100
แผนอัตรากาลัง ๓ ปี ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561-๒๕63 ขององค์การบริหารส่วนตาบลสุขไพบูลย์ อาเภอเสิงสาง จังหวัดนครราชสีมา (Sukpaiboon Subdistrict Administrative Organization) www.sukpaiboon.go.th/ E-mail : [email protected]

แผนอัตราก าลัง ๓ ปี...แผนอ ตราก าล ง ๓ ป ประจ าป งบประมาณ พ.ศ. 2561-๒๕63 ขององค

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • แผนอัตราก าลัง ๓ ปี ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561-๒๕63

    ขององค์การบริหารส่วนต าบลสุขไพบูลย์ อ าเภอเสิงสาง จังหวัดนครราชสีมา

    (Sukpaiboon Subdistrict Administrative Organization) www.sukpaiboon.go.th/ E-mail : [email protected]

    http://www.sukpaiboon.go.th/mailto:[email protected]

  • สารบัญ

    เรื่อง หน้า

    ๑. หลักการและเหตุผล ๑ ๒. วัตถุประสงค์ 3 ๓. กรอบแนวคิดในการจัดท าแผนอัตราก าลัง 3 ปี 4 ๔. สภาพปัญหาของพ้ืนที่และความต้องการของประชาชน 7 ๕. ภารกิจ อ านาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 12 - การวิเคราะห์ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต าบลสุขไพบูลย์ 15 ๖. ภารกิจหลัก และภารกิจรองที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะด าเนินการ 17 ๗. สรุปปัญหาและแนวทางในการก าหนดโครงสร้างส่วนราชการ และกรอบอัตราก าลัง 18 - สถิติปริมาณงานที่เกิดขึ้นของแต่ละส่วนราชการ ขององค์การบริหารส่วนต าบลสุขไพบูลย์ 19 - ปริมาณงานส านักงานปลัด 19 - ปริมาณงานกองคลัง 21 - ปริมาณงานกองช่าง 22 - ปริมาณงานกองการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 23 - ข้อมูลอัตราก าลังปัจจุบันขององค์การบริหารส่วนต าบลสุขไพบูลย์ 25 - การวิเคราะห์ส่วนราชการและการแบ่งงานภายในองค์การบริหารส่วนต าบลสุขไพบูลย์ 25 - ก าหนดต าแหน่งเพ่ิมใหม่ - ยุบเลิกต าแหน่ง - ยุบเมื่อต าแหน่งว่าง - การแสดงปริมาณงานเปรียบเทียบเพื่อประกอบการพิจารณาก าหนดต าแหน่งเพ่ิม ต าแหน่ง นักป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย สังกัด ส านักงานปลัด 28

    - บัญชีแสดงการค านวณจ านวนอัตราก าลังในการขออนุมัติ ก าหนต าแหน่งเพ่ิม เอกสารหมายเลข 5 ต าแหน่ง นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สังกัด ส านักงานปลัด 29

    - บัญชีแสดงปริมาณงานย้อนหลัง 3 ปี เพ่ือขออนุมัติก าหนดต าแหน่งเพิ่ม เอกสารหมายเลข 6 ต าแหน่ง นักป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย สังกัด ส านักงานปลัด 30

    - การแสดงปริมาณงานเปรียบเทียบเพื่อประกอบการพิจารณาก าหนดต าแหน่งเพ่ิม ต าแหน่ง พนักงานขับรถยนต์ (พนักงานจ้างตามภารกิจ ประเภทผู้มีทักษะ

    สังกัด ส านักงานปลัด 31

    - บัญชีแสดงการค านวณจ านวนอัตราก าลังในการขออนุมัติ ก าหนต าแหน่งเพ่ิม เอกสารหมายเลข 5 ต าแหน่ง พนักงานขับรถยนต์ (พนักงานจ้างตามภารกิจ

    ประเภทผู้มีทักษะ สังกัดส านักงานปลัด 32

  • สารบัญ (ต่อ)

    เรื่อง หน้า

    - บัญชีแสดงปริมาณงานย้อนหลัง 3 ปี เพ่ือขออนุมัติก าหนดต าแหน่งเพิ่ม เอกสารหมายเลข 6 ต าแหน่ง พนักงานขับรถยนต์ (พนักงานจ้างตามภารกิจ

    ประเภทผู้มีทักษะ สังกัดส านักงานปลัด 33

    - การแสดงปริมาณงานเปรียบเทียบเพื่อประกอบการพิจารณาก าหนดต าแหน่งเพ่ิม

    ต าแหน่ง คนงานทั่วไป (พนักงานจ้างทั่วไป สังกัด กองช่าง 34

    - บัญชีแสดงการค านวณจ านวนอัตราก าลังในการขออนุมัติ ก าหนต าแหน่งเพ่ิม เอกสารหมายเลข 5 ต าแหน่ง คนงานทั่วไป (พนักงานจ้างทั่วไป สังกัด กองช่าง 36

    - บัญชีแสดงปริมาณงานย้อนหลัง 3 ปี เพ่ือขออนุมัติก าหนดต าแหน่งเพิ่ม เอกสารหมายเลข 6 ต าแหน่ง คนงานทั่วไป (พนักงานจ้างทั่วไป สังกัด กองช่าง 37

    - การแสดงปริมาณงานเปรียบเทียบเพื่อประกอบการพิจารณาก าหนดต าแหน่งเพ่ิม ต าแหน่ง ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก (พนักงานจ้างตามภารกิจประเภทผู้มีคุณวุฒิ สังกัดกองการศึกษาฯ 38

    - บัญชีแสดงการค านวณจ านวนอัตราก าลังในการขออนุมัติ ก าหนต าแหน่งเพ่ิม เอกสารหมายเลข 5 ต าแหน่ง ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก (พนักงานจ้างตามภารกิจ

    ประเภทผู้มีคุณวุฒิ สังกัด กองการศึกษาฯ 39

    - บัญชีแสดงปริมาณงานย้อนหลัง 3 ปี เพ่ือขออนุมัติก าหนดต าแหน่งเพิ่ม เอกสารหมายเลข 6 ต าแหน่ง ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก (พนักงานจ้างตามภารกิจ ประเภทผู้มีคุณวุฒิ สังกัด กองการศึกษาฯ 40

    ๘. โครงสร้างการก าหนดส่วนราชการและก าหนดต าแหน่ง 41 8.1 โครงสร้างการก าหนดส่วนราชการขององค์การบริหารส่วนต าบลสุขไพบูลย์ 41 8.2 การวิเคราะห์การก าหนดต าแหน่ง 45 - แบบวิเคราะห์การก าหนดต าแหน่ง 48 - ปลัดองค์การบริหารส่วนต าบล 48 - ส านักงานปลัด 49 - กองคลัง 61 - กองช่าง 67 - กองการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 72 - หน่วยตรวจสอบภายใน 81 ๙. ภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือน ประโยชน์ตอบแทนอ่ืนเป็นกรณีพิเศษ 82 - ตารางเปรียบเทียบอัตราก าลังกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในกลุ่ม/ขนาดเดียวกัน 86

  • สารบัญ (ต่อ)

    เรื่อง หน้า ๑๐.แผนภูมิโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการตามแผนอัตราก าลัง ๓ ปี 87 - โครงสร้างส านักปลัด 88 - โครงสร้างกองคลัง 89 - โครงสร้างกองช่าง 90 - โครงสร้างกองการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 91 ๑๑. บัญชีแสดงจัดคนลงสู่ต าแหน่งและการก าหนดเลขที่ต าแหน่งในส่วนราชการ 92 ๑๒. แนวทางการพัฒนาข้าราชการ หรือพนักงานส่วนท้องถิ่น 97 ๑๓. ประกาศคุณธรรม จริยธรรมของข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น และลูกจ้าง 99

  • ตามประกาศคณะกรรมการกลางพนักงานส่วนต าบล (ก.อบต. เรื่อง มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับอัตราต าแหน่ง ลงวันที่ 22 พฤศจิกายน 2544 ข้อ 5 ก าหนดให้คณะกรรมการพนักงานส่วนต าบล (ก.อบต.จังหวัด ก าหนดต าแหน่งพนักงานส่วนต าบล ว่าจะมีต าแหน่งใด ระดับใด อยู่ในส่วนราชการใดจ านวนเท่าใด ให้ค านึงถึงภารกิจหน้าที่ความรับผิดชอบ ลักษณะงานที่ต้องปฏิบัติ ความยาก และคุณภาพของงาน ปริมาณ ตลอดจนทั้งภาระค่าใช้จ่ายขององค์การบริหารส่วนต าบลที่ต้องจ่ายในด้านบุคคล โดยให้องค์การบริหารส่วนต าบลจัดท าแผนอัตราก าลังของพนักงานส่วนต าบล เพ่ือใช้ในการก าหนดต าแหน่งโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการพนักงานส่วนต าบล (ก.อบต.จังหวัด ทั้งนี้ให้เป็นไปหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนต าบล (กอบต. ก าหนด

    คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนต าบล (ก.อบต. ได้มีมติเห็นชอบประกาศก าหนดการก าหนดต าแหน่งพนักงานส่วนต าบล โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยได้ลงนามประกาศ ณ. วันที่ 21 สิงหาคม 2545 ก าหนดแนวทางให้องค์การบริหารส่วนต าบล จัดท าแผนอัตราก าลังขององค์การบริหารส่วนต าบล เพื่อเป็นกรอบในการก าหนดต าแหน่งและการใช้ต าแหน่งพนักงานส่วนต าบล โดยให้เสนอ ก.อบต. จังหวัด พิจารณาให้ความเห็นชอบ โดยก าหนดให้องค์การบริหารส่วนต าบลแต่งตั้งคณะกรรมการจัดท าแผน อัตราก าลัง วิเคราะห์อ านาจหน้าที่และภารกิจองค์การบริหารส่วนต าบล วิเคราะห์ความต้องการก าลังคน วิเคราะห์การวางแผนการใช้ก าลังคน จัดท ากรอบอัตราก าลัง และก าหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการก าหนดต าแหน่งพนักงานส่วนต าบลตามแผนอัตราก าลังที่จัดท าขึ้นดังนั้นเพ่ือเป็นการปฏิบัติตามแนวทางดังกล่าว

    ประกอบกับประกาศคณะกรรมการพนักงานส่วนต าบลจังหวัดนครราชสีมา เรื่อง มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับอัตราต าแหน่ง ก าหนดให้คณะกรรมการข้าราชการหรือพนักงานส่วนต าบล (ก.จังหวัด) ก าหนดต าแหน่งข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น ว่าจะมีต าแหน่งใด ระดับใด อยู่ในส่วนราชการใด จ านวนเท่าใด ให้ค านึงถึงภาระหน้าที่ความรับผิดชอบ ลักษณะที่ต้องปฏิบัติ ความยาก ปริมาณและคุณภาพของงาน ตลอดจนทั้งภาระค่าใช้จ่ายขององค์การบริหารส่วนต าบล ที่จะต้องจ่ายในด้านบุคล โดยให้องค์การบริหารส่วนต าบล จัดท าแผนอัตราก าลังองข้าราชการหรือพนักงานส่วนต าบล มีการเก็บสถิติปริมาณงานที่เกิดขึ้นของแต่ละส่วนราชการ มีการน าปริมาณงานที่เกิดขึ้นของแต่ละส่วนราชการมาค านวณเป็นระยะเวลาที่เกิดขึ้นโดยแสดงเป็นระยะเวลาที่เกิดขึ้นโดยแสดงเป็นจ านวนโครงการหรือรายการ และแต่ละโครงการ รายการนั้นใช้เวลาเท่าใดน ามาค านวณในสัดส่วนเวลาการท างานต่อคนเพ่ือก าหนดจ านวนข้าราชการ และพนักงานจ้างพึงมี มีการแสดงรายการหรือระบุเวลาการท างานของข้าราชการและพนักงานจ้างว่าใน 1 ปี จะมี เวลาปฏิบัติราชการอย่างน้อย 82,800 นาที จ าแนกเป็นความต้องการก าลังคนว่าต้องการก าลังคนเป็นประเภทสายงานผู้ปฏิบัติ สายงานผู้บริหารในระดับใด จ านวนเท่าใด จึงจะสามารถปฏิบัติงานปฏิบัติงานในหน้าที่ความรับผิดชอบได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ือใช้ในการก าหนดต าแหน่งโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการข้าราชการหรือพนักงานส่วนต าบล (ก.อบต. ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่คณะกรรมการกลางกลางข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นก าหนด

    1. หลักการและเหตุผล

  • ๑.๓ คณะกรรมการกลางข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น (ก.จ. , ก.ท. หรือ ก.อบต. ได้มี

    มติเห็นชอบประกาศการก าหนดต าแหน่งข้าราการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น โดยก าหนดแนวทางให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อบจ. , เทศบาล , อบต. จัดท าแผนอัตราก าลังององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพ่ือเป็นกรอบในการก าหนดต าแหน่งและการใช้ต าแหน่งข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น โดยเสนอให้คณะกรรมการพนักงานส่วนต าบล(ก.อบต.จ.นม. พิจารณาให้ความเห็นชอบ โดยก าหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อบจ. , เทศบาล , อบต. แต่งตั้งคณะกรรมการจัดท าแผนอัตราก าลัง วิเคราะห์อ านาจหน้าที่และภารกิจขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อบจ., เทศบาล, อบต. วิเคราะห์ความต้องการก าลังคน วิเคราะห์การวางแผนการใช้ ก าลังคน จัดท ากรอบอัตราก าลัง และก าหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไข ในการก าหนดต าแหน่งข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นตามแผนอัตราก าลัง 3 ปี จากหลักการและเหตุผลดังกล่าว องค์การบริหารส่วนต าบลสุขไพบูลย์ จึงได้จัดท าแผนอัตราก าลัง 3 ปี ส าหรับปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 – 2563 ขึ้น

  • ๒.๑ เพ่ือให้องค์การบริหารส่วนต าบลสุขไพบูลย์ มีโครงสร้างการแบ่งงานและระบบงานที่ เหมาะสม ไม่ซ้ าซ้อน ๒.๒ เพ่ือให้องค์การบริหารส่วนต าบลสุขไพบูลย์ มีการก าหนดต าแหน่งการจัดอัตราก าลัง โครงสร้างให้เหมาะสมกับอ านาจหน้าที่ขององค์การบริการส่วนต าบล ตามกฎหมายจัดตั้งองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นแต่ละประเภทและตามพระราชบัญญัติก าหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอ านาจให้องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ ๒.๓ เพ่ือให้คณะกรรมการข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น (ก.จังหวัด) สามารถตรวจสอบ การก าหนดต าแหน่ง และการใช้ต าแหน่งข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นว่าถูกต้องเหมาะสมหรือไม่ ๒.๔ เพ่ือเป็นแนวทางในการด าเนินการวางแผนการใช้อัตราก าลัง การพัฒนาบุคลากรของ องค์การบริหารส่วนต าบลสุขไพบูลย์ ๒.๕ เพ่ือให้องค์การบริหารส่วนต าบลสุขไพบูลย์ สามารถวางแผนอัตราก าลัง ในการบรรจุ แต่งตั้งข้าราชการเพ่ือให้การบริหารงาน ขององค์การบริหารส่วนต าบลเกิดประโยชน์ต่อประชาชนเกิด ผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจตามอ านาจหน้าที่ มีประสิทธิภาพมีความคุ้มค่า สามารถลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน และมี การลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จ าเป็นการปฏิบัติภารกิจสามารถตอบสนองความต้องการของ ประชาชนได้เป็นอย่างดี ๒.๖ เพ่ือให้องค์การบริหารส่วนต าบลสุขไพบูลย์ สามารถควบคุมภาระค่าใช้จ่ายด้านการ บริหารงานบุคคลให้เป็นไปตามที่กฎหมายก าหนด

    2. วัตถุประสงค์

  • ในการจัดท าแผนอัตราก าลั ง 3 ปี ขององค์การบริหารส่วนต าบลสุขไพบูลย์ โดยคณะกรรมการจัดท าแผนอัตราก าลัง ซึ่งประกอบด้วย นายกองค์การบริหารส่วนต าบลสุขไพบูลย์ เป็นประธานกรรมการ ปลัดองค์การบริหารส่วนต าบลสุขไพบูลย์ เป็นกรรมการ และมีข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น 1 คน เป็นกรรมการและเลขานุการ จัดท าแผนอัตราก าลัง 3 ปี โดยมีขอบเขตเนื้อหาครอบคลุมในเรื่อง ๆ ดังต่อไปนี้

    1. การวิเคราะห์ภารกิจ อ านาจหน้าที่ ความรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนต าบลสุขไพบูลย์ ตามกฎหมายจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แต่ละประเภท และตามพระราชบัญญัติแผนและขั้นตอนการกระจายอ านาจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 ตลอดจนกฎหมายอ่ืนให้สอดคล้ องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนาอ าเภอ แผนพัฒนาต าบล นโยบายของรัฐบาล นโยบายผู้บริหาร และสภาพปัญหาในพ้ืนที่ขององค์การบริหารส่วนต าบลสุขไพบูลย์ เพ่ือให้การด าเนินงานขององค์การบริหารส่วนต าบลสุขไพบูลย์ บรรลุผลตามพันธกิจที่ตั้งไว้ จ าเป็นต้องจัดสรรอัตราก าลังตามหน่วยงานต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับเป้าหมายการด าเนินการ โดยมุมมองนี้เป็นการพิจารณาว่า งานในปัจจุบันที่ด าเนินการอยู่นั้น ครบถ้วน และตรงตามภารกิจหรือไม่ อย่างไร หากงานที่ท าอยู่ในปัจจุบันไม่ตรงกับภารกิจในอนาคต ก็ต้องมีการวางแผนกรอบอัตราก าลัง ให้ปรับเปลี่ยนไปตามทิศทางในอนาคต รวมถึงหากงานในปัจจุบันบางส่วนไม่ต้องด าเนินการแล้ว อาจท าให้การจัดสรรก าลังคนของบางส่วนราชการเปลี่ยนแปลงไป ทั้งนี้ เพ่ือให้เกิดการเตรียมความพร้อมในเรื่องก าลังคนให้รองรับสถานการณ์ในอนาคต

    2. การก าหนดโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการภายใน และการจัดระบบงาน เพ่ือรองรับภารกิจตามอ านาจหน้าที่ความรับผิดชอบ ให้สามารถแก้ไขปัญหาของจังหวัดนครราชสีมาได้อย่างมีประสิทธิภาพ

    3. การวิเคราะห์ต้นทุนค่าใช้จ่ายของก าลังคน : Supply pressure เป็นการน าประเด็นค่าใช้จ่ายบุคลากรเข้ามาร่วมในการพิจารณา เพ่ือการจัดการทรัพยากรบุคคลที่มีอยู่เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ก าหนดต าแหน่งในสายงานต่าง ๆ จ านวนต าแหน่ง และระดับต าแหน่ง ให้เหมาะสมกับภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ ปริมาณงาน และคุณภาพของงาน รวมทั้งสร้างความก้าวหน้าในสายอาชีพของกลุ่มงานต่าง ๆ โดยในส่วนนี้จะค านึงถึง

    3.1 การจัดระดับชั้นงานที่เหมาะสม ให้พิจารณาถึงต้นทุนต่อการก าหนดระดับขั้นงานในแต่ละประเภท เพ่ือให้การก าหนดต าแหน่ง และการปรับระดับชั้นงานเป็นไปอย่างประหยัด และมีประสิทธิภาพสูงสุด

    3.2 การจัดสรรประเภทของบุคลากรส่วนท้องถิ่น (ข้าราชการ หรือพนักงานส่วนท้องถิ่น ข้าราชการครู บุคลากรทางการศึกษา ลูกจ้างประจ า และพนักงานจ้าง โดยหลักการแล้ว การจัดประเภทลักษณะงานผิดจะมีผลกระทบต่อประสิทธิภาพ และต้นทุนในการท างานขององค์กร ดังนั้น ในการก าหนดอัตราก าลังข้าราชการ หรือพนักงานส่วนท้องถิ่นในแต่ละส่วนราชการ จะต้องมีการพิจารณาว่า ต าแหน่งที่ก าหนดในปัจจุบันมีความเหมาะสมหรือไม่ หรือควรเปลี่ยนลักษณะการก าหนดต าแหน่งเพ่ือให้การท างานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นโดยภาระค่าใช้จ่ายด้านการบริหารงานบุคคลต้องไม่เกินร้อยละ 40 ของงบประมาณรายจ่าย ตามมาตรการ 35 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542

    3. กรอบแนวคิดในการจัดท าแผนอัตราก าลัง ๓ ปี

  • 4. การวิเคราะห์กระบวนการและเวลาที่ใช้ในการปฏิบัติงาน เป็นการน าข้อมูลเวลาที่ใช้ในการปฏิบัติงานตามกระบวนการจริง (Work process) ในอดีต เพื่อวิเคราะห์ปริมาณงานต่อบุคคลจริง โดยสมมติฐานที่ว่า งานใดที่ต้องมีกระบวนการ และเวลาที่ใช้มากกว่า โดยเปรียบเทียบย่อมต้องใช้อัตราก าลังคนมากกว่า อย่างไรก็ดี ในภาคราชการส่วนท้องถิ่นนั้น งานบางลักษณะ เช่น งานก าหนดนโยบาย งานมาตรฐาน งานเทคนิคด้านช่าง หรืองานบริการบางประเภทไม่สามารถก าหนดเวลามาตรฐานได้ ดังนั้น การค านวณเวลาที่ใช้ในกรณีของภาคราชการส่วนท้องถิ่นนั้น จึงท าได้เพียงเป็นข้อมูลเปรียบเทียบ (Relative Information) มากกว่าจะเป็นข้อมูลที่ใช้ในการก าหนดค านวณอัตราก าลังต่อหน่วยงานจริงเหมือนในภาคเอกชน นอกจากนั้น ก่อนจะค านวณเวลาที่ใช้ในการปฏิบัติงานแต่ละส่วนราชการ จะต้องพิจารณาปริมาณงาน ลักษณะงานที่ปฏิบัติว่ามีความสอดคล้องกับภารกิจของหน่วยงานหรือไม่ เพราะในบางครั้งอาจเป็นไปได้ว่างานที่ปฏิบัติอยู่ในปัจจุบันมีลักษณะเป็นโครงการพิเศษ หรืองานของหน่วยงานอื่น ก็มีความจ าเป็นต้องมาใช้ประกอบการพิจารณาด้วย

    5. การวิเคราะห์ผลงานที่ผ่านมาเพ่ือประกอบการก าหนดกรอบอัตราก าลังเป็นการน าผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของแต่ละส่วนราชการ และพันธกิจขององค์กรมายึดโยงกับจ านวนกรอบอัตราก าลังที่ต้องใช้ส าหรับการสร้างผลลัพธ์ที่พึ งประสงค์ให้ได้ตามเป้าหมาย โดยสมมติฐานที่ว่า หากผลงานที่ผ่านมา เปรียบเทียบกับผลงานในปัจจุบัน และในอนาคตมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญ อาจต้องมีการพิจารณาแนวทางในการก าหนด/เกลี่ยอัตราก าลังใหม่ เพ่ือให้เกิดการท างานที่มีประสิทธิภาพ และสนับสนุนการท างานตามภารกิจของส่วนราชการ และองค์กรอย่างสูงสุด

    6. การวิเคราะห์ข้อมูลจากความคิดเห็นแบบ 360 องศา เป็นการสอบถามความคิดเห็นจากผู้มีส่วนได้เสีย หรือน าประเด็นต่าง ๆ อย่างเรื่องการบริหารงาน งบประมาณ คน มาพิจารณาอย่างน้อยใน 3 ประเด็น ดังนี้

    6.1 เรื่องพ้ืนที่ และการจัดโครงสร้างองค์กร เนื่องจากการจัดโครงสร้างองค์กร และการแบ่งงานในพ้ืนที่นั้น จะมีผลต่อการก าหนดกรอบอัตราก าลังเป็นอย่างมาก เช่น หากก าหนดโครงสร้ างที่มากเกินไป จะท าให้เกิดต าแหน่งงานขึ้นตามมาอีกไม่ว่าจะเป็นงานหัวหน้าฝ่าย งานธุรการ สารบรรณและบริหารทั่วไปในส่วนราชการนั้น ซึ่งอาจมีความจ าเป็นต้องทบทวนว่าการก าหนดโครงสร้างในปัจจุบันของแต่ละส่วนราชการนั้นมีความเหมาะสมมากน้อยเพียงใด

    6.2 เรื่องเกษียณอายุราชการ เนื่องจากหลาย ๆ ส่วนราชการในปัจจุบันมีข้าราชการสูงอายุจ านวนมาก ดังนั้น อาจต้องมีการพิจารณาถึงการเตรียมการเรื่องกรอบอัตราก าลังที่จะรองรับการเกษียณอายุของข้าราชการ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นการถ่ายทอดองค์ความรู้ การปรับต าแหน่งที่เหมาะสมขึ้นทดแทนต าแหน่งที่เกษยีณอายุไป เป็นต้น

    6.3 ความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เป็นการสอบถามจากเจ้าหน้าที่ภายในส่วนราชการ และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับส่วนราชการนั้น ๆ ผ่านการส่งแบบสอบถามหรือการสัมภาษณ์ ซึ่งมุมมองต่าง ๆ อาจท าให้การก าหนดกรอบอัตราก าลังเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากข้ึน

    7. การพิจารณาเปรียบเทียบกับกรอบอัตราก าลังขององค์กรอ่ืน ๆ กระบวนการนี้ เป็นกระบวนการน าข้อมูลของอัตราก าลังในหน่วยงานที่มีลักษณะงานใกล้เคียงกัน เช่น การเปรียบเทียบจ านวนกรอบอัตราก าลังของานการเจ้าหน้าที่ในเทศบาล ก และงานการเจ้าหน้าที่ในเทศบาล ข ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบคล้ายกัน โดยสมมติฐานที่ว่าแนวโน้มของการใช้อัตราก าลังของแต่ละองค์กรในลักษณะงาน และปริมาณงานแบบเดียวกันน่าจะมีจ านวน และการก าหนดต าแหน่งคล้ายคลึงกันได้

  • 8. ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีแผนการพัฒนาข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นทุกคน โดยต้องได้รับการพัฒนาความรู้ ความสามารถอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง

    การวิเคราะห์ข้อมูล เพ่ือก าหนดกรอบอัตราก าลังไม่มุ่งเน้นในการเพ่ิม เกลี่ย หรือลดจ านวนกรอบอัตราก าลังเป็นส าคัญ แต่มีจุดหมายเพ่ือให้ส่วนราชการมีแนวทางในการพิจารณาก าหนดกรอบอัตราที่เป็นระบบมากขึ้น นอกจากนั้น ยังมีจุดเน้นให้ส่วนราชการพิจารณาการก าหนดต าแหน่งที่เหมาะสม (Right Jobs) มากกว่าการเพ่ิม/ลดจ านวนต าแหน่ง ตัวอย่างเช่น การวิเคราะห์ต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว พบว่า การก าหนดกรอบต าแหน่งในประเภททั่วไปอาจมีความเหมาะสมน้อยกว่าการก าหนดต าแหน่งประเภทวิชาการในบางลักษณะงาน ทั้ง ๆ ที่ใช้ต้นทุนไม่แตกต่างกันมาก รวมถึงในการพิจารณาที่กระบวนการท างาน ก็พบว่าเป็นลักษณะงานในเชิงการวิเคราะห์ในสายอาชีพมากกว่างานในเชิงปฏิบัติงาน และส่วนราชการอ่ืนก็ก าหนดต าแหน่งในลักษณะนี้เป็นต าแหน่งประเภทวิชาการ ถ้าเกิดกรณีเช่นนี้ ก็น่าจะมีเหตุผลเพียงพอที่จะก าหนดกรอบอัตราก าลังในลักษณะงานนี้เป็นต าแหน่งประเภทวิชาการ โดยไม่ได้เพ่ิมจ านวนต าแหน่งของส่วนราชการเลย โดยสรุปอาจกล่าวได้ว่า กรอบแนวคิดการวิเคราะห์อัตราก าลัง (Effective Man Power Planning Framework) นี้ จะเป็นแนวทางให้ส่วนราชการสามารถมีข้อมูลเชิงวิเคราะห์อย่างเพียงพอในส่วนราชการ นอกจากนั้นการรวบรวมข้อมูลโดยวิธีการดังกล่าวจะท าให้ส่วนราชการ สามารถน าข้อมูลเหล่านี้ไปใช้ประโยชน์ในเรื่องอ่ืน ๆ เช่น

    1. การใช้ข้อมูลที่หลากหลาย จะท าให้เกิดการยอมรับได้มากกว่าโดยเปรียบเทียบหากจะต้องมีการเกลี่ยอัตราก าลังระหว่างหน่วยงาน

    2. การจัดท ากระบวนการจริง (Work process) จะท าให้ได้เวลามาตรฐานที่จะสามารถน าไปใช้วัดประสิทธิภาพในการท างานของบุคคลได้อย่างถูกต้อง รวมถึงในระยะยาวส่วนราชการสามารถน าผลอันจะน าไปสู่การใช้อัตราก าลังที่เหมาะสม และมีประสิทธิภาพมากขึ้น

    3. การเก็บข้อมูลผลงาน จะท าให้สามารถพยากรณ์แนวโน้มของภาระงาน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในอนาคตต่อส่วนราชการในการเตรียมปรับยุทธศาสตร์ในการท างาน เพ่ือรองรับภารกิจที่จะเพ่ิม/ลดลง

  • การวิเคราะห์ศักยภาพขององค์การบริหารส่วนต าบลสุขไพบูลย์

    สภาพปัญหาของพื้นที่

    องค์การบริหารส่วนต าบลสุขไพบูลย์ อ าเภอเสิงสาง จังหวัดนครราชสีมา จัดตั้งเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เมื่อปี พ.ศ. 2539 เป็นองค์การบริหารส่วนต าบลขนาดกลาง มีพ้ืนที่ 128 ตารางกิโลเมตร หรือ 80,000 ไร่ สภาพภูมิประเทศเป็นพ้ืนที่ราบสูง อดีตเคยเป็นป่าเบญจพรรณที่อุดมสมบูรณ์ แต่ถูกบุกรุกท าการเกษตร และท่ีอยู่อาศัยจนเต็มพ้ืนที่

    องค์การบริหารส่วนต าบลสุขไพบูลย์ มีหมู่บ้านในการปกครอง 13 หมู่บ้าน มีครัวเรือน 3,197 ครัวเรือน มีประชากร 11,454 คน ประชากรในพ้ืนที่ส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพ เกษตรกร คิดเป็นร้อยละ 80.90 ในอดีตปลูกมันส าปะหลังเพียงอย่างเดียว ปัจจุบันมีการปลูกพืช ผัก ผลไม้ หลากหลายชนิดมากกว่าเดิม จนท าให้มีการจัดตั้งเป็นตลาดผัก ผลไม้ของเอกชนขนาดใหญ่ในพ้ืนที่ จนท าให้เป็นวิถีการด าเนินชีวิต และสร้างเศรษฐกิจชุมชนของต าบลสุขไพบูลย์ และเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายในจังหวัดนครราชสีมา และจังหวัดใกล้เคียง โดยประชาชนในพ้ืนที่ มีรายได้เฉลี่ย 82,460 ต่อคนต่อปี มีรายได้เฉลี่ย 171,881 ต่อครัวเรือนต่อป ี

    ทั้งนี้ เพ่ือที่จะให้การวางแผนอัตราก าลัง 3 ปี มีความครบถ้วน สามารถด าเนินการตามอ านาจหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ องค์การบริหารส่วนต าบลสุขไพบูลย์ จึงวิเคราะห์สภาพปัญหาความจ าเป็นพื้นฐาน และความต้องการของประชาชนในพื้นท่ีที่ส าคัญ และความต้องการของประชาชนในพื้นท่ี ดังนี้ สภาพปัญหาในพื้นที่

    ปัญหาด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน 1. ขาดการตรวจสอบวิเคราะห์และปรึกษากันระหว่างหมู่บ้านที่มีถนนเชื่อมต่อกันให้

    เป็นโครงการเดียวกัน ว่าควรจัดท าถนนประเภทใดจึงจะเหมาะกับสภาพการใช้งานเพ่ือป้องกันปัญหาถนนขาดคุณภาพ เสื่อมสภาพเร็วและการสัญจรไปมาท่ีไม่สะดวก

    2. ผู้รับเหมางานขาดจิตส านึกในการท างานให้ตรงกับแบบและก าหนดเวลา 3. ไม่มีการปักแนวเขตทางและวางท่อระบายน้ าพร้อมกับการก่อสร้างถนน 4. น้ าประปาขาดคุณภาพ ไม่มีการตรวจสอบคุณภาพน้ า 5. น้ าอุปโภค บริโภคไม่เพียงพอ โดยเฉพาะหน้าแล้ง 6. การขยายเขตไฟฟ้าสาธารณะ ยังไม่ทั่วถึง เพียงพอต่อความต้องการ

    ปัญหาด้านคุณภาพชีวิต 1. ค่าครองชีพสูง 2.ประชาชนมีภาระหนี้สินจ านวนมาก เนื่องจากขาดการวางแผนการประกอบอาชีพ 3. ขาดสถานที่ อุปกรณ์เพ่ือการฝึกซ้อมกีฬาและออกก าลังกายในแต่ละหมู่บ้าน 4. ประชาชนขาดความตระหนักรู้ ในการดูแลสุขภาพ ท าให้ยากต่อการป้องกันโรคติดต่อและ ไม่ติดต่อ 5. ปัญหาการระบาดของยาเสพติดในพ้ืนที่ เข้าสู่กลุ่มเด็กและเยาวชนและขาดการตรวจสาร เสพติดอย่างต่อเนื่อง

    4. สภาพปัญหาของพืน้ที่และความต้องการของประชาชน

  • 6. ปัญหาการทะเลาะวิวาทของกลุ่มเยาวชนในพื้นท่ี 7. ปัญหาภัยธรรมชาติที่สร้างความเสียหายให้แก่ผลผลิตทางการเกษตร ชีวิต และทรัพย์สิน 8. ปัญหาอุบัติเหตุในช่วงเทศกาล เนื่องจากการขับขี่ยานพาหนะในขณะมึนเมา 9. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กไม่เพียงต่อความต้องการของประชาชนในพื้นท่ีและขาดความสะดวก

    ในการรับ – ส่ง เด็กในระดับก่อนวัยเรียน เนื่องจากสถานศึกษาตั้งอยู่ไกล 10. ขาดแหล่งเรียนรู้ทางการศึกษาตามอัธยาศัย หรือการศึกษานอกระบบ เช่นศูนย์

    อินเตอร์เน็ตเพ่ือการเรียนรู้ 11. การเสื่อมศีลธรรมทางศาสนา ประชาชนขาดที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจ ท าให้เกิดปัญหา

    สังคมหลายเรื่องตามมา 12. วัฒนธรรม ภูมิปัญญาชาวบ้านที่สืบทอดมาจากรุ่นต่อรุ่น เริ่มสูญหาย เนื่องจาก

    ขาดการถ่ายทอดสู่คนรุ่นหลังและกระแสโลกาภิวัตน์ ปัญหาด้านเศรษฐกิจ

    1. ปัญหาที่ดิน สปก. 2. ปัญหาการเรียกร้องสิทธิการได้รับความช่วยเหลือด้านการเกษตรจากรัฐบาล 3. ขาดการรวมกลุ่มเพ่ือการประกอบอาชีพ ซึ่งกลุ่มถือว่าเป็นพลังส าคัญในการต่อรอง

    ทางเศรษฐกิจกับผู้ร่วมการลงทุน 4. ขาดเงินทุนในการประกอบอาชีพเนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่มีฐานะยากจน

    ปัญหาด้านการบริหารจัดการ 1. ประชาขนขาดความเข้าใจระบบบริหารงานขององค์การบริหารส่วนต าบล ส่งผลให้

    เกิดความเข้าใจผิดในการติดต่อประสานงานและได้รับความช่วยเหลือที่ไม่ตรงต่อความต้องการ

    2. ระบบราชการมีขั้นตอนในการด าเนินงาน จึงไม่สามารถสนองความต้องการของประชาชนได้ทันที

    3. ประชาชนส่วนใหญ่ขาดการเรียนรู้ด้านการเมืองการปกครอง ท าให้กระบวนการตรวจสอบด้านต่าง ๆ ไม่มีประสิทธิภาพเท่าท่ีควร

    ปัญหาด้านทรัพยากรธรรมชาติ 1. ปริมาณขยะและสิ่งปฏิกูลจ านวนเพ่ิมมากขึ้นไม่มีการก าจัดที่ถูกวิธี ไม่มีสถานที่

    ก าจัดขยะท่ีถูกต้อง ประชาชนยังขาดความสนใจในการคัดแยกขยะ 2. การใช้สารเคมีในภาคการเกษตร 3. พื้นทีป่่าชุมชนมีน้อยลง ขาดการดูแล ฟ้ืนฟู ปลูกเพ่ิม 4. มลภาวะทางอากาศจากการท าการเกษตร 5. พื้นที่สีเขียวลดลง การปลูกต้นไม้ทดแทนมีจ านวนน้อยและใช้ระยะเวลานานในการ

    เจริญเติบโตและมีการถากถางป่าเพ่ือท าการเกษตร 6. การขุดดิน ถมดินไม่ปฏิบัติตามกฎหมายที่ถูกต้อง

    ปัญหาด้านการพัฒนาแหล่งน้ า 1. แหล่งน้ าธรรมชาติตื้นเขิน ขาดงบประมาณในการพัฒนาแหล่งน้ า ท าให้การกักเก็บ

    น้ าท าได้น้อยลงจึงขาดแคลนน้ าในหน้าแล้ง 2. ประชากรมีการปลูกพ้ืนระยะสั้นจ านวนมาก ท าให้ต้องการใช้น้ าในจ านวนมาก

  • ความต้องการของประชาชน

    ความต้องการด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน 1. ประสานความร่วมมือทุกภาคส่วนในพื้นท่ี เพื่อจัดท าบริการสาธารณะด้านโครงสร้าง

    พ้ืนฐานให้เหมาะสมกับความต้องการและเกิดประโยชน์สูงสุดให้กับประชาชนในพ้ืนที่ 2. มีการปักแนวเขต และวางท่อระบายน้ าพร้อมกับการก่อสร้างถนนเพื่อป้องกันปัญหาการรุก

    แนวเขตถนน 3. ต้องการน้ าประปาที่มีคุณภาพ มีการตรวจสอบคุณภาพน้ าประปา และเพียงพอที่จะใช้

    อุปโภค บริโภคตลอดทั้งปี 4. มีการขยายเขตไฟฟ้าสาธารณะเพ่ือการเกษตรให้ครอบคลุมทุกพ้ืนที่

    ความต้องการด้านคุณภาพชีวิต 1. แก้ไขปัญหาค่าครองชีพสูง 2. แก้ปัญหายาเสพติดทุกรูปแบบ 3. แก้ปัญหาการทะเลาะวิวาทของวัยรุ่น 4. ส่งเสริมการด ารงชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง 5. ส่งเสริมการกีฬาและนันทนาการในชุมชน 6. พัฒนาศักยภาพการศึกษาในพ้ืนที่เพ่ือลดภาระค่าใช้จ่ายการส่งบุตรหลานไปศึกษาต่อนอกพ้ืนที่ 7. ส่งเสริมความปลอดภัยด้านชีวิตและทรัพย์สิน 8. สร้างความตระหนักให้แก่ประชาชนเพื่อลดอัตราการสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินเนื่องจาก

    การขับขี่ยานพาหนะในขณะมึนเมา 9. ท านุบ ารุงศาสนาและรักษาขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมท้องถิ่น ปราชญ์ท้องถิ่นให้คงอยู่ และ

    สืบทอดต่อคนรุ่นหลัง เพื่อไม่ให้สูญหายเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ ความต้องการด้านเศรษฐกิจ

    1. แก้ไขปัญหาที่ดิน สปก. 2. ให้ความรู้และข้อมูลข่าวสารแก่เกษตรกรในเรื่องสิทธิการได้รับความช่วยเหลือจากรัฐบาล

    หรือหน่วยงานอื่น 3. ส่งเสริมการรวมกลุ่มอาชีพ เพ่ือความเข้มแข็งในการประกอบอาชีพ 4. เกษตรกรมีความต้องการ การใช้ไฟฟ้าเพ่ือการเกษตรในการสูบน้ าเพื่อเป็นปัจจัยในการผลิต

    ความต้องการด้านการบริหารจัดการ 1. ให้ความรู้เกี่ยวกับบทบาทอ านาจหน้าที่ ขององค์การบริหารส่วนต าบลแก่ประชาชน 2. ปรับปรุงกระบวนการท างานให้สามารถสนองตอบต่อความต้องการของประชาชนให้ดีที่สุด 3. ประชาชนควรเข้ามามีส่วนร่วมในการด าเนินกิจกรรมของท้องถิ่นเพ่ิมขึ้น 4. พัฒนาศักยภาพการศึกษา

    ความต้องการด้านทรัพยากรธรรมชาติ 1. มีการวางแผนในการบริหารจัดการ สิ่งปฏิกูลและมูลฝอย 2. ส่งเสริมให้เกษตรกรใช้ชีวภาพแทนการใช้สารเคมีในการท าเกษตรกรรม 3. ฟ้ืนฟูดูแลพื้นที่ป่าชุมชนให้กลับมามีสภาพอุดมสมบูรณ์ มีการส ารวจพันธุ์ไม้ในท้องถิ่นเพ่ือ

    ไม่ให้สูญพันธุ์ 4. ปลูกป่าเพ่ือเพ่ิมพ้ืนที่สีเขียว

  • ความต้องการด้านการพัฒนาแหล่งน้ า 1. มีการพัฒนาแหล่งน้ าที่ต่อเนื่อง ก าจัดวัชพืชในแหล่งน้ า ขุดลอกคู คลอง แหล่งน้ าอ่ืน ๆ มี

    การจัดท าฝายกักกันน้ าเพ่ิมมากข้ึน

    จากการวิเคราะห์สภาพปัญหาความจ าเป็นพ้ืนฐาน และความต้องการของประชาชนในพ้ืนที่ที่ส าคัญ และความต้องการของประชาชนในพ้ืนที่ องค์การบริหารส่วนต าบลสุขไพบูลย์ ได้วิเคราะห์ศักยภาพเพ่ือประเมินสภาพการพัฒนาในปัจจุบัน และโอกาสการพัฒนาในอนาคตของท้องถิ่น โดยใช้เทคนิค SWOT Analysis ซึ่งเป็นการพิจารณาถึงปัจจัยภายใน (จุดแข็ง,จุดอ่อน) และปัจจัยภายนอก (โอกาส,อุปสรรค) ที่มีผลต่อการพัฒนาด้านต่าง ๆ ของท้องถิ่น ได้ดังนี้

    จุดแข็ง(S : Strength) 1. มีตลาด รับซื้อ ขายส่ง – ปลีก ผักผลไม้ทางการเกษตรในพื้นที ่2. มีพื้นท่ีทางการเกษตร และแหล่งน้ าใต้ดินที่อุดมสมบูรณ์ 3. เกษตรมีการใช้เทคโนโลยีมาช่วยในการท าการเกษตรผลผลิตมากข้ึน ต้นทุนลดลง 4. ประชากรมีรายได้จาการปลูกพืชระยะสั้น 5. อบต. มีศักยภาพเพียงพอที่จะให้บริการสาธารณะ และแก้ปัญหาความเดือดร้อน 6. ประชากรมีรายได้จากภาคการเกษตรตลอดท้ังปี 7. ประชาชนให้ความร่วมมือในการบริหารจัดการ

    จุดอ่อน (W : Weakness) 1. การซื้อขายเปลี่ยนมือของที่ดิน สปก. 2. เด็กและเยาวชนไม่จบการศึกษาภาคบังคับ 3. การขาดความม่ันใจในศักยภาพระบบการศึกษาในท้องถิ่น 4. ปัญหาขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล 5. ปัญหามลภาวะสิ่งแวดล้อมจากภาคการเกษตร 6. ปัญหายาเสพติดในพ้ืนที่ 7. ปัญหาเด็กและเยาวชนติดเกมส์ 8.ส านักงานองค์การบริหารส่วนต าบลมีพ้ืนที่คับแคบ 9. ที่ดินไม่มีเอกสารสิทธิ์ ขาดโอกาสเข้าถึงแหล่งทุน และการช่วยเหลือต่าง ๆ จากภาครัฐ 10. ราคาผลผลิตทางการเกษตรตกต่ า 11. สารตกค้างในผลผลิตทางการเกษตร ส่งอันตรายต่อผู้ผลิต ผู้บริโภค และสิ่งแวดล้อม 12. ขาดความเข้มแข็งในการประกอบอาชีพ เนื่องจากไม่มีการรวมกลุ่ม

    โอกาส (O : Opportunity 1. เป็นแหล่งรับซื้อ ขายส่ง – ปลีก ผักผลไม้ทางการเกษตรในพื้นที่ 2. สามารถผลิตผลผลิตทางการเกษตรได้เป็นจ านวนมากและมีคุณภาพ เพียงพอกับความ ต้องการในทุกฤดูกาล 3. เทคโนโลยีและระบบสื่อสารมีความทันสมัย 4. มีการกระจายอ านาจในท้องถิ่นในการบริการสาธารณะให้กับประชาชนในพื้นที่อย่างมี ประสิทธิภาพ 5. การเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 6. สถาบันทางการเงินในระบบให้การสนับสนุนแหล่งเงินทุนในการประกอบอาชีพ

  • อุปสรรค (T : Threat) 1. ขาดแคลนแรงงานภาคการเกษตร 2. พลังงานมีราคาสูง เพ่ิมต้นทุนในการผลิตภาคการเกษตร 3. การติดต่อสื่อสารทางด้านภาษา เพ่ือการสื่อสารเมื่อเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจแห่งอาเซียน 4. ราคาผลผลิตทางการเกษตรตกต่ า 5. มีแรงงานต่างด้าวจ านวนมาก

  • การพัฒนาท้องถิ่นขององค์การบริหารส่วนต าบลสุขไพบูลย์ นั้น เป็นการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในการร่วมคิด ร่วมแก้ไขปัญหาร่วมสร้าง ร่วมจัดท าในเขตพ้ืนที่รับผิดชอบให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่นในทุกด้าน การพัฒนาองค์การบริหารส่วนต าบลสุขไพบูลย์ จะสมบูรณ์ได้ จ าเป็นต้องอาศัยความร่วมมือของชุมชนในพ้ืนที่ให้เกิดความตระหนักร่วมกันแก้ไขปัญหา และความเข้าใจในแนวทางแก้ไขปัญหากันอย่างจริงจัง

    องค์การบริหารส่วนต าบลสุขไพบูลย์ ได้ด าเนินภารกิจในการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อน ความต้องการ ความไม่มี ความไม่รู้ของชุมชน โดยอาศัยอ านาจหน้าที่ตามมาตรา 67 มาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัติสภาต าบลและองค์การบริหารส่วนต าบล พ.ศ. 2537 (แก้ไขเพ่ิมเติมฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 โดยการจัดท าแผนพัฒนาท้องถิ่นสีปี และแผนพัฒนาต าบลประจ าปีให้สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน และนโยบายของผู้บริหารองค์การบริหารส่วนต าบล แผนพัฒนาอ าเภอ แผนพัฒนาจังหวัด นโยบายของรัฐบาล และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

    ในการด าเนินการแก้ไขปัญหาในพ้ืนที่ให้ตรงกับความต้องการของประชาชน องค์การบริหารส่วนต าบลสุขไพบูลย์ได้ใช้เทคนิค SWOT Analysis เข้ามาช่วยในการวิเคราะห์ภารกิจ อ านาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนต าบล โดยสามารถก าหนดภารกิจได้เป็น 7 ด้าน ซึ่งภารกิจดังกล่าวอยู่ใน พระราชบัญญัติสภาต าบลและองค์การบริหารส่วนต าบล พ.ศ. 2537 แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 และตามพระราชบัญญัติก าหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอ านาจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 ดังนี้

    1. ด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน มีภารกิจที่เกี่ยวข้องดังนี้ 1.1 จัดให้มีการบ ารุงรักษาทางน้ า และทางบก (มาตรา 67 (1 * 1.2 ให้มีน้ าเพ่ือการอุปโภค บริโภคและการเกษตร (มาตรา 68 (1 * 1.3 ให้มีและบ ารุงการไฟฟ้า หรือแสงสว่างโดยวิธีอ่ืน (มาตรา 68 (2 * 1.4 ให้มีและบ ารุงรักษาทางระบายน้ า (มาตรา 68 (3 * 1.5 การจัดให้มีและบ ารุงรักษาทางบก ทางน้ า และทางระบายน้ า (มาตรา 16 (2 ** 1.6 การสาธารณูปโภคและการก่อสร้างอ่ืน ๆ (มาตรา 16 (4 ** 1.7 การสาธารณูปการ (มาตรา 16 (5 ** 1.8 ปฏิบัติหน้าที่อ่ืน ตามท่ีทางราชการมอบหมายและกฎหมายอื่นท่ีเกี่ยวข้อง

    2. ด้านส่งเสริมคุณภาพชีวิต มีภารกิจที่เกี่ยวข้องดังนี้ 2.1 ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ (มาตรา 67 (1 * 2.2 การรักษาความสะอาดของถนน ทางน้ า ทางเดินและที่สาธารณะรวมทั้งก าจัดขยะมูล ฝอยและสิ่งปฏิกูล (มาตรา 67 (2 * 2.3 ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ (มาตรา 67 (3 * 2.4 ให้มีและบ ารุงสถานที่ประชุมการกีฬา การพักผ่อนหย่อนใจ และส่วนสาธารณะ (มาตรา 6 (4 * 2.5 การจัดการศึกษา (มาตรา 16 (9 ** 2.6 การสงเคราะห์และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส (มาตรา 16 (10 **

    5. ภารกิจ อ านาจหน้าที่ขององค์กรปกครองสว่นท้องถิ่น

  • 2.7 จัดให้มีและบ ารุงรักษาสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ (มาตรา 16 (13 ** 2.8 การส่งเสริมกีฬา (มาตรา 16 (14 ** 2.9 การก าจัดขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูล และน้ าเสีย (มาตรา 16 (18 ** 2.10 การสาธารณสุข การอนามัย ครอบครัว และการรักษาพยาบาล (มาตรา 16 (19 ** 2.11 ปฏิบัติหน้าที่อ่ืน ตามท่ีราชการมอบหมายและกฎหมายอื่นท่ีเกี่ยวข้อง

    3. ด้านการจัดระเบียบชุมชน สังคม การรักษาความสงบเรียบร้อย มีภารกิจที่เกี่ยวข้องดังนี้ 3.1 การป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย (มาตรา 67 (1 * 3.2 การคุ้มครองดูแลรักษาทรัพย์สินและอันเป็นสาธารณะสมบัติของแผ่นดิน (มาตรา 68 (8 * 3.3 การผังเมือง (มาตรา 68 (13 และมาตรา 16 (25 ** 3.4 การปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัด และการจัดการเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย (มาตรา 16 (12 ** . 3.5 การรักษาความสะอาด และความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง (มาตรา 16 (17 ** 3.6 การจัดเมืองให้มีและควบคุมสุสาน และฌาปนสถาน (มาตรา 16 (20 ** 3.7 การควบคุมการเลี้ยงสัตว์ (มาตรา 16 (21 ** 3.8 การจัดให้มีและควบคุมการฆ่าสัตว์ (มาตรา 16 (22 ** 3.9 การรักษาความปลอดภัย ความเป็นระเบียบเรียบร้อยและการอนามัยโรงมหรสพ และ สาธารณสถานอ่ืน ๆ (มาตรา 16 (23 **

    3.10 การดูแลรักษาที่สาธารณะ (มาตรา 16 (26 ** 3.11 การรักษาความสงบเรียบร้อย การส่งเสริมและสนับสนุนการป้องกันรักษาความ ปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์สิน (มาตรา 16 (30 ** 3.12 ปฏิบัติหน้าที่อ่ืน ตามท่ีทางราชการมอบหมายและกฎหมายอื่นท่ีเกี่ยวข้อง 4. ด้านการวางแผนการส่งเสริมการลงทุน พาณิชยกรรมและการท่องเที่ยว มีภารกิจที่เกี่ยวข้องดังนี้ 4.1 ส่งเสริมให้มีอุตสาหกรรมในครอบครัว (มาตรา 68 (6 * 4.2 ให้มีและส่งเสริมกลุ่มเกษตร และกิจการสหกรณ์ (มาตรา 68 (5 * 4.3 บ ารุงและส่งเสริมการประกอบอาชีพของราษฎร (มาตรา 68 (7 * 4.4 หาผลประโยชน์จากทรัพย์สินขององค์การบริหารส่วนต าบล (มาตรา 68 (9 *

    4.5 ให้มีตลาด ท่าเทียบเรือ และท่าข้าม (มาตรา 68 (10 * 4.6 กิจการเกี่ยวกับการพาณิชย์ (มาตรา 68 (11 * 4.7 การท่องเที่ยว (มาตรา 68 (12 * 4.8 การให้มีและการตลาด ท่าเทียบเรือ ท่าข้ามและที่จอดรถ (มาตรา 16 (3 ** 4.9 การขนส่งและวิศวกรรมจราจร (มาตรา 16 (26 ** 4.10 ปฏิบัติหน้าที่อื่น ตามที่ทางราชการมอบหมายและกฎหมายอื่นท่ีเกี่ยวข้อง

    5. ด้านการบริหารจัดการและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีภารกิจที่เกี่ยวข้องดังนี้ 5.1 คุ้มครอง ดูแล และบ ารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (มาตรา 67 (7 * 5.2 การจัดการบ ารุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากป่าไม้ และทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม (มาตรา 16 (24 ** 5.3 ปฏิบัติหน้าที่อ่ืน ตามท่ีทางราชการมอบหมายและกฎหมายอื่นท่ีเกี่ยวข้อง

  • 6. ด้านการศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น มีภารกิจที่เกี่ยวข้องดังนี้ 6.1 บ ารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น (มาตรา 67 (8 * 6.2 ส่งเสริมการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (มาตรา 67 (5 * 6.3 การส่งเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาคสิทธิเสรีภาพของประชาชน (มาตรา 16 (15 ** 6.4 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของราษฎรในการพัฒนาท้องถิ่น (มาตรา 16 (16 ** 6.5 ปฏิบัติหน้าที่อ่ืน ตามท่ีทางราชการมอบหมายและกฎหมายอื่นท่ีเกี่ยวข้อง

    7. ด้านบริหารจัดการและการสนับสนุนการปฏิบัติภารกิจของส่วนราชการ และองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น มีภารกิจที่เกี่ยวข้องดังนี้

    7.1 ปฏิบัติหน้าที่อ่ืน ตามท่ีทางราชการมอบหมาย โดยจัดสรรงบประมาณหรือบุคลากรให้ ตามความจ าเป็นและสมควร (มาตรา 67 (9 * 7.2 กิจการอื่นใดท่ีเป็นผลประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นตามที่คณะกรรมการประกาศ ก าหนด (มาตรา 16 (31 ** 7.3 ปฏิบัติหน้าที่อ่ืน ตามท่ีทางราชการมอบหมายและกฎหมายอื่นท่ีเกี่ยวข้อง

    * หมายถึง พระราชบัญญตัิสภาต าบลและองค์การบรหิารส่วนต าบล พ.ศ.2537 (ที่แก้ไขถึงฉบับท่ี 5 พ.ศ.2546) ** หมายถึง พระราชบัญญตัิแผนและขั้นตอนการกระจายอ านาจใหอ้งค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542

  • การวิเคราะห์ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต าบลสุขไพบูลย์

    การวิเคราะห์ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต าบลสุขไพบูลย์

    การวางแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต าบลสุขไพบูลย์ เป็นกระบวนการก าหนดทิศทาง การพัฒนาในอนาคตขององค์กร โดยองค์การบริหารส่วนต าบลสุขไพบูลย์ ได้วิเคราะห์ศักยภาพการพัฒนาท้องถิ่น โดยการเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ทุก ๆ ยุทธศาสตร์ และความต้องการของประชาชนในพ้ืนที่ เพ่ือน ามาใช้เป็นกรอบในการวางแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต าบลสุขไพบูลย์ ให้ตรงกับความต้องการของประชาชนเพื่อรองรับต่อการพัฒนาในอนาคต ในการการด าเนินงาน องค์การบริหารส่วนต าบลสุขไพบูลย์ ได้ก าหนดวิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Mission) และยุทธศาสตร์การพัฒนา ไว้ดังนี้

    วิสัยทศัน์การพัฒนา (Vision)

    “สุขไพบูลย์น่าอยู่ มุ่งสู่คุณภาพชีวิต แหล่งผลิตผลการเกษตรชั้นดี การบริหารดีแบบมีส่วนร่วม”

    พันธกิจ (Mission)

    ๑. การพัฒนาชุมชนให้น่าอยู่ มีความเข้มแข็ง โดยได้รับบริการสาธารณะ พัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานที่จ าเป็นเพื่อรองรับการขยายตัวของชุมชนและเศรษฐกิจ

    ๒. จัดท าบริการสาธารณะและจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย ๓. พัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐที่ดี และมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ๔. ส่งเสริมการศึกษาทุกระดับ ทั้งในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ๕. ส่งเสริมประชาชนในการ ารงชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๖. อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

    ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต าบลสุขไพบูลย์ ประกอบด้วย

    1. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน 1.1 แนวทางการพัฒนาก่อสร้างและปรับปรุง บ ารุงถนน สะพาน ทางเท้า รา�