645
Thai Politics in the Context of Plutocracy Uraiwan Thanasthit http://eprints.utcc.ac.th/id/eprint/1832 © University of the Thai Chamber of Commerce EPrints UTCC http://eprints.utcc.ac.th/

Welcome to EPrints UTCC - Uraiwan Thanasthiteprints.utcc.ac.th/1832/4/1832fulltext.pdfเสาวน ย อ ศวโรจน ค ณประมวล ร จนเสร ค ณปราโมทย

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  •  

    Thai Politics in the Context of Plutocracy Uraiwan Thanasthit

    http://eprints.utcc.ac.th/id/eprint/1832    

     

     

    © University of the Thai Chamber of Commerce

    EPrints UTCC http://eprints.utcc.ac.th/

  • ค ำน ำ งานวิจยัเร่ือง “การเมืองไทยในระบอบธนาธิปไตย” น้ี ด าเนินการในช่วงเดือนมีนาคม 2549 ถึงเดือนมิถุนายน 2550 อนัเป็นช่วงหวัเล้ียวหวัต่อท่ีส าคญัของการเมืองไทย ซ่ึงครอบคลุมเหตุการณ์ท่ีส าคญัหลายเหตุการณ์ดว้ยกนั อาทิเช่น มีการปฏิรูปการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย อนัมีพระมหากษตัริยท์รงเป็นประมุข เม่ือวนัท่ี 19 กนัยายน 2549 และมาถึงเหตุการณ์ส าคญัท่ีคณะตุลาการรัฐธรรมนูญยบุพรรคการเมืองรวม 4 พรรค เม่ือวนัท่ี 30 พฤษภาคม 2550 ปลายปี 2549-2550 เป็นปีแห่งการร่างรัฐธรรมนูญใหม่ การท าประชาพิจารณ์ และตามมาดว้ยการเลือกตั้งในปลายปี 2550 งานวิจยัน้ีไดรั้บทุนวิจยัจากมหาวิทยาลยัหอการคา้ไทย เป็นงานวิจยัเด่ียวท่ีท าโดยพื้นฐานความเช่ือท่ีว่าปัญหาทุกปัญหาของการเมืองไทยมีทางออกเสมอ งานวิจยัน้ีจะช่วยให้เห็นภาพ “ธนาธิปไตย”ทั้งระบบ ตั้งแต่สาเหตุท่ีท าให้เกิด ผลกระทบ รวมทั้งแนวทางแก้ไข เพื่อจะท าให้ปัญหาน้ีลดลง ความส าเร็จของงานน้ีเกิดข้ึนจากความเมตตาของหลายๆฝ่ายท่ีเก่ียวขอ้ง มหาวิทยาลยัหอการคา้ไทยท่ีกรุณาใหก้ารสนบัสนุนทั้งเงินทุนในการวจิยั และการอนุมติัใหผู้ว้ิจยัลาปฏิบติังานทางวิชาการเป็นเวลา 6 เดือน ท าใหผู้ว้จิยัมีเวลามากเพยีงพอท่ีจะเกบ็ขอ้มูลเพื่อน าไปวิเคราะห์ต่อไป รวมถึงหน่วยงานส าคญัหลายหน่วยงานท่ีใหค้วามอุปการะเร่ืองขอ้มูล งานวิจยัเร่ืองน้ีค่อนขา้งยาวเพราะมีวตัถุประสงค์ท่ีจะครอบคลุมเหตุการณ์ทั้ งหมดเพื่อช้ีให้เห็นถึงปัญหาว่าเพราะเหตุใดธนาธิปไตยจึงเกิดข้ึนได ้จึงมีตาราง แผนภาพ และแผนภูมิเป็นจ านวนมากเพื่อเสนอองคค์วามรู้ และกรอบในการวิเคราะห์เร่ืองต่างๆของธนาธิปไตยอย่างเป็นระบบ ผูว้ิจยัหวงัว่างานวิจยัเร่ืองน้ีจะเป็นประโยชน์แก่วงการวิชาการ และผูส้นใจเร่ืองการเมืองไทยไม่มากกน็อ้ย

  • กติติกรรมประกำศ งานวิจยัเร่ืองน้ีส าเร็จลุล่วงไดโ้ดยอาศยัผลงานของผูท่ี้ผลิตเอกสารตามท่ีอา้งไวใ้นเชิงอรรถและบรรณานุกรมแลว้ ผูว้ิจยัตอ้งขอขอบพระคุณผูท่ี้มีส่วนช่วยเหลือในรูปแบบต่างๆในวาระต่างๆโดยยอ่ดงัน้ี อธิการบดีมหาวิทยาลยัหอการคา้ไทย รองศาสตราจารย ์ดร.จีรเดช อู่สวสัด์ิ ท่ีเห็นความส าคญัของการวิจยั โดยตั้งงบประมาณทุนวิจยัไวสู้งมากในแต่ละปีการศึกษาและเอ้ือเฟ้ือทุนน้ีใหก้บัอาจารย์ทุกคนของมหาวิทยาลยัเป็นอยา่งดียิง่ งานวจิยัน้ีมีความยาวมากถึง 610 หนา้ ถา้เปรียบเสมือนปลูกบา้นกจ็ะเป็นบา้นหลงัใหญ่ ดงันั้นโครงสร้างของบา้นจึงเป็นส่ิงส าคญั ผูว้ิจยัไดรั้บความกรุณาจากผูท้รงคุณวฒิุ 3 ท่านท่ีกรุณาอ่านและแกไ้ขโครงการวิจยั วจิารณ์ และใหข้อ้คิดท่ีเป็นประโยชน์มาก รวมทั้งอ่านงานวจิยัฉบบัสมบูรณ์และช่วยแกไ้ขในประเดน็ท่ีส าคญั คือ ศาสตราจารยเ์กริกเกียรติ พิพฒันเ์สรีธรรม ศาสตราจารย ์ ดร.ลิขิต ธีรเวคิน และศาสตราจารย ์ ดร.จิรโชค วีระสัย ทั้งสามท่านเปรียบเสมือนอาจารยท่ี์ปรึกษาผูมี้พระคุณ ซ่ึงถึงแมใ้นบางคร้ัง ผูว้ิจยัจะโทรศพัทร์บกวน แต่ทุกท่านก็มีเมตตา ตอบค าถามใหท้างสวา่งมาทุกคร้ัง ผูท้รงคุณวฒิุท่ีเสียสละเวลาใหส้มัภาษณ์ดว้ยอธัยาศยัไมตรีอนัดียิง่ คือ ศาสตราจารย ์ ดร.ลิขิต ธีรเวคิน ศาสตราจารย ์ ดร. เสาวนีย ์ อศัวโรจน์ คุณประมวล รุจนเสรี คุณปราโมทย ์ โชติมงคล ศาสตราจารยเ์สน่ห์ จามริก คุณคณิน บุญสุวรรณ นายแพทยก์ระแส ชนะวงศ ์ ดร.วนัชยั ฉิมฉวี คุณวสันต ์วรรณวโรทร ดร.ปราโมทย ์นาครทรรพ ดร.อาชว ์ เตาลานนท ์ รองศาสตราจารย ์ดร.โกวิทย ์พวงงาม คุณยวุรัตน์ กมลเวชช พลเอกดร.จารุภทัร เรืองสุวรรณ รองศาสตราจารยน์รนิติ เศรษฐบุตร คุณสุวิมล ภูมิสิงหราช คุณ ดาวลัย ์จนัทรหสัดี และดร.คเณส ฉมารักษก์ลุ ทั้ง 18 ท่านน้ีกรุณาให้ความคิดเห็นท่ีดีมากรวมทั้งใหข้อ้มูลส าคญัมากมายจนท าใหง้านวจิยัช้ินน้ีมีคุณค่าข้ึนมาก ผูว้ิจยัไดรั้บความอนุเคราะห์เร่ืองขอ้มูลและเอกสารจากหลายท่าน เช่น จากคุณสุวิมล ภูมิสิงหราช เลขาธิการวฒิุสภา คุณศิระชยั โชติรัตน์ ผูอ้ านวยการส านกัข่าวกรองแห่งชาติ ดร.อุทิศ ขาวเธียร ท่ีปรึกษาดา้นนโยบายและแผน ส านกังานคณะกรรมการสภาพฒันาเศรษฐกิจและสงัคมแห่งชาติ พลเอกประเทือง ค าทอง และพนัต ารวจเอก ผดุงศกัด์ิ อุเบกขานนท ์ แห่งส านกังานคณะกรรมการการเลือกตั้ง(กกต.) ผูท่ี้มีส่วนช่วยพิมพง์านอยา่งอุตสาหะมาก คือ คุณรัตนนัท ์ จิรไชยภาส คุณวีริศ จิรไชยภาส และ คุณนีรนาท จุลเนียม เน่ืองจากงานวจิยัเร่ืองน้ี เป็นเร่ืองการเมืองไทยท่ีกล่าวทา้วความจากอดีตมาจนถึงปัจจุบนั และเป็นการเขียนบนพื้นฐานของความจริง ไม่ใช่การซุบซิบนินทา จึงมีช่ือนกัการเมืองหลายๆท่านปรากฏอา้งอิงอยู ่ซ่ึงในบางคร้ังอาจเป็นเร่ืองทางลบแต่กเ็ป็นกรณีศึกษาท่ีเป็นประโยชน์ต่อสาธารณชน จึงเป็นการเขียนภายใตก้รอบของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกัรไทย พทุธศกัราช 2550 มาตรา 50 ท่ีระบุวา่

  • “บุคคลยอ่มมีเสรีภาพในทางวิชาการ การศึกษาอบรม การเรียนการสอน การวิจยัและการเผยแพร่งานวิจยัตามหลกัวิชาการยอ่มไดรั้บความคุม้ครอง ทั้งน้ีเท่าท่ีไม่ขดัต่อหนา้ท่ีของพลเมืองหรือศีลธรรมอนัดีของประชาชน” ดงันั้นจึงมิไดมี้เจตนาจะท าร้าย หรือล่วงละเมิดแต่อยา่งใด เป็นการเขียนโดยผูว้ิจยัตระหนกัถึงจริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการอยูต่ลอดเวลา บุคคลท่ีใหข้อ้มูลหรือสถาบนัท่ีผูว้ิจยัสงักดัอยูไ่ม่มีส่วนรับผดิชอบในจุดอ่อนหรือขอ้ผดิพลาดเก่ียวกบัขอ้มูลและความคิดเห็น ถา้เน้ือความในงานวจิยัส่วนใดไดท้ าใหบุ้คคลท่ีถูกระบุช่ือเสียหาย หรือไม่สบายใจผูว้จิยัตอ้งขออภยัเป็นอยา่งสูงไว ้ณ ท่ีน้ีดว้ย และขอนอ้มรับผดิไวแ้ต่เพยีงผูเ้ดียว

  • โครงการ : การเมืองไทยในระบอบธนาธิปไตย ช่ือผูว้ิจยั : รองศาสตราจารยด์ร.อุไรวรรณ ธนสถิตย ์ปีท่ีท าการวิจยั : 2549-2550

    บทคัดย่อ

    ในยคุปัจจุบนัทุกประเทศในโลกจะอยูภ่ายใตก้ระแสทุนนิยม ระบบเศรษฐกิจทุนนิยมเป็นของคู่กบัระบบประชาธิปไตย ตามทฤษฎีวตัถุนิยมวภิาษวิธีของคาร์ล มาร์กซ์ ส่ิงท่ีท าให้มนุษยมี์ความสุข คือ มีปัจจยัทางเศรษฐกิจดี ร ่ ารวย มีทรัพยส์มบติัมาก ท าใหเ้ร่ิมเขา้สู่ยคุนายทุนมีอ านาจทางการเมือง และเม่ือนานไปจะเขา้ลกัษณะการผกูขาด เม่ือนายทุนหนัมาเล่นการเมืองจึงกลายเป็นวา่โครงสร้างของอ านาจทางธุรกิจกระจุกตวัอยูก่บัโครงสร้างของอ านาจทางการเมือง นกัธุรกิจจึงเขา้มากมุชะตากรรมของบา้นเมืองและการใชเ้งินเป็นปัจจยัในการเขา้สู่อ านาจรัฐและใช้อ านาจหาเงิน การเมืองไทยจึงเป็นประชาธิปไตยแต่เพียงรูปแบบแต่เน้ือแทก้คื็อ ธนาธิปไตยซ่ึงเป็นการเมืองเพื่ออ านาจ ผลประโยชน์ และอภิสิทธ์ิของกลุ่มคนท่ีมีอ านาจในทางการเมือง ธนาธิปไตยเขา้มาในการเมืองไดเ้พราะสองสาเหตุหลกั คือ โครงสร้างประชาธิปไตยไม่เขม้แขง็ สาเหตุรอง คือ มีส่ิงท่ีขาดหายไปจากการเมืองไทยสามประการ คือ วฒันธรรมการเมืองแบบประชาธิปไตย การกระจายอ านาจสู่ทอ้งถ่ินอยา่งมีประสิทธิภาพ และการเมืองภาคประชาชนท่ีเขม้แขง็ ธนาธิปไตยส่งผลในทางรัฐศาสตร์ คือ ท าใหเ้กิดปัญหาใหญ่ทางการเมืองรวม 3 ปัญหา คือ ธุรกิจการเมือง การทุจริตเลือกตั้ง การขาดจริยธรรม ธุรกิจการเมืองก่อใหเ้กิดการคอร์รัปชนัทั้งในลกัษณะผลประโยชน์ทบัซอ้น และการคอร์รัปชนัเชิงบูรณาการในเมกะโปรเจกตต่์างๆ นกัการเมืองส่วนใหญ่จึงร ่ ารวยอยา่งรวดเร็วและเร่ิมยดึติดกบัต าแหน่งทางการเมือง จึงใชเ้งินในการซ้ือเสียงเลือกตั้ง เม่ือชนะการเลือกตั้งแลว้กม็าถอนทุนในภายหลงั การเลือกตั้งคร้ังต่อๆมาจึงมีการซ้ือขายเสียงท่ีรุนแรงข้ึนเร่ือยๆ ปัญหาท่ีตามมา คือ นกัการเมืองท่ีเขา้สภาไปส่วนใหญ่กจ็ะเป็นบุคคลท่ีไม่มีคุณภาพและขาดจริยธรรม การเมืองไทยในปัจจุบนัเป็นระบอบธนาธิปไตยท่ีตอ้งใชเ้งิน แต่ท าอยา่งไรจึงจะสามารถควบคุมใหอ้ยูใ่นกรอบ และตอ้งมีวิธีการในการท าใหร้ะบอบน้ีลดลง การมีมาตรการท่ีมีประสิทธิภาพในการป้องกนัธนาธิปไตย คือ การยดึหลกัเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเดจ็พระเจา้อยูห่วั การแกปั้ญหาในเชิงโครงสร้าง การแกไ้ขปัญหาเศรษฐกิจ และการบ่มเพาะวฒันธรรมการเมืองแบบประชาธิปไตย ทั้งส่ีมาตรการน้ีเป็นกระบวนการท่ีตอ้งท าไปพร้อมกนัหมดเพราะเป็น

  • ความจ าเป็นเร่งด่วนท่ีตอ้งรีบแก ้ มิเช่นนั้นอาจท าลายระบบของสงัคมลงได ้ มาตรการดงักล่าวขา้งตน้จะควบคุมธนาธิปไตยใหอ้ยูใ่นกรอบและจะค่อยๆลดลงอยา่งแน่นอน ค าส าคญั : ธนาธิปไตย

  • Research Title: Thai Politics in the Context of Plutocracy Researcher: Assoc. Prof. Dr. Uraiwan Thanasthit Year: 2006 – 2007

    Abstract Nowadays every country in the world is under Capitalism; the capitalist economy is a necessary part of the Democratic System. According to Karl Marx’s theory of Dialectical Materialism, the factors that make people happy are a good economy, wealth and property. These lead to the rise of the capitalist who seizes power, which in turn can lead to a state of monopoly. When the capitalists enter politics, business power structures become subservient to political power structures. Businessmen took over politics; money is used to acquire state power, and that power is used to obtain more money. Thai politics has adopted the pattern of a “Plutocracy”. Democracy is only in form, not in substance. A Plutocracy is politics for power, interest and extra benefit for the political elites. Plutocracy has become a part of Thai politics because of two main causes: first is that the democratic structure is not strong enough, and secondly there are three missing parts in Thai politics: political culture in the democratic way, the decentralization of power to local provinces, and active people’s politics. Plutocracy cause these following serious problems in Thai politics: business politics, election abuse, and a lack of ethics and morality in politicians. Business politics leads to corruption, especially in the context of conflict of interests and the integrative corruption in many mega projects. That is why politicians become rich very quickly and become entrenched in a position. They use money to buy ballot papers. After their victory they use their power to earn more money. The corruption in election is increasing rapidly and widely day by day. Most of the politicians that walk into the Thai Parliament are lacking of quality and ethics. At present Thailand is under the plutocracy political model, it has become “money politics”. We have to control it within borders and we must find the methods to minimize this undesirable system. Efficient measures to protect Thai politics from plutocracy are to use the principle of Sufficiency Economy erected by King Phumiphol at once, solving the problem of structure in Thai politics, the economic problems and the implementation of a political culture in the democratic way. All four measures above have to be implemented simultaneously. It is imperative that these problems

  • be solved because if left too long it will destroy the whole system of Thai society. Plutocracy must be restricted until it gradually fades out from Thai politics. Keyword: Plutocracy

  • สำรบัญ

    หน้ำ บทที่ 1 บทน ำ 1 1. ความเป็นมาและความส าคญัของปัญหา 1 2. วตัถุประสงคข์องการวิจยั 2 3. วิธีการวิจยั 2 4. สมมติฐานของการวิจยั 4 5. ขอบเขตของการวิจยั 4 6. ขอ้จ ากดัของการวิจยั 6 7. ประโยชน์ท่ีคาดวา่จะไดรั้บ 6 บทที่ 2 อ ำนำจในกำรเมืองไทย 7 1. การเมือง 7 1.1 ส่วนประกอบของการเมือง 8 1.2 การท าความเขา้ใจเก่ียวกบัการเมือง 8 2. อ านาจในการเมืองไทย 11 2.1 ผลประโยชน์ในอ านาจ 11 2.2 อ านาจทางการเมือง 13 บทที่ 3 ปัจจัยทีต้่องพจิำรณำเกีย่วกบักำรเมืองไทย 19 1. ปัจจยัทางดา้นนามธรรม 19 1.1 การขดัเกลาทางการเมือง (Political Socialization) 19 1.1.1 ครอบครัว (Family) 19 1.1.2 โรงเรียน/สถาบนัการศึกษา (School) 20 1.1.3 กลุ่มเพื่อน (Peer Groups) 20 1.1.4 ส่ือมวลชนและวฒันธรรม (Media and Culture) 21 1.1.5 เหตุการณ์ (Events) 21 1.2 การสร้างลกัษณะนิสัยประจ าชาติ (National Character) 22 1.3 อุดมการณ์ (Ideology) 23 1.4 วฒันธรรมทางการเมือง (Political Culture) 24

  • หน้ำ 2. ปัจจยัทางดา้นรูปธรรม 26 2.1 สถาบนัทางการเมืองการปกครอง 26 2.2 ผูน้ าทางการเมือง 28 2.3 การมีส่วนร่วมทางการเมือง 31 3. ปัจจยัทางดา้นสภาพแวดลอ้ม 32 3.1 กระแสโลกาภิวตัน์ 32 3.2 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลย ี 34 บทที่ 4 ระบอบประชำธิปไตยในประเทศไทย 36 1. ความหมายของประชาธิปไตย 36 2. ธนาธิปไตยคืออะไร 38 2.1 ธนาธิปไตยเขา้มาสู่คนไทยไดอ้ยา่งไร 38 2.2 ธนาธิปไตยเขา้มาในการเมืองไทยไดอ้ยา่งไร 45 3. โครงสร้างประชาธิปไตย 54 3.1 รัฐธรรมนูญ 55 3.2 รัฐสภา 80 3.2.1 ประวติัการเมืองไทย 80 3.2.2 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกัรไทย 82 3.2.3 โครงสร้างรัฐสภาไทย 82 3.3 พรรคการเมือง 107 3.3.1 ค าจ ากดัความของพรรคการเมือง 107 3.3.2 พรรคการเมืองในทศันะของนกัคิดทางรัฐศาสตร์ 108 3.3.3 ความส าคญัของพรรคการเมืองกบัการปกครอง 109 ระบอบประชาธิปไตย 3.3.4 พรรคการเมืองในทศันะของผูน้ าไทย 111 3.3.5 ปัญหาของพรรคการเมืองไทย 112 3.4 รัฐบาล 3.4.1 นายกทกัษิณฯ กบันโยบายประชานิยม 136 3.4.2 ระบอบทกัษิณ (Thaksinomics) 154

  • หน้ำ 3.4.3 ท าไมคนไทยจึงกลวั พ.ต.ท. ทกัษิณ ชินวตัร 160 3.4.4 พ.ต.ท. ทกัษิณ ชินวตัร : รัฐบุรุษหรือนกัธุรกิจการเมือง 189 บทที่ 5 ลกัษณะส ำคญัทำงกำรเมืองไทยสำมประกำรที่ขำดหำยไปจำกระบบ 206 1. วฒันธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตย 206 1.1 ระบบเจา้ขนุมลูนาย 207 1.2 ระบบราชการ 210 1.3 ระบบความสมัพนัธ์เชิงอุปถมัภ ์ 213 2. การกระจายอ านาจสู่ทอ้งถ่ินอยา่งมีประสิทธิภาพ 231 2.1 หลกัการปกครองส่วนทอ้งถ่ิน 231 2.2 การปกครองส่วนทอ้งถ่ินในประเทศไทย 234 3. การเมืองภาคประชาชนท่ีเขม้แขง็ 254 3.1 ค านิยามของการเมืองภาคประชาชน 254 3.2 กรณีการคุกคามและละเมิดสิทธิท่ีร้ายแรงต่อภาคประชาสงัคม 255 และผูพ้ิทกัษสิ์ทธิมนุษยชน บทที่ 6 ผลกระทบของธนำธิปไตยต่อกำรเมืองไทย 267 1. ธุรกิจการเมือง 267 1.1 จุดเร่ิมตน้ของธุรกิจการเมืองในประเทศไทย 267 1.2 นกัธุรกิจกบัการเมือง 270 1.3 การเมืองกบัการใชเ้งิน 278 1.3.1 พลเอกชวลิต ยงใจยทุธ 278 1.3.2 พลเอกประมาณ อดิเรกสาร 278 1.3.3 นายบุญชู โรจนเสถียร 279 1.3.4 นายประจวบ ไชยสาส์น 279 1.3.5 ดร. พิจิตต รัตตกลุ 280 1.3.6 นายแพทยก์ระแส ชนะวงษ ์ 281 1.4 ธุรกิจการเมืองก่อใหเ้กิดการคอร์รัปชนั 282 1.4.1 การคอร์รัปชนัในลกัษณะปกติ (Normal Corruption) 283 1.4.2 การคอร์รัปชนัในลกัษณะผลประโยชน์ทบัซอ้น 293 (Conflict of Interest)

  • หน้ำ 1.4.3 การคอร์รัปชนัแบบเบด็เสร็จ (Integrative Corruption) 306 2. การทุจริตเลือกตั้ง 391 2.1 ตวัอยา่งการทุจริตเลือกตั้ง 393 2.2 ปัจจยัท่ีส่งผลใหช้นะการเลือกตั้ง 400 2.2.1 เงินทุน 400 2.2.2 อ านาจรัฐ 405 2.2.3 ฐานท่ีมัน่คงของพรรคการเมือง 407 2.2.4 วฒันธรรมการเมือง 414 2.3 แนวทางแกไ้ขปัญหาการทุจริตเลือกตั้ง 420 2.3.1 การควบคุมโดยประชาชนในทอ้งถ่ิน 420 2.3.2 การก าจดัอิทธิพลของอ านาจรัฐ 421 2.3.3 การจ ากดัจ านวนเงินบริจาคใหก้บัพรรคการเมือง 421 2.3.4 การบงัคบัใชก้ฎหมาย 425 2.3.5 การมีขอ้บงัคบัในการโฆษณาหาเสียงเลือกตั้ง 426 2.3.6 การปรับปรุงกฎหมายบางมาตรา 428 2.3.7 การเขา้ถึงขอ้มูลข่าวสารและความเห็น 431 2.3.8 การรายงานการใชจ่้ายในการเลือกตั้ง 434 2.3.9 การตอ้งรับผดิชอบต่อตวัแทนของตนในการเลือกตั้ง 435 3. การขาดจริยธรรม 439 3.1 จริยธรรมคืออะไร 439 3.1.1 จริยธรรมของนกัการเมือง 439 3.1.2 กรณีศึกษาเร่ืองจริยธรรมของ พ.ต.ท. ทกัษิณ ชินวตัร 441 3.2 การวางกฎเกณฑม์าตรฐานทางการเมืองและจริยธรรมทางการเมืองไทย 451 ตามหลกัการประชาธิปไตย 3.2.1 การไม่คบคา้สมาคมและไม่เคารพหรือยกยอ่งผูท่ี้ขาดจริยธรรม 452 3.2.2 การยกเลิกแนวคิด “อศัวินมา้ขาว” 453 3.2.3 การสร้างนิสัยท่ีเป็นประชาธิปไตย 456

  • บทที ่ 7 มำตรกำรป้องกนัธนำธิปไตย 459 1. การยดึหลกัเศรษฐกิจพอเพียง 459 1.1 ปัญหาเศรษฐกิจเกิดข้ึนไดอ้ยา่งไร 459 1.2 ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 461 1.3 หลกัเศรษฐกิจพอเพียงน ามาใชแ้กไ้ขปัญหาธนาธิปไตยไดอ้ยา่งไร 461 1.3.1 ความพอประมาณ (Moderation) 461 1.3.2 ความมีเหตุผล (Reasonable) 463 1.3.3 การมีภูมิคุม้กนั (Immunity) 464 1.3.4 การรู้เท่าทนัโลก (To be aware of the facts) 464 1.3.5 การมีคุณธรรมและซ่ือสัตยสุ์จริต (Morality and Honesty) 465 1.3.6 ความสมานฉนัท ์(Compromise) 466 2. การแกปั้ญหาในเชิงโครงสร้าง 467 3. การแกไ้ขปัญหาเศรษฐกิจ 500 3.1 แนวความคิดของนกัคิดทางรัฐศาสตร์ 500 3.2 การแกฐ้านะความยากจนของเกษตรกรไทย 503 3.3 การแกไ้ขปัญหาเศรษฐกิจไทย 505 4. การบ่มเพาะวฒันธรรมการเมืองแบบประชาธิปไตย 508 4.1 การศึกษาอบรม 508 4.1.1 การศึกษาอบรมทางการเมือง 508 4.1.2 การศึกษาอบรมทางจริยธรรม 511 4.2 การมีศรัทธาต่อระบบประชาธิปไตย 515 4.3 การมีบุคลิกภาพประชาธิปไตย 521 4.4 การมีพลงัภายนอกสภา 526 บทที่ 8 สรุป อภิปรำยผล และข้อเสนอแนะ 529 1. ผลสรุปจากการวิจยั 529 2. อภิปรายผล 533 3. ขอ้เสนอแนะ 536 3.1 ขอ้เสนอแนะในเชิงมาตรการเพื่อแกไ้ขปัญหา 536 3.2 ขอ้เสนอแนะในการวจิยัคร้ังต่อไป 540 4. ความส่งทา้ย 540 บรรณำนุกรม 544

  • หน้ำ ภำคผนวก ภาคผนวก ก รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกัรไทย (ฉบบัชัว่คราว) 562 พทุธศกัราช 2549 ภาคผนวก ข นโยบายบริหารราชการแผน่ดินของรัฐบาล 574 พลเอกสุรยทุธ์ จุลานนท ์ ภาคผนวก ค คณะรัฐมนตรีของรัฐบาลพลเอกสุรยทุธ์ จุลานนท ์ 583 (ณ วนัท่ี 22 มิถุนายน 2550) ภาคผนวก ง สมาชิกสภานิติบญัญติัแห่งชาติ พทุธศกัราช 2549 586 ภาคผนวก จ สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญและคณะกรรมาธิการยกร่าง 596 รัฐธรรมนูญตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกัรไทย (ฉบบัชัว่คราว) พทุธศกัราช 2549 ภาคผนวก ฉ คณะตุลาการรัฐธรรมนูญ 601 ภาคผนวก ช คณะกรรมการป้องกนัและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ปปช.) 602 ภาคผนวก ซ คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) 603 ภาคผนวก ฌ คณะกรรมการตรวจสอบการกระท าท่ีก่อใหเ้กิดความเสียหาย 604 ต่อรัฐ (คตส.) ภาคผนวก ญ ขอ้มูลพรรคการเมืองท่ีถูกยบุโดยคณะตุลาการรัฐธรรมนูญ 605 (30 พฤษภาคม 2550) ภาคผนวก ฎ รายช่ือ 111 กรรมการบริหารพรรคไทยรักไทยท่ีถูกเพิกถอน 606 สิทธิเลือกตั้ง 5 ปี ภาคผนวก ฐ รายนามผูใ้หส้ัมภาษณ์ 608 ประวตัิผู้วจัิย 610

  • สำรบัญตำรำง ตำรำงที ่ หน้ำ 1 ส านกังานผูต้รวจการแผน่ดินของรัฐสภา:สถิติการด าเนินการเร่ืองร้องเรียน 62 2 แสดงผลการด าเนินการทางวินยั และด าเนินคดีทางอาญา 73 3 การจดัสรรงบประมาณแผน่ดินระหวา่งปี พ.ศ. 2545 – 2548 146 4 งบกลางประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2544 – 2549 148 5 เมด็เงินนอกงบประมาณท่ีหนุนประชานิยม 149 6 การรับเงินปันผลงวดปี 2547 ของตระกลูชินวตัร 177 7 สินทรัพยใ์หเ้ช่าของตระกลูชินวตัร 179 8 มูลค่าทรัพยสิ์นของรัฐมนตรีและกลุ่มนายทุนของพรรคไทยรักไทย 180 9 11 ตระกลู ครม. ท่ีรับเงินปันผลงวดปี 2547 182 10 ยอดเงินบริจาคเขา้พรรคการเมืองท่ีจดทะเบียนกบั กกต. ช่วงระหวา่ง 185 มกราคม 2548 – เมษายน 2549 11 เศรษฐกิจไทยยคุรัฐบาลทกัษิณ ชินวตัร จากปี 2544 – 2548 193 12 หน้ีสินเฉล่ียต่อครัวเรือน 195 13 การชุมนุมของราษฎรและกลุ่มพลงั 197 14 ตระกลูการเมืองท่ีมีท่ีนัง่ในรัฐบาลและสภามากท่ีสุด 229 15 จ านวนองคก์รปกครองส่วนทอ้งถ่ิน 234 16 สถิติเร่ืองร้องเรียนแสดงประเดน็จ าแนกตามหน่วยงานท่ีถูกร้องเรียน 10 อนัดบั 238 ปีงบประมาณ 2548 17 สถิติหน่วยงานท่ีถูกร้องเรียนจ าแนกตามวนัท่ียติุการพจิารณา 240 ประจ าปีงบประมาณ 2549 18 ประเดน็ท่ีถูกร้องเรียน 5 อนัดบัแรก ยติุระหวา่งวนัท่ี 1 ตุลาคม 2548 ถึง 241 30 มิถุนายน 2549 19 พื้นฐานอาชีพของสมาชิกสภาผูแ้ทนราษฎร (ร้อยละ) ปีเลือกตั้ง 2476 – 2526 272 20 จ านวนผูไ้ดรั้บเลือกตั้ง จ าแนกตามภูมิหลงัอาชีพ ปีเลือกตั้ง 2535 - 2539 273 21 จ านวนผูไ้ดรั้บเลือกตั้ง จ าแนกตามภูมิหลงัอาชีพ เม่ือวนัท่ี 6 มกราคม 2544 274 22 จ านวนผูไ้ดรั้บเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแ้ทนราษฎร รวมทั้ง 2 แบบเลือกตั้ง 275 จ าแนกตามอาชีพและเพศ (6 กมุภาพนัธ์ 2548)

  • ตำรำงที ่ หน้ำ 23 ตารางเปรียบเทียบจ านวนและสดัส่วนของผูไ้ดรั้บเลือกตั้ง 276 สมาชิกสภาผูแ้ทนราษฎรระหวา่งปี 2544 และปี 2548 เปรียบเทียบตามอาชีพ 24 ตวัเลขโครงการลงทุนขนาดใหญ่ของรัฐเทียบกบัโครงการลงทุนทั้งหมด 308 ของรัฐบาล (2548) 25 การบริหารเงินทุนงบประมาณ 308 26 การจดัล าดบัความส าคญัของตวัอยา่งโครงการสาขาต่าง ๆ 313 (ถ่วงน ้าหนกัทุกหลกัเกณฑเ์ท่ากนั) 27 ตวัอยา่งจ านวนเคร่ืองตรวจวตัถุระเบิดซีทีเอก็ซ์ 9000 ในประเทศต่าง ๆ 351 28 การคอร์รัปชนัในรูปแบบต่าง ๆ 368 29 การจดัล าดบัประเทศท่ีมีการคอร์รัปชนัในทวีปเอเชียจ านวน 6 ประเทศ 374 (พ.ศ. 2544 – 2549) Numerical Listing 30 การร้องเรียนการทุจริตการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแ้ทนราษฎร 392 ช่วงระหวา่งปี 2543 – 2545 31 ผลการเลือกตั้ง 2 กรกฎาคม 2538 (เรียงจากมากไปหานอ้ย) 399 32 ผูส้มคัรรับเลือกตั้งทัว่ไปเม่ือวนัท่ี 17 พฤศจิกายน 2539 400 จ าแนกตามพรรคและภูมิภาค 33 การใชเ้งินของพรรคการเมืองใหญ่ (5 เดือนก่อนการเลือกตั้ง) 409 34 รายงานยอดรวมเงินบริจาคของพรรคการเมืองระหวา่งวนัท่ี 1 มกราคม ถึง 421 31 ธนัวาคม 2548 35 ขอ้เด่นและขอ้ดอ้ยของ พ.ต.ท. ทกัษิณ ชินวตัร 441

  • สำรบัญแผนภำพ

    แผนภำพที ่ หน้ำ 1 รัฐบาล การเมือง และอ านาจ 9 2 วฏัจกัรแห่งความชัว่ร้ายของการเมือง 120 3 การเปรียบเทียบประเทศเป็นตน้ไม ้ 200 4 ความสมัพนัธ์ระหวา่งกลุ่มราชครูกบับุคคลในการเมืองไทย 221 5 การจดัซ้ือเคร่ืองซีทีเอก็ซ์ 348 6 ค่าใชจ่้ายในการเล่นการเมือง 402 7 วงจรอุบาทวแ์ห่งการเลือกตั้ง 416 8 ความคาดหมายของประชาชน 458 9 วฏัจกัรของประชาธิปไตย 498

  • สำรบัญแผนภูม ิ แผนภูมิที ่ หน้ำ 1 แสดงความเคล่ือนไหวปริมาณคดีของศาลปกครองสูงสุด 70 (ตั้งแต่เปิดท าการถึง 13 กมุภาพนัธ์ 2547) 2 แสดงความเคล่ือนไหวปริมาณคดีของศาลปกครองชั้นตน้ 71 (ตั้งแต่เปิดท าการถึง 13 กมุภาพนัธ์ 2547) 3 สถิติเร่ืองร้องเรียนจ าแนกตามหน่วยงานท่ีถูกร้องเรียน 10 อนัดบั 239 ปีงบประมาณ 2548 4 เส้นทางการแสวงหาผลประโยชน์จากการขายท่ีดิน 328 5 การแสวงหาผลประโยชน์จากนโยบายของรัฐผา่นกระบวนการจดัซ้ือจดัจา้ง : 330 กรณีศึกษาโครงการจดัการน ้าเสียเขตควบคุมมลพิษ จงัหวดัสมุทรปราการ (คลองด่าน)

  • บทที ่1 บทน ำ

    1. ควำมเป็นมำ และควำมส ำคญัของปัญหำ

    ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกัรไทย ฉบบัปีพทุธศกัราช 2540 เม่ือ

    วนัท่ี 11 ตุลาคม 2540 ซ่ึงถือไดว้า่เป็นจุดเร่ิมตน้ของการปฏิรูปการเมืองไทย เหตุท่ีตอ้งมีการปฏิรูปเน่ืองจากสภาพการเมืองไทยท่ีผา่นมาและท่ีเป็นอยูก่่อนปี2540 กระแสสงัคมต่างเห็นวา่นกัการเมืองไดเ้ขา้ไปแสวงหาผลประโยชน์เพื่อตนเองและพรรคพวก โดยปราศจากกลไกท่ีสามารถควบคุมตรวจสอบ และด าเนินการกบัการทุจริตคอร์รัปชนัและประพฤติมิชอบต่างๆได ้ นกัการเมืองต่างมีผลประโยชน์ในทางการเมืองสูงในลกัษณะท่ีเรียกวา่ “ธุรกิจการเมือง” ซ่ึงสร้างผลเสียต่อระบอบประชาธิปไตยของไทย

    หลงัปี 2540 ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญใหม่ มีกฎหมายแม่บทของประเทศท่ีคิดวา่ดีท่ีสุด มีอ านาจรัฐครบเคร่ือง และมีองคก์รอิสระท่ีจะมาใหค้วามเป็นธรรมแก่สงัคมอีกหลายองคก์ร แต่กลบัปรากฏวา่การพฒันาทางการเมืองกลบัไม่ไดเ้ป็นอยา่งท่ีคาดคิดไวก้ลบัมีความลา้หลงัและอ่อนแอมาก แต่ก่อนประเทศไทยมีระบบการเมืองท่ีระบบราชการ ขา้ราชการทั้งทหารและพลเรือนเป็นใหญ่ครอบง าระบบการเมือง และท่ีส าคญัมีบทบาทในกระบวนการตดัสินใจทางการเมือง โดยผูน้ าทางการเมืองมาจากระบบราชการเป็นส่วนใหญ่ และมีฐานอ านาจอยูท่ี่ขา้ราชการ แต่ปัจจุบนัระบบการเมืองเปิดกวา้งใหมี้การแข่งขนัในรูปแบบของประชาธิปไตย กลุ่มนายทุนธุรกิจการเมืองจึงเขา้กมุอ านาจแทนกลุ่มขา้ราชการ ซ่ึงไดส้ะทอ้นภาพการเมืองไทยท่ีเป็นอยูใ่นปัจจุบนัเป็นยคุ ธนาธิปไตย

    ภายใตร้ะบบการเมืองดงักล่าวการเมืองไทยจึงด าเนินไปเหมือนธุรกิจอยา่งหน่ึง คือ มีการลงทุนซ้ืออ านาจทางการเมือง และเม่ือไดอ้ านาจมาแลว้กมี็การแสวงหาผลประโยชน์จากอ านาจในประโยชน์ส่วนตวัและธุรกิจการเมือง ผลท าใหก้ลุ่มนกัธุรกิจนายทุนท่ีหวงัจะมีบทบาทและอ านาจทางการเมืองเร่ิมใชเ้งินสนบัสนุนนกัการเมือง พรรคการเมือง ตลอดจนเร่ิมมีการรวมตวักนัจดัตั้งพรรคการเมืองข้ึนมาเองและเหนืออ่ืนใดเงินไดเ้ร่ิมเขา้มามีบทบาทท่ีส าคญัในทางการเมืองไม่วา่จะในรูปแบบของการเป็นปัจจยัส าคญัในการสยบเสียงคดัคา้นหรือเสียงสนบัสนุนในสภาผูแ้ทนราษฎร

    จากท่ีกล่าวมาขา้งตน้จะเห็นไดว้า่ ระบอบการเมืองการปกครองของไทยกลายเป็นระบอบการเมืองของกลุ่มผลประโยชน์ โดยกลุ่มผลประโยชน์ เพื่อกลุ่มผลประโยชน์ ทุกอยา่งใน

  • 2

    ระบบการเมืองลว้นแต่ใชเ้งิน หรือเงินไดเ้ขา้มามีบทบาทในทุกขั้นตอนของกระบวนการ ท าให้การเมืองในระบอบธนาธิปไตยมีปัญหาใหญ่ๆ ท่ีน าไปสู่การเส่ือมศรัทธา และเสียความชอบธรรมของระบบ จากเหตุการณ์ดงักล่าวน าไปสู่ผลเสียท่ีส าคญัอยา่งยิง่ นัน่คือความรู้สึกท่ีขาดความน่าเช่ือถือ ขาดศรัทธาต่อรัฐบาล หรือบุคคลท่ีอยูใ่นอ านาจ ผลท่ีตามมาคือ การสูญเสียความชอบธรรมของรัฐบาลและของนกัการเมือง ซ่ึงส่งผลกระทบใหเ้กิดการเส่ือมศรัทธาต่อระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยท่ีในช่วงน้ีเป็นแต่เพยีงรูปแบบ และท าใหข้าดการสนบัสนุนจากประชาชน และผลจากการเส่ือมศรัทธาของประชาชน ไดน้ ามาซ่ึงการปฏิรูปการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนัมีพระมหากษตัริยท์รงเป็นประมุข เม่ือวนัท่ี 19 กนัยายน 2549 แต่การปฏิรูปการปกครองโดยทหารนั้น ไม่สามารถจดัการบา้นเมืองใหอ้ยูภ่ายใตก้ฎหมายและระเบียบวินยัอยา่งเคร่งครัดเพื่อความสงบสุขของบา้นเมือง อีกทั้งระบอบธนาธิปไตยยงัคงอยูก่บัการเมืองไทยอยา่งเหนียวแน่น ผูว้ิจยัจึงพยายามช้ีใหเ้ห็นวา่ ธนาธิปไตยก่อใหเ้กิดผลร้ายต่อการเมืองไทยมากกวา่ท่ีคาดคิดไว ้ งานวิจยัช้ินน้ีจึงน่าท่ีจะท าใหป้ระชาชนสนใจในปัญหาของการเมืองไทยมากข้ึน และเขา้มาเป็นจกัรกลส าคญัในการร่วมกนัแกไ้ขปัญหาดงักล่าว 2. วตัถุประสงค์ของโครงกำรวจัิย

    1. เพื่อศึกษารัฐธรรมนูญ ระบบพรรคการเมือง ระบบการปกครองทอ้งถ่ิน และการเมือง ภาคประชาชน วา่มีการด าเนินการและวิธีการอยา่งไรในการธ ารงไวซ่ึ้งระบอบประชาธิปไตย

    2. เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ระบบดงักล่าวในขอ้ 1 ท่ีเก่ียวขอ้งกบัการพฒันาการเมืองไทยวา่ มีจุดบกพร่องอยา่งไร

    3. เพื่อแสวงหาหนทางท่ีจะสามารถใชอ้งคาพยพของการเมืองไทยทั้งหมด ใหเ้กิด ประโยชน์สูงสุดในการท าใหร้ะบอบธนาธิปไตยลดลง และท าใหเ้กิดประโยชน์สูงสุดในการพฒันาและสร้างสรรคค์วามเจริญกา้วหนา้ใหก้ารเมืองไทยต่อไป

    3. วธีิกำรวิจัย

    การศึกษาวิจยัในเร่ืองน้ีเป็นงานวิจยัเชิงพรรณนา (Descriptive Research) ขอบเขตของช่วงระยะเวลาท่ีศึกษาเป็นเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนในช่วงระยะเวลาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540 ถึงปัจจุบนั เป็นการศึกษาในเชิงพฤติกรรมทางการเมือง และน าเสนอรายงานแบบพรรณนาวิเคราะห์ โดยศึกษาวิเคราะห์จากแหล่งขอ้มูลดงัต่อไปน้ี

  • 3

    1. ศึกษาวิเคราะห์จากเอกสาร (Documentary Research) เพื่อท าความเขา้ใจ วิเคราะห์ และ ตีความปรากฏการณ์ทางการเมืองไทยท่ีเกิดข้ึน อนัเก่ียวเน่ืองกบัประเด็นท่ีศึกษาซ่ึงเอกสารท่ีใช้ประกอบการศึกษาค้นควา้แบ่งเป็นเอกสารชั้ นต้น (Primary Sources) ได้แก่ รัฐธรรมนูญและพระราชบญัญติัพรรคการเมือง และเอกสารชั้นรอง (Secondary Sources) ไดแ้ก่ เอกสารทางวิชาการของวุฒิสภา ขององคก์รอิสระต่างๆ รายงานประจ าปีของหน่วยงาน เช่น ของส านักงบประมาณ คณะกรรมการการเลือกตั้ง คณะกรรมการตรวจเงินแผน่ดิน ผลงานวิจยั ต ารา หนงัสือ วิทยานิพนธ์ บทความในวารสาร หนังสือพิมพ์ ฯลฯ ซ่ึงเอกสารเหล่าน้ี ท่ีมาของแหล่งขอ้มูลคือ ห้องสมุดมหาวิทยาลยัต่างๆ รัฐสภา ส านักงบประมาณ กระทรวงมหาดไทย สถาบนัพระปกเกลา้ องค์กรอิสระทั้ง 8 องคก์ร เป็นตน้ เป็นการศึกษาคน้ควา้หาความจริงจากขอ้เขียน บทความ ผลงานการวิจัยคน้ควา้ท่ีบุคคลหรือหน่วยงานได้ท าไว ้ซ่ึงผูว้ิจยัต้องตีความและประมวลกันเขา้เพื่อสร้างแนวทางในการแกปั้ญหาการเมืองไทยในระบอบธนาธิปไตยท่ีเป็นอยูใ่นปัจจุบนั

    2. ศึกษาวเิคราะห์จากการสมัภาษณ์แบบเจาะลึก (In Depth Interview) บุคคลท่ีมีส่วน เก่ียวขอ้งโดยตรงกับการเมืองไทย จ านวน 18 คน เป็นการสัมภาษณ์ท่ีไม่ใช้แบบสอบถาม แต่ซกัถามโดยใชดุ้ลยพินิจของผูว้ิจยัในการติดตามประเดน็ต่างๆ ท่ีตอ้งการ

    ขอ้มูลท่ีไดรั้บจากทั้งสองแหล่งนั้น มีทั้งขอ้มูลท่ีเป็นขอ้เท็จจริง (fact) และท่ีเป็น

    ความคิดเห็น (opinion) แต่ผูว้ิจยัพยายามอยา่งท่ีสุดท่ีจะพยายามไม่เอาขอ้มูลท่ีเป็นอคติ (bias) มาลงไว ้ขอ้มูลท่ีใชเ้ป็นขอ้มูลภาษาไทยมากกวา่ขอ้มูลภาษาองักฤษ เพราะผูว้ิจยัเช่ือวา่ ไม่มีใครท่ีจะรู้เร่ืองของการเมืองไทยได้ดี และลึกซ้ึงกว่าคนไทยเอง แต่ก็ได้ใช้ข้อมูลภาษาอังกฤษจากแหล่งต่างประเทศประกอบด้วย เพราะตอ้งการทราบว่า นักวิชาการ และส่ือมวลชนต่างชาติมองการเมืองไทยในลกัษณะใด และมีเหตุผลอยา่งไร รวมทั้งการพินิจพิจารณาระบอบการเมืองการปกครองของต่างประเทศดว้ยว่า มีปัญหาเร่ืองธนาธิปไตยเหมือนประเทศไทยหรือไม่ และถา้มี ประเทศนั้นๆ ไดใ้ชว้ิธีการอะไรในการแกไ้ขปัญหาดงักล่าว นอกจากนั้น ผูว้ิจยัก็ไดอิ้งแนวคิด และทฤษฎีของนักวิชาการดา้นรัฐศาสตร์ทั้งของไทย และต่างประเทศ แต่ตามท่ีทราบกนัเป็นอย่างดีแลว้ว่า ไม่มีทฤษฎีใดท่ีเป็นสากลท่ีใชไ้ดก้บัทุกเร่ือง จึงตอ้งใชห้ลายทฤษฎีกบัเร่ืองท่ีแตกต่างกนักบัภาวะการณ์ท่ีแตกต่างกนั และไม่มีแนวคิดใดท่ีจะใหเ้ป็นท่ียอมรับของทุกฝ่าย

    เม่ือไดร้ายละเอียดต่างๆ โดยครบถว้นทั้งจากเอกสาร และการสัมภาษณ์เชิงลึกแลว้ ก็ไดท้ าการศึกษาวิเคราะห์เร่ืองท่ีเกิดข้ึน โดยรวมประมวลเขา้ดว้ยกนั เพื่อน ามาสร้างเป็นขอ้สรุปทัว่ไปเพื่ออธิบายปรากฏการณ์ตามความเช่ือของผูว้ิจยั งานวิจยัช้ินน้ีมีตาราง และสถิติมาก เพื่อเป็นหลกัฐานประกอบขอ้เทจ็จริง และเพื่อใหเ้ป็นประโยชน์ต่อการคน้ควา้ขอ้มูลของนิสิตนกัศึกษา และ

  • 4

    ผูส้นใจทางการเมืองทัว่ไป ส่วนค าแปลของศพัท์วิชาการต่างๆ นั้น ยึดถือตามค าแปลของศพัท์รัฐศาสตร์ ฉบบัราชบณัฑิตยสถาน พ.ศ. 2548

    4. สมมติฐำนของกำรวจิัย

    ธนาธิปไตย คือ ระบบการเมืองการปกครองท่ีอ านาจรัฐตกอยูใ่นมือของกลุ่มคนมีเงิน และกลุ่มน้ีก็ใชเ้งินเป็นปัจจยัในการเขา้สู่อ านาจรัฐ และใชอ้ านาจหาเงิน การเมืองไทยจึงเป็นประชาธิปไตยแต่เพียงรูปแบบ แต่เน้ือแท้ ก็ คือ ธนาธิปไตย ซ่ึงเป็นการเมืองเพื่ ออ านาจ ผลประโยชน์ และอภิสิทธ์ิ ของกลุ่มคนท่ีมีอ านาจการเมือง แต่ในปัจจุบนั เน่ืองจากประเทศไทยอยู่ภายใตก้ระแสทุนนิยม จึงไม่สามารถก าจดัธนาธิปไตยใหห้มดไปได ้แต่สามารถท าใหล้ดลงได ้ส่ิงท่ีประชาชนทุกคนจะร่วมกนัท าได ้คือ ควบคุมให้ธนาธิปไตยอยู่ในกรอบ อยู่ในกติกาของระบอบประชาธิปไตย 5. ขอบเขตของกำรวจิัย

    ในการศึกษาเร่ืองการเมืองไทยในระบอบธนาธิปไตยน้ี จะศึกษาตั้งแต่เร่ิมมีการใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกัรไทย พุทธศกัราช 2540 ซ่ึงมีผลบงัคบัใชต้ั้งแต่วนัท่ี 11 ตุลาคม 2540 จนถึงปัจจุบัน ส่วนเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนก่อนช่วงเวลาท่ีก าหนดไวใ้นการศึกษาน้ี จะขอกล่าวถึงโดยสังเขปเพื่อใหเ้ป็นแนวทางเช่ือมโยงซ่ึงกนัและกนัเท่านั้น ขอบเขตของการวิจยัคร้ังน้ี ครอบคลุมวตัถุประสงคท์ั้ง 3 ประการขา้งตน้ โดยแบ่งออกเป็น 8 บท ในแต่ละบทมีสาระส าคญัดงัต่อไปน้ี

    บทท่ี 1 เป็นการกล่าวถึงความเป็นมา และความส าคญัของปัญหา เพื่อให้ทราบถึงลกัษณะส าคญัของปัญหาในการศึกษาวิจยั วตัถุประสงค์ของการวิจยั วิธีการวิจยั สมมติฐาน ขอบเขตของการวิจยั ขอ้จ ากดัของการวิจยั ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะไดรั้บ

    บทท่ี 2 อ านาจในการเมืองไทย เป็นการท าความเขา้ใจเก่ียวกบัการเมือง ผลประโยชน์ในอ านาจ ความจ าเป็นท่ีผูบ้ริหารตอ้งใช้อ านาจเป็นเคร่ืองมือเพื่อปกครองประเทศ

    บทท่ี 3 ปัจจยัท่ีตอ้งพิจารณาเก่ียวกบัการเมืองไทย ซ่ึงแยกไดเ้ป็น 3 ปัจจยัหลกัๆ คือ ปัจจัยทางด้านนามธรรม ปัจจัยทางด้านรูปธรรม และปัจจัยทางด้านสภาพแวดลอ้ม การช้ีให้เห็นว่า เหตุใดพลงัอ านาจทางเศรษฐกิจจึงเติบใหญ่ มีสถานะ และเร่ิมมีบทบาทส าคญัในทางการเมือง

  • 5

    บทท่ี 4 ระบอบธนาธิปไตยในประเทศไทย แสดงให้เห็นอย่างชดัเจนถึงสาเหตุ และปัจจยัของธนาธิปไตยว่าเกิดข้ึนมาไดอ้ย่างไร เขา้สู่คนไทย และการเมืองไทยได้อย่างไร และช้ีให้เห็นถึงโครงสร้างประชาธิปไตยของไทยท่ีก่อให้เกิดปัญหา ซ่ึงมีส่วนประกอบส าคญั ไดแ้ก่ รัฐธรรมนูญ รัฐสภา พรรคการเมือง และรัฐบาล

    บทท่ี 5 นอกเหนือจากโครงสร้างประชาธิปไตยท่ีไม่แข็งแรงแลว้ ยงัมีอีกหลายส่ิงท่ีขาดหายไปจากการเมืองไทย ท่ีส าคัญได้แก่ ว ัฒนธรรมการเมืองท่ีเป็นประชาธิปไตย ซ่ึงจะมีผลต่อโครงสร้าง และพฤติกรรมทางการเมือง การกระจายอ านาจสู่ท้องถ่ินอย่างไม่มีประสิทธิภาพ และการขาดพลังทางการเมืองภาคประชาชน

    บทท่ี 6 ผลกระทบของธนาธิปไตยต่อการเมืองไทย ธนาธิปไตยส่งผลในทางรัฐศาสตร์ คือ ก่อให้เกิดธุรกิจการเมือง อนัประกอบไปดว้ย การหาผลประโยชน์จากการลงทุนขนาดใหญ่ของภาครัฐ (Mega projects) การฉอ้ราษฎร์บงัหลวง และการมีผลประโยชน์ทับซ้อน นอกจากนั้ นยงัท าให้เกิดการทุจริตเลือกตั้ ง และผลกระทบทางดา้นจริยธรรม การเปรียบเทียบกบัระบอบประชาธิปไตยของประเทศอ่ืนๆ เพื่อช้ีให้เห็นถึงความแตกต่าง และเห็นตวัอย่างท่ีดีอนัน าไปสู่ช่องทางในการป้องกนัท่ีมีประสิทธิภาพ

    บทท่ี 7 มาตรการในการป้องกนัธนาธิปไตย ซ่ีงมีหลายประการดว้ยกนั คือ การยึดหลกัเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเดจ็พระเจา้อยูห่วั การแกไ้ขปัญหาเชิงโครงสร้าง การแกไ้ขปัญหาเศรษฐกิจ และการบ่มเพาะวฒันธรรมการเมืองประชาธิปไตย เพื่อใหส้ังคมเกิดวิถีชีวิตท่ีดี อนัน าไปสู่สังคมประชาธิปไตยท่ีสมบูรณ์แบบในท่ีสุด

    บทท่ี 8 เป็นการสรุป และอภิปรายผลของการวิจยั การน าผลการวิจยั และขอ้คน้พบมาอภิปราย หรืออธิบายเหตุผลประกอบ การเสนอแนะโดยช้ีให้เห็นว่า จะน าผลการวิจยัไปใชใ้หเ้ป็นประโยชน์ต่อการเมืองไทยไดอ้ยา่งไร

    ท่ีกล่าวมาแลว้ เป็นประเด็นค าถามท่ีงานวิจยัเร่ืองน้ีพยายามหาค าตอบ หาวิธีการ

    แกไ้ข และควบคุม บางประเด็นอาจจะมีค าตอบไม่สมบูรณ์ ทั้งน้ี เพราะงานวิจยัน้ี เจาะลึกเฉพาะเร่ืองธนาธิปไตย แต่ไม่ไดล้งไปถึงรายละเอียดของการปฏิรูปการเมือง เพราะนอกเหนือจากปัญหาเร่ืองธนาธิปไตย การเมืองไทยก็ยงัมีปัญหาในเร่ืองอ่ืนๆ อีกมากท่ีสมควรจะท าการศึกษาวิเคราะห์

  • 6

    แยกเป็นแต่ละเร่ืองไป และเป็นรายละเอียดซ่ึงถา้จะน ามากล่าวดว้ย ก็จะเกินขอบเขตของการวิจยัเร่ืองน้ีไป

    6. ข้อจ ำกดัของกำรวิจัย

    การวิจยัน้ีมีขอ้จ ากดัอยูบ่า้ง คือ ผูว้ิจยัไดว้ิเคราะห์จากเอกสาร และจากการสมัภาษณ์บุคคลท่ีเก่ียวขอ้งในแวดวงการเมืองไทย การสัมภาษณ์นกัการเมือง และนกัธุรกิจบางคนอาจจะไม่ไดรั้บความร่วมมือ และอาจปกปิดขอ้มูล จึงท าใหไ้ม่สามารถทราบเหตุผลทางการเมืองในบางเร่ืองบางประเดน็ไดอ้ยา่งสมบูรณ์ทั้งหมด แต่การสมัภาษณ์ อาจสัมภาษณ์จากขา้ราชการ หรือนกัการเมืองท่ีเพิ่งพน้จากต าแหน่งไป ซ่ึงจะท าใหไ้ดข้อ้มลูท่ีตอ้งการ และเป็นขอ้มูลท่ีเกิดจากการปฏิบติัจริง ผูถู้กสัมภาษณ์เม่ือพน้จากภาระหนา้ท่ีความรับผดิชอบ และพนัธนาการทางการเมืองไปแลว้อาจจะมีความสบายใจท่ีจะใหข้อ้มูลโดยเสรีท่ีเป็นประโยชน์ต่อการวิจยั ขอ้มูลจึงมีความสมบูรณ์พอท่ีจะวิเคราะห์ได ้ ประกอบกบัผูว้ิจยัไดพ้ยายามสืบคน้ขอ้มูลจากหลายๆแหล่งเพือ่ตรวจสอบยนืยนั และพยายามใชค้วามระมดัระวงัเก่ียวกบัการวิเคราะห์ ตีความ และการตั้งขอ้สรุปออกมาใหม้ากท่ีสุด 7. ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ

    1. เพื่อน าไปใชป้ระโยชน์ในการพฒันาการเมืองใหบ้รรลุผลตามตอ้งการไดม้ากข้ึน และเพื่อแกไ้ขปรับปรุงเปล่ียนแปลงใหดี้ข้ึน

    2. เพื่อใหส้าธารณชนติดตามประเมินผลการด าเนินงานของนกัการเมืองอยา่งเป็น รูปธรรมมากข้ึน และมีมาตรการหรือกระบวนการท่ีจะสามารถตรวจสอบไดว้า่กิจกรรมทางการเมืองท่ีกระท านั้นเป็นการไดเ้งินมาอยา่งสุจริตหรือไม่ และตอ้งไม่ใชเ้งินเพื่อกิจกรรมทางการเมืองเกินกวา่ท่ีกฎหมายก าหนดไว ้

    3. เพื่อช่วยใหผู้ส้นใจวิชาการทางดา้นรัฐศาสตร์ไดเ้ขา้ใจเก่ียวกบัเร่ืองการเมืองไทย ไดลึ้กซ้ึงมากยิง่ข้ึน และสามารถน าไปใชป้ระโยชน์ในการศึกษาคน้ควา้เก่ียวกบัเร่ืองการเมืองไทยในประเด็นอ่ืนๆ ต่อไป เป็นการขยายกรอบความคิดทางการเมือง และเพิ่มพนูความรู้ใหม้ากข้ึน

  • บทที ่2

    อ ำนำจในกำรเมืองไทย

    1. กำรเมือง การเมืองคืออะไร ไดมี้นกัวิชาการ นกัปรัชญา และนกัการเมืองหลายท่านไดใ้ห้

    ค าอธิบายของค าวา่ “การเมือง” ไวอ้ยา่งกวา้งขวาง อาทิเช่น อริสโตเต้ิล ไดเ้ขียนไวว้า่ “การเมืองยอ่มเก่ียวขอ้งกบัอ านาจ และอ านาจทางการ

    เมืองยอ่มแตกต่างจากอ านาจอ่ืน” นอกจากน้ีนกัวิชาการหลายท่านไดอ้ธิบายไวว้า่ “การเมือง หมายถึง กิจกรรม

    ร่วมกนัของบุคคลท่ีเขา้มาใชอ้ านาจในการปกครองสงัคม” ในขณะท่ีบางท่านกอ็ธิบายไวว้า่ “การเมืองเป็นเร่ืองของผลประโยชน์”

    ดร. อาทิตย ์ อุไรรัตน์ อดีตประธานรัฐสภา และอดีตหวัหนา้พรรคเสรีธรรมได้นิยามไวว้า่ “การเมืองเป็นเร่ืองของชีวิต”

    รองศาสตราจารยว์ิไลวจัส์ กฤษณะภูติ มีความเห็นวา่ “การเมือง เป็นเร่ืองของชีวิตทั้งชายและหญิงท่ีจะตอ้งร่วมกนัก าหนดกฎเกณฑข์องสงัคม เพื่อจดัสรรผลประโยชน์ และทรัพยากรใหค้นกลุ่มต่างๆ ในสงัคมอยา่งเป็นธรรม ทั้งน้ีเพื่อใหบุ้คคลและสงัคมมีการกินดีอยูดี่ มีสุขและมีความปลอดภยัในชีวิต” เจา้คุณพระธรรมโกศาจารย ์(หลวงพอ่พทุธทาสภิกข)ุ ไดอ้ธิบายความหมายของค าวา่ “การเมือง” วา่หมายถึง “การจดั การท าใหค้นท่ีอยูก่นัมากๆ นั้นอยูด่ว้ยกนัดว้ยสันติสุข ดว้ยความสงบสุขอยา่งแทจ้ริง” 1 ส่ิงท่ีเรียกวา่ การเมือง ในความหมายท่ีสั้นท่ีสุด และรัดกมุท่ีสุดในความเห็นของท่าน คือ ระเบียบปฏิบติัในการท่ีจะท าใหค้นอยูก่นัดว้ยความสงบสุข

    อีกนิยามหน่ึงของการเมืองท่ีน่าสนใจคือ การเมือง คือ การแบ่งปันคุณค่าในสงัคมโดยการแบ่งปันนั้นเป็นไปโดยมีการยอมรับทางอ านาจการเมือง จึงเป็นเร่ืองเก่ียวกบัการก าหนดวา่ “ใครจะไดอ้ะไร เม่ือใด อยา่งไร”2

    ค าอธิบายทั้ง 5 ความหมายขา้งตน้น ามาจาก วิไลวจัส์ กฤษณะภติู, “สตรีไทยกบัการเมืองการปกครอง,” ใน เกียรติชยั พงษพ์าณิชย ์ (บรรณาธิการ), คลงัสมองสามสิบสองสิงห์ด า (กรุงเทพฯ : บพิธการพิมพ ์จ ากดั, 2541), หนา้ 617-618.

    1 พทุธทาส, ธรรมะกบัการเมือง (กรุงเทพฯ : เพชรประกาย, 2549), หนา้ 15 และ 36. 2 ชยัอนนัต ์สมุทวณิช, รัฐ พิมพค์ร้ังท่ี 5 (กรุงเทพฯ : ส านกัพิมพแ์ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั,

    2541), หนา้ 4.

    *

    *

    *

  • 8

    1.1 ส่วนประกอบของกำรเมือง

    การศึกษาเร่ืองการเมือง (Politics) คือ การศึกษาความสมัพนัธ์ของมนุษยใ์นแง่ การบงัคบับญัชา และการถกูบงัคบับญัชา การควบคุม และการถูกควบคุม การเป็นผูป้กครอง และการถูกปกครอง ส่ิงดงักล่าวทั้งหมดเก่ียวพนักบัอ านาจหรือ อาจเรียกไดว้า่ อ านาจทางการเมือง ความเก่ียวพนัน้ีเป็นความเก่ียวพนัในแง่ของการไดม้าซ่ึงอ านาจ และการรักษาไวซ่ึ้งอ านาจดงักล่าววา่ ท าอยา่งไรจึงจะไดอ้ านาจน้ีมา และเม่ือไดม้าแลว้จะรักษาไวไ้ดอ้ยา่งไร

    การเมืองมีส่วนประกอบสามประการดว้ยกนั คือ3 1. การเมืองเป็นกิจกรรมท่ีมีจุดสนใจอยูท่ี่การแสวงหาผลประโยชนด์ว้ยการ

    แข่งขนัในระดบับุคคล กลุ่มคนต่อกลุ่มคน และสงัคมต่อสงัคม 2. การเมืองเป็นกิจกรรมซ่ึงเกิดข้ึนในสถานการณ์ท่ีมีการเปล่ียนแปลงและ

    ขาดแคลน 3. การเมืองเป็นกิจกรรมท่ีเก่ียวกบัการแสวงหาผลประโยชน์อนัมีผลสะทอ้น

    ต่อคนหมู่มาก

    1.2 กำรท ำควำมเข้ำใจเกีย่วกบักำรเมือง อริสโตเต้ิลเคยกล่าวไวว้า่ มนุษยทุ์กคนโดยธรรมชาติเป็นสตัวท์างการเมือง (Man by nature is a political animal) และเม่ือมนุษยม์าอยูร่วมกนัในนครรัฐกจ็ าเป็นอยูเ่องท่ีจะตอ้งมีการสร้างกฎ ระเบียบปฏิบติั และตอ้งมีรัฐบาลซ่ึงท าหนา้ท่ีป้องกนัปัญหาความขดัแยง้และความพยายามท่ีจะท าการปกครอง โดยใหมี้ความขดัแยง้นอ้ยท่ีสุด รัฐบาลแห่งรัฐ เป็นศูนยก์ลางของการเมืองและรัฐศาสตร์ สถาบนัต่างๆท่ีมาประกอบกนัข้ึนเป็นรัฐบาลแห่งรัฐ เช่น ฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบญัญติั ฝ่ายตุลาการ องคก์ารการปกครองส่วนทอ้งถ่ิน และสถาบนัของรัฐบาลอยา่งอ่ืนๆ ทั้งหมดลว้นมาเก่ียวขอ้งรวมอยูใ่นเร่ืองการเมือง

    อริสโตเต้ิลเป็นผูร้ะบุวา่ หนทางเดียวท่ีบุคคลจะแสดงศกัยภาพ และปรับปรุง พฒันาคุณภาพชีวิตทางสังคมไดก้็ดว้ยการมีกิจกรรมสัมพนัธ์ร่วมกับผูอ่ื้นในกรอบของรัฐ ทั้งน้ีเพราะรัฐถูกจดัให้มีข้ึนเพื่อแกไ้ขปัญหาความขดัแยง้และวางเป้าหมายซ่ึงสามารถจะส าเร็จลุล่วงไปได ้และส่งเสริมใหทุ้กคนมีชีวิตท่ีดีข้ึน

    3 จิรโชค วีระสัย และคณะ, รัฐศาสตร์ทัว่ไป (กรุงเทพฯ : ส านกัพิมพม์หาวิทยาลยัรามค าแหง,

    2542), หนา้ 20-22.

  • 9

    หนา้ท่ีหลกัจะถูกด าเนินไปโดยรัฐบาล โดยมีองคก์ร สมาคม สถาบนัต่างๆ ทาง การเมือง และกลุ่มผลประโยชน์เคียงคู่ไปดว้ย สถาบนัหลกัคือ พรรคการเมือง พรรคการเมืองเหล่าน้ีกใ็หท้างเลือกใหม่แก่ประชาชนในเร่ืองนโยบายทุกคร้ังท่ีมีการเลือกตั้งคร้ังใหม่ �