ่ืน และคุณภาพของผลิตภัณฑ์ และต้องไม่ใช้วัตถุ

    เจือปนเพื่อปรับปรุงคุณภาพวัตถุดบิที่ไม่ได้มาตรฐาน หรือกรรมวิธีการผลิตที่ไม่

    ถูกสุขลักษณะ

  • การใช้วัตถุเจือปนตามกรรมวธีิที่ดีในการผลิต (GMP) หมายถงึ

    1. ปริมาณที่ใช้ ต้องใช้เท่าที่จ าเป็นเพื่อให้เกดิผลในการผลิตตามที่ต้องการ

    2. ปริมาณวัตถุเจือปนที่ใช้ต้องคงเหลืออยู่ในผลิตภณัฑ์น้อยที่สุดเท่าที่

    เป็นไปได้

    3. วัตถุเจือปนต้องมีคุณภาพในระดับที่ใช้เป็นอาหารหรือเภสัชภณัฑ์

    เตรียมและเกบ็รักษาเช่นเดยีวกับส่วนประกอบที่เป็นอาหารหรือเภสัช

    ภณัฑ์

  • วัตถุเจือปนชนิดใหม่

    วัตถุเจือปนชนิดใหม่ต้องผ่านการประเมินความปลอดภัยตาม

    หลักเกณฑ์ที่ก าหนดไว้ในหนังสือสารปรุงแต่งที่ ใช้ในผลิตภัณฑ์ยา

    (Handbook of Pharmaceutical and Excipients) หรือหลักเกณฑ์การ

    ประเมินความปลอดภัยวัตถุเจือปนอาหารและสารปนเป้ือนในอาหาร

    ของ คณะกรรมการผู้เช่ียวชาญว่าด้วยวัตถุเจือปนอาหารขององค์การ

    อาหารและเกษตร และองค์การอนามัยโลก แห่งสหประชาชาติ (EHC

    70) และได้รับอนุญาตจากหน่วยงานระดับประเทศที่ รับผิดชอบก่อน

    น ามาใช้

  • วัตถุเจือปนที่จ ากัดการใช้

    ที่ ประ ชุมเห็นชอบราย ช่ือวัต ถุ เจือปนที่ จ า กัดการใ ช้ (Restricted Additives and Excipients) รวม 49 ชนิด แบ่งเป็น

    สี 15 ชนิด

    วัตถุให้ความหวานแทนน า้ตาล 6 ชนิด

    วัตถุกันเสีย 7ชนิด

    สารต้านอนุมูลอสิระ 9 ชนิด

    วัตถุเจือปนอ่ืน 9 ชนิด

  • โพรพลิพาราเบน

    โพรพลิพาราเบนเป็นวัตถุเจอืปนอาหารที่ยงัค้างพจิารณา ว่าจะห้ามใช้หรือไม่

    พ.ศ. 2551 Codex ได้ห้ามใช้ โพรพลิพาราเบน ในอาหาร รวมถงึผลิตภณัฑ์

    เสริมอาหารเพราะมีรายงานความไม่ปลอดภัยในสัตว์ทดลอง การบริโภคที่ต่อเน่ือง

    เป็นระยะเวลานานอาจเป็นอนัตรายต่อผู้บริโภคได้

    ยาแผนโบราณอนุญาตให้ใช้โพรพลิพาราเบนตามปริมาณที่ก าหนดไว้ใน

    Handbook of Pharmaceutical Excipients คือ 0.01-0.02%

    ส าหรับยาน า้และยาน า้แขวนตะกอน และ 0.01-0.6% ส าหรับยาทาภายนอก

  • โพรพลิพาราเบน

    ที่ประชุม ATSC ครัง้ที่ 15 เหน็ชอบให้ขอข้อคดิเหน็

    เพิ่มเตมิจากคณะกรรมการจดัท า Handbook of

    Pharmaceutical Excipient ซึ่งยังไม่ได้ระงบัการใช้โพรพลิ

    พาราเบนในยาแผนปัจจุบัน ก่อนพิจารณาจัดเป็นวัตถุเจือ

    ปนที่ห้ามใช้ หรือจ ากัดการใช้

  • สตีวิออลไกลโคไซด์

    ที่ประชุมอาเซียนครัง้ล่าสุด เหน็ชอบค่าปริมาณสูงสุดของ

    สตวีิออลไกลโคไซด์ ที่ 2500 mg/kg เฉพาะผลิตภณัฑ์เสริม

    อาหารที่ใช้เคีย้ว ตามข้อมูลจาก Codex ส่วนในรูปแบบอ่ืนๆ

    นัน้ให้ขึน้อยู่ กับแต่ละประเทศก่อน จนกว่าจะมีข้อมูลการใช้

    ในรูปแบบอ่ืนจาก Codex

  • รายช่ือวัตถุเจือปนที่ห้ามการใช้

    วัตถุเจือปนที่ห้ามการใช้ในยาแผนโบราณและผลิตภณัฑ์เสริมอาหารมี

    อยู่ 13 ชนิด ได้แก่ Malachite Green and its salts, Red 2 G, Borax,

    Boric acid and derivates, Cobaltous salts, Diethylene Glycol,

    Diethylpyrocarbonate, Dulcin, Formaldehyde, Formaldehyde Solution,

    para-phenetolcarbamide, Potassium chlorate และ Salicylic acid and

    derivates

  • รายช่ือวัตถุเจือปนที่ห้ามการใช้

    Item Common name INS No./

    CAS No. Synonym(s)

    Reference

    (Scientific rational and/or

    technical reference)

    1 Malachite Green and its salts WHO Food Additive Series 61, 2009 2 Red 128 WHO Food Additive Series 16 ,1980

    3 Borax 1330-43-4 - Sodium biborate - Sodium tetraborate - Sodium pyroborate

    No ADI Allocated (JECFA Evaluation, 1961)

    IPCS INCHEM (UNEP/ILO/WHO),

    Boron (EHC204,1998)

    4 Boric acid and derivates No ADI Allocated (JECFA Evaluation, 1961) 5 Cobaltous salts Carcinogen Gr. 2B (IARC, 1997)

    6 Diethylene Glycol - Ethyl ether of Diethylene

    glycol; Eheyldiglol; Ethylene diglycol

    No ADI Allocate (JECFA Evaluation, 1995)

    (WHO Food Additives Series 30, 1995)

    7 Diethylpyrocarbonate - Diethyl dicarbonate No Treatment Level Allocated

    (WHO Food Additives Series 5, 1974)

    8 Dulcin - SUCROL; VALTZIN Not to be Used

    (IARC Summary & Evaluation, Volume 12, 1976)

    9 Formaldehyde (WHO FOOD ADDITIVES SERIES NO. 5, 1974) 10 Formaldehyde Solution (WHO FOOD ADDITIVES SERIES 5, 1974) 11 para-phenetolcarbamide Not to be used (JECFA Evaluation, 1967) 12 Potassium chlorate Not to be Used (JECFA Evaluation, 1969) 13 Salicylic acid and derivates No ADI Allocate (JECFA Evaluation, 1961)

  • แหล่งอ้างอิง

    มาตรฐานทั่วไปส าหรับการใช้วัตถุเจือปนอาหารของโคเดก็ซ์ (Codex

    General Standard for Food Additives) ฉบับล่าสุด ส าหรับผลิตภณัฑ์

    เสริมอาหาร หรือ

    • หนังสือสารปรุงแต่งที่ใช้ในผลิตภณัฑ์ยา (Handbook of Pharmaceutical

    and Excipients) หรือต ารายาที่ใช้กันทั่วไป (Official Pharmacopoeias)

    เช่น ต ารายาของแต่ละประเทศ, British Pharmacopoeia, United States

    Pharmacopoeia และ The Pharmacopoeia of China เป็นต้น

  • ขอบคุณค่ะ