ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

Preview:

Citation preview

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)ชาคริต สิทธิเวช

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)

ความหมายและลักษณะของกฎหมาย

ขอบเขตการใช้บังคับกฎหมาย

ประเภทของกฎหมาย

Image courtesy: http://blueprintlsat.com/lsatblog/wp-content/uploads/2016/04/branden-lsat-blog-admissions-intro-1.jpg

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

2

– a law maxim

Ubi societas, ibi iusWherever there is a society, there is law.

ที่ใดมีสังคม ที่นั่นมีกฎหมาย

chacrit.wordpress.com

3

ความหมายและลักษณะของกฎหมาย

รัฐ

กฎหมายตามเนื้อความ

กฎหมายตามแบบพิธี

กฎหมายลายลักษณ์อักษร

Image courtesy: http://blueprintlsat.com/lsatblog/wp-content/uploads/2016/04/branden-lsat-blog-admissions-intro-1.jpg

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

4

รัฐ

Image courtesy: http://blueprintlsat.com/lsatblog/wp-content/uploads/2016/04/branden-lsat-blog-admissions-intro-1.jpg

Image courtesy: http://wwwnc.cdc.gov/travel/images/map-thailand.png

chacrit.wordpress.com

อำนาจอธิปไตย

อาณาเขต

ราษฎร

5

ความหมายและลักษณะของกฎหมาย

รัฐ

กฎหมายตามเนื้อความ

กฎหมายตามแบบพิธี

กฎหมายลายลักษณ์อักษร

Image courtesy: http://blueprintlsat.com/lsatblog/wp-content/uploads/2016/04/branden-lsat-blog-admissions-intro-1.jpg

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

6

กฎหมายตามเนื้อความ

Image courtesy: http://blueprintlsat.com/lsatblog/wp-content/uploads/2016/04/branden-lsat-blog-admissions-intro-1.jpg

chacrit.wordpress.com

ผลร้าย

มนุษย์

ความประพฤติ

รัฐ

ข้อบังคับ

อำนาจอธิปไตย

อาณาเขต

ราษฎร

7

กฎหมายตามแบบพิธี

Image courtesy: http://blueprintlsat.com/lsatblog/wp-content/uploads/2016/04/branden-lsat-blog-admissions-intro-1.jpg

chacrit.wordpress.com

8

อำนาจอธิปไตย

Image courtesy: http://blueprintlsat.com/lsatblog/wp-content/uploads/2016/04/branden-lsat-blog-admissions-intro-1.jpg

อำนาจตุลาการ

อำนาจบริหาร

อำนาจนิติบัญญัติ

chacrit.wordpress.com

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗

“มาตรา ๓ อํานาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุข ทรงใช้อํานาจนั้นทางสภานิติบัญญัติแห่งชาติ คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้”

9

กฎหมายตามแบบพิธี

อำนาจตุลาการ

อำนาจบริหาร

อำนาจนิติบัญญัติ

พระราชบัญญัติ (ม. ๑๔ และ ม. ๑๕)

พระราชกำหนด (ม.๒๑)

พระราชกฤษฎีกา (ม.๒๒)กฎกระทรวงข้อบัญญัติท้องถิ่น

10

chacrit.wordpress.com

พระราชบัญญัติ

ผู้เสนอ:

ผู้พิจารณา:

ผู้ตรา:

การใช้บังคับเป็นกฎหมาย:

คณะรัฐมนตรี, สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร, ราษฎรผู้มีสิทธิเลือกตั้ง

รัฐสภา

พระมหากษัตริย์

ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว

11

chacrit.wordpress.com

พระราชกำหนด

ผู้เสนอ:

ผู้พิจารณา:

ผู้ตรา:

การใช้บังคับเป็นกฎหมาย:

รัฐมนตรีผู้จะรักษาการตามพระราชกำหนดนั้น

คณะรัฐมนตรี

พระมหากษัตริย์

ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว

12

chacrit.wordpress.com

พระราชบัญญัติ V พระราชกำหนด

chacrit.wordpress.com

13

พระราชกฤษฎีกา

ผู้เสนอ:

ผู้พิจารณา:

ผู้ตรา:

การใช้บังคับเป็นกฎหมาย:

รัฐมนตรีผู้จะรักษาการพระราชกฤษฎีกานั้น

รัฐมนตรี

พระมหากษัตริย์

ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว

14

chacrit.wordpress.com

กฎกระทรวง

ผู้เสนอ:

ผู้พิจารณา:

ผู้ตรา:

การใช้บังคับเป็นกฎหมาย:

รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติหรือพระราชกำหนด ที่ให้อำนาจออกกฎกระทรวงนั้น

รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติหรือพระราชกำหนด ที่ให้อำนาจออกกฎกระทรวงนั้น

รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติหรือพระราชกำหนด ที่ให้อำนาจออกกฎกระทรวงนั้น

ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว

15

chacrit.wordpress.com

ข้อบัญญัติท้องถิ่น

เทศบัญญัติ (พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖)

ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร (พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๒๘)

ข้อบัญญัติเมืองพัทยา (พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา พ.ศ. ๒๕๔๒)

ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด (พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. ๒๕๔๐)

ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบล (พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. ๒๕๓๗)

16

chacrit.wordpress.com

กฎหมายลายลักษณ์อักษร

Image courtesy: http://blueprintlsat.com/lsatblog/wp-content/uploads/2016/04/branden-lsat-blog-admissions-intro-1.jpg

chacrit.wordpress.com

17

ขอบเขตการใช้บังคับกฎหมาย

เมื่อใด?

ที่ไหน?

แก่ใคร?

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

18

ประเภทของกฎหมาย

กฎหมายทั่วไปกับกฎหมายพิเศษ

บทหลักกับบทยกเว้น

กฎหมายมหาชนกับกฎหมายเอกชน

กฎหมายภายในกับกฎหมายระหว่างประเทศ

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

19

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)

การใช้กฎหมาย

การตีความกฎหมาย

การอุดช่องว่างแห่งกฎหมาย

การร่างกฎหมาย

Image courtesy: http://blueprintlsat.com/lsatblog/wp-content/uploads/2016/04/branden-lsat-blog-admissions-intro-1.jpg

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

20

– a law maxim

Ubi societas, ibi iusWherever there is a society, there is law.

ที่ใดมีสังคม ที่นั่นมีกฎหมาย

chacrit.wordpress.com

21

การใช้กฎหมาย

หมายถึง การออกกฎหมาย

หมายถึง การนำกฎหมายมาใช้แก่ข้อเท็จจริงเป็นกรณีๆ ไป

Image courtesy: http://blueprintlsat.com/lsatblog/wp-content/uploads/2016/04/branden-lsat-blog-admissions-intro-1.jpg

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

22

๑. การใช้กฎหมาย หมายถึง การออกกฎหมาย

มีกฎหมายแม่บทให้อำนาจออกได้

ขัดกับกฎหมายแม่บทไม่ได้ มิฉะนั้น ใช้บังคับมิได้ (เท่ากับไม่มีกฎหมายนั้นอยู่เลย)

Image courtesy: http://blueprintlsat.com/lsatblog/wp-content/uploads/2016/04/branden-lsat-blog-admissions-intro-1.jpg

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

23

๒. การใช้กฎหมาย หมายถึง การนำกฎหมายมาใช้แก่ข้อเท็จจริงเป็นกรณีๆ ไป

ศาล

เจ้าพนักงาน

ราษฎร

Image courtesy: http://blueprintlsat.com/lsatblog/wp-content/uploads/2016/04/branden-lsat-blog-admissions-intro-1.jpg

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

24

๒. การใช้กฎหมาย หมายถึง การนำกฎหมายมาใช้แก่ข้อเท็จจริงเป็นกรณีๆ ไป: แนวทาง

เรื่องอะไร

มีหลักเกณฑ์ของกฎหมายที่เกี่ยวกับเรื่องนั้นหรือไม่ อย่างไร

ข้อเท็จจริงต้องกับหลักเกณฑ์ของกฎหมายเหล่านั้นหรือไม่ อย่างไร

เกิดผลอย่างไรImage courtesy: http://blueprintlsat.com/lsatblog/wp-content/uploads/2016/04/branden-lsat-blog-admissions-intro-1.jpg

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

25

คำถาม???

Image courtesy: http://blueprintlsat.com/lsatblog/wp-content/uploads/2016/04/branden-lsat-blog-admissions-intro-1.jpg

chacrit.wordpress.com

การตีความกฎหมาย

การค้นคว้าหาความหมายของกฎหมายที่มีถ้อยคำไม่ชัดเจน

เมื่อมีข้อสงสัยในความหมายของกฎหมาย

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

27

การตีความกฎหมาย: หลัก

การตีความตามตัวอักษร

การตีความตามเจตนารมณ์

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

28

การตีความกฎหมาย: การตีความตามตัวอักษร

ภาษาธรรมดา

ภาษาเทคนิคหรือภาษาวิชาการ

นิยามเพื่อให้ถ้อยคำบางคำมีความหมายพิเศษไปกว่าที่เข้าใจกันในภาษาธรรมดา ภาษาเทคนิคหรือภาษาวิชาการ

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

29

การตีความกฎหมาย: การตีความตามเจตนารมณ์

เพื่อทราบความหมายของถ้อยคำในกฎหมายจากเจตนารมณ์หรือความมุ่งหมายของกฎหมายนั้นๆ

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

30

การตีความกฎหมาย: การตีความตามเจตนารมณ์

ทฤษฎี

Subjective Theory (เจตนารมณ์ของผู้ออกกฎหมาย)

Objective Theory (เจตนาของกฎหมายนั้นๆ)

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

31

การตีความกฎหมาย: การตีความตามเจตนารมณ์

วิธีการ

พระราชปรารภ

บันทึกหลักการและเหตุผล

สภาพการณ์ที่เป็นอยู่ก่อนวันใช้บังคับกฎหมายนั้นๆ

ศึกษาเทียบเคียงกฎหมายหลายๆ ฉบับหรือหลายๆ มาตราในเรื่องเดียวกัน

ต้องถือว่ากฎหมายมีความมุ่งหมายในทางที่จะใช้บังคับได้

ต้องถือว่ากฎหมายออกมาเป็นข้อยกเว้นหลักทั่วไป

ต้องถือว่ากฎหมายที่จำกัดหรือตัดสิทธิหรือเสรีภาพของราษฎร ไม่มีความมุ่งหมายจะให้ขยายความออกไป

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

32

การตีความกฎหมาย: กรณีตัวอักษรกับเจตนารมณ์ขัดแย้งกัน

ความมุ่งหมายอันแท้จรง

พิจารณาตัวอักษรกับเจตนารมณ์ประกอบกันไป

เจตนารมณ์เป็นใหญ่กว่าตัวอักษร เพราะเป็นการตีความไปในทางได้ผลสมความมุ่งหมายของกฎหมาย

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

33

การตีความกฎหมาย: ผล

ตรงกับภาษาธรรมดา ภาษาเทคนิคหรือภาษาวิชาการ

กว้างกว่าภาษาธรรมดา ภาษาเทคนิคหรือภาษาวิชาการ

แคบกว่าภาษาธรรมดา ภาษาเทคนิคหรือภาษาวิชาการ

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

34

การตีความกฎหมาย: ผู้ตีความกฎหมาย

ศาล

เจ้าพนักงาน

นักนิติศาสตร์

ราษฎร

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

35

คำถาม???

Image courtesy: http://blueprintlsat.com/lsatblog/wp-content/uploads/2016/04/branden-lsat-blog-admissions-intro-1.jpg

chacrit.wordpress.com

การอุดช่องว่างแห่งกฎหมาย

ช่องว่างแห่งกฎหมาย หมายถึง กรณีที่ไม่มีกฎหมายที่จะนำมาใช้

ผู้ออกกฎหมายบกพร่อง

ผู้ออกกฎหมายไม่ทราบหรือคาดไม่ถึงมาก่อน

ผู้ออกกฎหมายเห็นว่ายังไม่สมควรมีบทบัญญัติที่ตายตัว เพราะยังขาดความชัดเจนแน่นอน

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

37

ช่องว่างแห่งกฎหมาย

ทราบได้ด้วยการตรวจค้นกฎหมาย

ทราบได้จากการตีความกฎหมาย

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

38

การอุดช่องว่างแห่งกฎหมาย

กฎหมายกำหนดไว้

ใช้หลักเกณฑ์ทั่วไป

ในทางอาญา การอุดช่องว่างแห่งกฎหมายจะเป็นไปในทางที่จะลงโทษบุคคลให้หนักขึ้นไม่ได้

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

39

คำถาม???

Image courtesy: http://blueprintlsat.com/lsatblog/wp-content/uploads/2016/04/branden-lsat-blog-admissions-intro-1.jpg

chacrit.wordpress.com

40

การร่างกฎหมาย

นโยบาย

แนวนโยบายแห่งรัฐ

นโยบายของพรรคการเมืองที่เป็นรัฐบาล

หลักการที่รัฐบาลมอบหมาย

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

41

การร่างกฎหมาย: การใช้ถ้อยคำ

ธรรมดา กระทัดรัด

เทคนิค หรือวิชาการ

นิยาม

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

42

การร่างกฎหมาย: แนวทาง

กฎหมายไทย

สภาพของประเทศไทย

กฎหมายต่างประเทศ

การตีความกฎหมาย

ช่องว่างแห่งกฎหมาย

ราษฎร

chacrit.wordpress.com

Image courtesy: http://www.qsleap.com/wp-content/uploads/2015/05/book.png

43

คำถาม???

Image courtesy: http://blueprintlsat.com/lsatblog/wp-content/uploads/2016/04/branden-lsat-blog-admissions-intro-1.jpg

chacrit.wordpress.com

44

เอกสารอ้างอิง

ประสิทธิ์ ปิวาวัฒนพานิช, ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมาย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ ๓ แก้ไขเพิ่มเติม (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๕๙) ๑๖๗-๑๗๕ และ ๑๙๙-๒๐๐.

หยุด แสงอุทัย แก้ไขปรับปรุงโดยสมยศ เชื้อไทย, ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป ฉบับพิมพ์ครั้งที่ ๒๐ (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๕๙) หน้า ๑๑๑-๑๔๔ และ ๑๖๗-๒๑๖.

chacrit.wordpress.com

45

คราวหน้าความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายสิ่งแวดล้อม

chacrit.wordpress.com

46

Recommended