26
ปันสุข »˜¹ÊØ¢ ẋ§»˜¹ ÊÃäÊÌҧ à¾×èͪØÁª¹¹‹ÒÍÂÙฉบับที ่ 07 ตุลาคม 2555

วารสารปันสุข ฉบับที่ 07

Embed Size (px)

DESCRIPTION

แบ่งปันสิ่งดีๆ เพื่อสร้างชุมชนมีสุขทั้ง 4 มิติ

Citation preview

ปันสุข

»˜¹Êآẋ§»˜¹ ÊÃä�ÊÌҧ à¾×èͪØÁª¹¹‹ÒÍÂÙ‹

ฉบบัที ่07 ตุลาคม 2555

ปันสุข

www.punsook.org

»˜¹Êآẋ§»˜¹ ÊÃä�ÊÌҧ à¾×èͪØÁª¹¹‹ÒÍÂÙ‹

จัดท�ำโดย

ส�ำนักสนับสนุนสุขภำวะชุมชน

ส�ำนักงงำนกองทุนสนับสนุนกำรสร้ำงเสริมสุขภำพ

ปันสุข : เลขที่ 3 รำมค�ำแหง 44 ถนนรำมค�ำแหง แขวงหัวหมำก

เขตบำงกะปิ 10240

Email : [email protected]

โทร : 08 1710 0456

facebook > ค้นหา > ปันสุข

กำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้น้ัน เรำอำจไม่ต้องมีอะไรเลย มีคนมำน่ังแล้วมำพูดบรรยำยให้จตำม

จดบ้ำงไม่จดบ้ำง แล้วก็กลับไป เอำไปประยุกต์ใช้บ้ำง หรือไม่น�ำพำซึ่งผลลัพธ์ใดๆ เลย แต่ถ้ำ

เป็นกำรสร้ำงกระบวนกำรเรียนรู้ร่วมกัน ส่ิงแรกเลย คือเรำต้องเตรียมกำร รวมถึงบุคลำกรที่จะ

มำสร้ำงแรงบันดำลใจให้กับคนที่มำเรียนรู้ร่วมกัน

เริ่มต้นเลยคนที่มำนั้น จะต้องรู้ว่ำต�ำบลนั้นๆ เป็นอย่ำงไร ดังนั้นต�ำบลแม่ข่ำยจะต้องส่ง

ข้อมูลไปให้แก่ผู้ที่จะมำร่วมแลกเปล่ียนเรียนรู้ก่อนมำ ซึ่งทำงต�ำบลแม่ข่ำยเองก็ต้องเตรียมกำร

ให้พร้อมเพื่อต้อนรับผู้ที่เข้ำมำขอแลกเปลี่ยนควำมรู้

โดยต�ำบลแม่ข่ำยจะใช้พื้นที่จริงเป็นตัวกระตุ้นในกำรเรียนรู้ร่วมกัน เพรำะฉะนั้นสิ่งส�ำคัญคือ

แม่ข่ำยจะต้องคุยกันให้ชัดเจนก่อนที่เพื่อนจะมำ ว่ำเรำมีหน้ำที่สร้ำงกำรเรียนรู้ร่วมกัน เรำไม่ได้

จัดกำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้เฉยๆ เรียนรู้ร่วมกันหมำยควำมว่ำ เพื่อนเครือข่ำยก็ต้องมีกำรเตรียม

กำร

ชำวบ้ำนทุกคนคือฟันเฟืองที่ส�ำคัญต่อกระบวนกำร ซึ่งพึงอย่ำเพิกเฉยต่อพวกเขำ เพรำะกำร

ลงนำม MOU มิใช่กำรกระท�ำที่ส่งผลต่อคนเพียงบำงกลุ่ม หำกแต่เป็นทุกคนที่อยู่ร่วมกันใน

ชุมชน กำรได้เห็นกระบวนกำรสร้ำงกำรเรียนรู้ร่วมกัน เพื่อร่วมสร้ำงแรงบันดำลใจให้กับผู้มำ

เยือนคือสิ่งที่ชุมชนแม่ข่ำยควรตระหนักรู้ และเห็นเป็นควำมส�ำคัญต่อกระบวนกำรสร้ำงกำร

เรียนรู้ร่วมกัน

ค�ำถำมที่ต้องน�ำไปขบคิดคือ จะท�ำอย่ำงไรให้ผู้มำเยือนรู้สึกอบอุ่น หรือรู้สึกว่ำต�ำบลน้ีน่ำอยู่

กว่ำ เมื่อเทียบกับต�ำบลที่ตนพักพิง ให้เขำตั้งค�ำถำมว่ำ ท�ำไมที่บ้ำนเรำไม่มี พรำะแรงบันดำลใจ

คือสิ่งส�ำคัญ เป็นพลังผลักดันให้เกิดสิ่งดี

โดยสิ่งที่แม่ข่ำยต้องยึดถือเป็นเป้ำหมำยอีกอย่ำงในกำรดึงชุมชนอื่นเข้ำมำเรียนรู้ร่วมกัน คือ

กำรดึงสิ่งใหม่ๆ ออกมำจำกกระบวนกำร ซึ่งควำมคิดใหม่คือดอกผลท่ีกำรันตีกระบวนกำรที่

เรียกว่ำกำรเรียนรู้

นอกจำกนี้ แม่ข่ำยจะต้องรู้ถึงจ�ำนวนแกนน�ำ ตลอดจนทักษะศักยภำพที่มีอยู่ของพวกเขำ

เพรำะเม่ือมีเพื่อนมำเรียนรู้แล้ว4-5 รุ่น ก็จ�ำเป็นต้องมำสรุปกันครั้งหนึ่ง ว่ำแกนน�ำคนนั้นๆ มี

ควำมเข้ำใจเพิ่มขึ้นมำกน้อยเพียงใด ตลอดจนสังเกตกำรณ์ถึงแรงบันดำลใจในตัวพวกเขำ

เพรำะถ้ำไม่ได้สิ่งเหล่ำนี้มำ นั่นบ่งบอกถึงกำรเป็นแม่ข่ำยที่ไม่มีประสิทธิภำพ ต้องกลับมำ

ทบทวนตนเองใหม่ และพยำยำมผลักดันตัวเองขึ้นมำ ผ่ำนกำรเตีรยมตัวและกำรท�ำงำนที่หนัก

ขึ้น เพรำะกำรท�ำหน้ำที่เป็นผู้สร้ำงกำรเรียนรู้ร่วมกันนั้นต้องมีควำมพร้อม เพื่อว่ำจะผลักดัน

ชุมชนที่เป็นลูกข่ำยไปด้วยกัน

สถานี 3

ดวงพร เฮงบุณยพันธ์

ผู้อ�ำนวยกำรส�ำนักสนับสนุนสุขภำวะชุมชน (สน.3)

facebook > ค้นหา > ปันสุข

สารบัญ

ฟ้ืนชพีเรือพาย ฟ้ืนพลงัแห่งความสามคัคี 24

ปฏิญญาชมุชน ขอ้ตกลงร่วมใจ 6 ธนาคารขนุทะเล การเงนิเพ่ือชมุชน 8

ศนูยผ์ลติพนัธุข์า้วชมุชน 10 ปัน่ทกุวนัยกเวน้วนัพระ กบันกัปัน่เกา้เลีย้ว12

ไสเ้ดอืนดนิ หนึง่ตวัชว่ย แกปั้ญหาขยะลน้ 14 ฐานรากท่ีส�าคญั สูอ่นาคตสดใส16

มงัคดุนอกฤดกูาล รางวลัของโกเด็ก18 ตลาดนดัชมุชน “บางปิด” 22

ผา้มดัยอ้ม วิถีโบราณ สูท่างปัจจบุนั 20

ปันสุข

บทบรรณาธิการ

ตลาดนดัชมุชน “บางปิด” 22

เป็นเรื่องที่น่ำยินดี เพรำะเวลำนี้ เริ่มมีชำวชุมชนสุขภำวะรู้จักเรำ

มำกขึ้น และแนวโน้มจำกกำรเก็บสถิติ ก็แลดูสดใส ขอขอบคุณทุกท่ำน

ที่ให้กำรเข้ำมำเยือน ทั้งทำงหน้ำเว็บไซต์ และแฟนเพจของ ‘ปันสุข’

แผนงำนต่อไปของเรำ คือกิจกรรมเพื่อพัฒนำชำวชุมชนสุขภำวะ

ด้ำนทักษะกำรสื่อสำร ไม่ว่ำจะเป็นงำนเขียน หรือแม้กระทั่งกำรถ่ำย

ภำพ ซึ่งจะจัดขึ้นในรูปแบบของกำรประกวด เพื่อให้ชำวชุมชนสุขภำวะ

ได้มีพื้นที่ในกำรแสดงตัวตนของตัวเอง และเพื่อฉำยศักยภำพที่ซ่อนอยู่

ออกมำ

ส�ำหรับกำรอบรมกำรเขียนข่ำวนั้น ทำงเรำยังมีควำมพร้อมให้กำร

สนับสนุนต่อไป ตำมตำรำงกิจกรรมที่เอื้ออ�ำนวย ซึ่งจะบอกกล่ำวให้

ทรำบต่อไป

ส�ำหรับในฉบับนี้ ก็เป็นเรื่องรำวที่น�ำมำสรุปให้เห็นภำพรวมของ

เว็บไซต์ มีเรื่องรำวมำกมำยที่น่ำสนใจ และทำงรำเองก็ได้ร่วมเรียนรู้ไป

พร้อมกับทุกคน ซึ่งในแต่ละวันที่เรำได้รู้มำกขึ้น ก็ยิ่งเหมือนเรำอยู่ใกล้

ชุมชนมำกขึ้น คล้ำยกับว่ำแหล่งเรียนรู้แต่ละแห่งอยู่ไม่ไกลเกินเอื้อมมือ

เลย

นอกจำกนี้ยังมีในส่วนของแกลลอรี่ที่ได้จัดท�ำขึ้นใหม่ เพื่อเป็นช่อง

ทำงในกำรสื่อสำรกับชำวชุมชนสุขภำวะ และจะใช้เป็นสถำนที่ใน

กำรน�ำเสนอผลงำนประกวดด้วย

อดใจรอนะครับ อีกไม่นำนเกินรอ

บรรณำธิกำร

ปันสุข

การบริหารจัดการท้องถิ่นแบบมีส่วนร่วม

ปันสุข

หลักของกำรบริหำรบ้ำนเมืองนั้น แบบไหนดีที่สุด คงเป็นเรื่องที่ตอบยำก ไม่ว่ำจะถำมนักรัฐศำสตร์ท่ำนไหน

ก็คงไม่มีใครมีค�ำตอบส�ำเร็จรูปให้อย่ำงแน่นอน

ต่อปัญหำเรื่องกฎระเบียบ กำรบริหำรงำนรำชกำรต่ำงๆ ชุมชนก็อยำกให้รัฐส่วนกลำงฟังชุมชน รัฐส่วนกลำง

ก็อยำกให้ชุมชนเชื่อฟังตนเอง เป็นปัญหำโลกแตกที่ไม่ว่ำผ่ำนไปกี่ยุคสมัย ก็ยังเถียงไม่จบเสียที

หำกที่ต�ำบลต้นยวน อ�ำเภอพนม จังหวัดสุรำษฎ์ธำนี ที่นี่ท�ำกฎระเบียบต่ำงๆ ให้สอดคล้องกับสุภำษิต

โบรำณที่ว่ำ “ปลูกเรือนตำมใจผู้อยู่”

ณ ศำลำอเนกประสงค์บ้ำนควนใหม่ หมู่ที่ 3 อันเป็นที่ท�ำกำรของศูนย์เรียนรู้กฎระเบียบหมู่บ้ำน ผู้ใหญ่วิสำร

มุกดำ เป็นเสมือนวิทยำกรประจ�ำศูนย์

“ช่วงหนึ่งสมัยหนึ่ง ต้นยวนมีปัญหำต่ำงๆ มำก ทั้งจำกคนภำยในจนภำยนอก เช่น ป่ำไม้ถูกท�ำลำย ปัญหำ

ปฏญิญาชมุชน ขอ้ตกลงร่วมใจ

ปันสุข

ยำเสพติด และแกนน�ำท้องถิ่นคิดว่ำน่ำจะจัดกำรเองได้ โดยไม่

ต้องพึ่งกฎระเบียบส่วนกลำง จึงจัดตั้งคณะกรรมกำรในกำร

ประสำนงำนควำมมั่นคง และออกกฎระเบียบในชุมชน เพื่อแก้ไข

ปัญหำดังกล่ำว ซึ่งผมก็ได้เห็นว่ำ กำรแก้ไขปัญหำโดยชุมชน มี

ข้อดีมำกกว่ำข้อเสีย พอตัวเองได้รับกำรเลือกตั้งให้เข้ำมำเป็น

ผู้ใหญ่บ้ำนหมู่ 3 ก็เลยน�ำแนวคิดนั้นมำสำนต่อ” ผู้ใหญ่วิสำรเปิด

เรื่อง

อันที่จริงเรื่องกำรจัดกำรท้องถิ่นโดยท้องถิ่น จริงๆ แล้ว ไม่ใช่เรื่อง

ใหม่ แต่เมืองไทยถูกยึดอ�ำนำจกำรตัดสินใจไปให้ส่วนกลำงมำ

นำนเสียจนท้องถิ่นเกือบจะลืมวิธีกำรดั้งเดิมของตนเอง

ชำวต้นยวนมีควำมกล้ำหำญ และควำมสำมำรถ ที่ออกกฎ

ระเบียบควบคุมดูแลชุมชน โดยที่ไม่ขัดกฎหมำยในระดับประเทศ

คน บ้ำนเดียวกันขึ้นศำลเสร็จก็ต้องเจอหน้ำกัน เช่นนั้นแล้วคุย

กันเองไม่ดีกว่ำหรือ

“ก่อนที่จะใช้กฎระเบียบหมู่บ้ำน เวลำเกิดข้อพิพำทในหมู่บ้ำน

ส่วนใหญ่ ถ้ำไม่ไปจบที่โรงพักก็ต้องให้ผู้หลักผู้ใหญ่ในชุมชนเข้ำ

มำจัดกำร ทีนี้พอคุยกันไม่จบ ก็ต้องกลำยเป็นคดีควำม ขึ้นโรงขึ้น

ศำล หลักกำรของเรำคือ เรำจะคิดว่ำ คนบ้ำนเดียวกัน ถ้ำขึ้นศำล

เสร็จก็ต้องกลับมำอยู่ที่หมู่บ้ำนเดียวกัน คือไม่อยำกให้หักกันไป

เลย หลังประกำศใช้กฎระเบียบหมู่บ้ำน เวลำใครท�ำผิด เรำก็จะ

พยำยำมไม่ให้ถึงต�ำรวจ พูดคุยกันเองก่อน โดยมีคณะกรรมกำร

หมู่บ้ำนเป็นผู้ตัดสิน ส่วนเรื่องร้ำยแรง เช่น ฆ่ำกันตำย หรือเรื่อง

ยำเสพติดอะไรก็ตำมที่เกินอ�ำนำจ อันนี้ต้องส่งต่อให้ต�ำรวจ หรือ

ส่วนกลำงเป็นคนจัดกำร”ผู้ใหญ่ฯ ขยำยควำม

ผู้ใหญ่ฯ เพิ่มเติมมำอีกอย่ำงว่ำ “อย่ำงไรก็ดี เรำก็ต้องถำมลูกบ้ำน

ทั้งสองฝ่ำยว่ำ จะยอมให้คณะกรรมกำรหมู่บ้ำนเป็นคนตัดสินหรือ

ไม่ ถ้ำมีฝ่ำยหนึ่งฝ่ำยใดไม่ยอม เรำก็ต้องปล่อยไป ที่ผ่ำนมำรู้สึก

จะมีเรื่องที่ดินอยู่สองสำมเรื่อง”

มิใช่แค่เพียงควำมยินยอมพร้อมใจในตอนใช้งำนเท่ำนั้น หำกแต่

ในกระบวนกำรร่ำง ชำวบ้ำนก็มีสิทธิ์ในกำรรับรู้ และเป็นส่วนหนึ่ง

ของกระบวนกำรด้วยเช่นกัน

“ผมจะเป็นคนร่ำงกฎร่วมกับคณะกรรมกำรหมู่บ้ำน ในขั้นตอนก็

จะปรึกษำคนเก่ำคนแก่บ้ำง ปรึกษำผู้ใหญ่บ้ำนคนเก่ำบ้ำง แต่ว่ำ

ร่ำงเสร็จแล้ว จะยังไม่ประกำศใช้เลย ต้องส่งร่ำงให้ชำวบ้ำนอ่ำน

ใครจะแก้ก็จะไปเสนอเวลำประชุมหมู่บ้ำน เวลำจะออกกฎ

ระเบียบอะไรเพิ่มเติม ชำวบ้ำนก็ต้องเห็นพ้องด้วยกัน หรือบำง

ครั้งก็จะมีกำรยกเว้นระเบียบในบำงข้อที่เห็นว่ำ กระทบต่อสิทธิ

ส่วนบุคคลของคนในหมู่บ้ำน” ผู้ใหญ่ฯ เล่ำต่อ

แม้ประชำมติทำงตรงแบบนี้ อำจจะไม่เหมำะในระดับประเทศ แต่

ในระดับหมู่บ้ำน วิธีกำรนี้อำจเป็นอีกแนวทำงให้ประชำชนใน

หมู่บ้ำนได้อยู่ร่วมกันอย่ำงสงบได้

ปฏญิญาชมุชน ขอ้ตกลงร่วมใจ

ปันสุข

การจัดการสวัสดิการสังคมโดยชุมชน

ปันสุข

ธนาคารขุนทะเล การเงินเพือ่ชมุชน

ปันสุข

หำกใครผ่ำนมำ กจ็ะเหน็ว่ำ พนกังำนธนำคำรหมูบ้่ำน หมูท่ี ่10

บ้ำนนำทอน ต�ำบลขนุทะเล อ�ำเภอลำนสกำ จังหวดันครศรธีรรมรำช

นั่งเรียงแถวหน้ำกระดำนให้บริกำรสมำชิกธนำคำรหมู่บ้ำนเอำเงิน

มำฝำก โดยไม่ต้องมีบัตรคิว ไม่มีพนักงำนต้อนรับ ทั้งธนำคำร

แห่งนี้ไม่มีเครื่องปรับอำกำศ

ที่กล่ำวกันว่ำ เงินไม่ใช่ทุกอย่ำงในชีวิต แม้บำงแง่มุมจะเห็น

เป็นจริง แต่อีกหลำยมิติ ถ้ำไม่มีก็คงล�ำบำก ฉะนั้นอย่ำงน้อย ก็

ควรมีสภำพคล่อง

แรกเริ่มกลุ่มแกนน�ำในชุมชนมีแนวคิดในกำรจัดตั้งแหล่งเงิน

ทุนที่เป็นของชุมชนเอง จึงจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์ข้ึนมำ โดยมีกำร

ระดมทุนด้วยกำรฝำกหุ้นแบบสัจจะออมทรัพย์ เพื่อเป็นกองทุน

ระยะแรก ต่อมำมีหน่วยงำนภำครัฐเข้ำมำสนับสนุนเงินทุนบำง

ส่วน ตลอดจนมีกำรพัฒนำอย่ำงต่อเนื่องจนเกิดเป็นสถำบันกำร

เงินของชุมชน มีกิจกรรมกำรออมทรัพย์ เพื่อเป็นสวัสดิกำร ตลอด

จนจัดตั้งกองทุนสวัสดิกำรชุมชนต�ำบล (สัจจะวันละบำท)

กิจกรรมกำรกู้ยืม และกำรจัดสวัสดิกำรให้กับสมำชิก และผู้ด้อย

โอกำสในชุมชน จวบจนถึงปัจจุบัน กลำยมำเป็นสถำบันกำรเงิน

ของชุมชน

“สถำบันกำรเงินท�ำงำนเหมือนธนำคำรท่ัวไป ปรับใช้ในชุมชน

เมื่อในชุมชนมีองค์กรกำรเงิน คนในชุมชนก็สำมำรถพึ่งพำสถำบัน

ทำงกำรเงินในชุมชนได้ เอำเงินมำฝำกในชุมชน เป็นกำรออม

อย่ำงหนึ่ง” สอนไชยำ ไกด์น�ำทำงเล่ำให้ฟัง

สถำบันกำรเงินชุมชนบ้ำนนำทอน ช่วยให้เกิดเงินหมุนเวียน

ในชุมชน สมำชิกท่ีกู้เงินกับสถำบันฯ เมื่อถึงนัดช�ำระ มีหรือไม่มีก็

มำบอกกัน โดยธนำคำรหมู่บ้ำน หมู่ที่ 10 แห่งนี้ ก่อตั้งปี 2542

โดยรวมมีจุดมุ่งหมำยให้เป็นแหล่งเงินทุนในกำรประกอบอำชีพ

หรืออีกนัยหนึ่ง เป็นแหล่งน�้ำใจเพื่อชีวิต

หำกเป็นสมำชกิธนำคำรหมูบ้่ำนจะต้องฝำกเงนิทกุเดอืน ขัน้ต�ำ่

20 บำท ธนำคำรคิดดอกเบี้ยสมำชิกรำยท่ีกู้ร้อยละ 1 บำท 50

สตำงค์ วงเงินกู้ไม่เกิน 2 หมื่นบำท โดยเปิดท�ำกำรในวันเสำร์ด้วย

ซึ่งถ้ำได้มำลองสังเกตกำรณ์จะพบชำวชุมชนเข้ำมำท�ำธุรกรรมกับ

ทำงธนำคำรหมู่บ้ำนไม่ขำดสำย

บุปผำ เชำวลิต พนักงำนอบต.ขุนทะเล เล่ำว่ำ “สภำพคล่องที่

ดี ถือเป็นควำมสุขอย่ำงหนึ่ง เพรำะถ้ำภำยในครอบครัวมีสิ่งนี้ มัน

สำมำรถตอบสนองควำมต้องกำรของสมำชิกในครอบครัวได้อย่ำง

เพียงพอ ซึ่งส�ำคัญมำกต่อกำรด�ำรงชีวิต”

ปันสุข

เกษตรกรรมยั่งยืน

ปันสุข

เริ่มต้นศตวรรษที่ 21 เป็นต้นมำ หลำยภูมิภำคในโลกต้อง

ประสบกับวิกฤติด้ำนอำหำร อันเนื่องมำจำกภัยธรรมชำติท่ีทวี

ควำมรุนแรงเกินจะคำดคิด ภัยแล้ง น�้ำท่วม โรคระบำด อำกำศ

แปรปรวน ล้วนส่งผลต่อกำรผลิตอำหำรทั้งระบบใหญ่และระบบ

ย่อย ขณะที่กำรผลิตลดน้อยลงเพรำะภัยธรรมชำติแต่ควำม

ต้องกำรกลับเพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพำะอย่ำงย่ิง “ข้ำว” อำหำรหลัก

ของมนุษย์ส่วนใหญ่

ทรำบกันดีว่ำ ข้ำวเกือบจะทั้งหมดที่คนบริโภค เป็นข้ำวที่ผลิต

ในระบบเคมีเป็นหลัก ส่วนแนวคิด “เกษตรอินทรีย์” นั้น เป็นกระ

แสที่เกิดขึ้นเพื่อทบทวนและต้ำนทำนกระแสเกษตรเคมี ซ่ึงได้ช่วย

ฟื้นฟูวิถีกำรเกษตรแบบดั้งเดิมให้กลับมำ แม้ปริมำณจะไม่อำจ

เทียบได้กับข้ำวที่ผลิตในระบบเคมี แต่กำรด�ำเนินไปโดยมุ่งขยำย

ในเชิงคุณภำพอย่ำงช้ำๆ ในช่วง 20-30 ปีที่ผ่ำนมำ ก็ได้สร้ำงทำง

เลือกให้แก่อนำคตด้ำนอำหำรของสังคมมนุษย์

ที่จังหวัดยโสธร ชำวนำกลุ่มเล็กๆ ในต�ำบลก�ำแมด อ�ำเภอ

กุดชุม ได้เข้ำร่วมในเครือข่ำยเกษตรอินทรีย์มำนำนกว่ำยี่สิบปี

และร่วมกันท�ำในสิ่งที่พวกเขำเล็งเห็นว่ำ สิ่งนี้ต่ำงหำกคือหนทำง

รอดของชำวนำ สิ่งนี้ต่ำงหำกคือวิถีที่กำรเกษตรควรจะเป็น

ดำวเรือง พืชผล ผู ้ประสำนงำนเครือข่ำยเกษตรกรรมทำง

เลือกยโสธร กล่ำวว่ำ กำรท�ำงำนด้ำนเกษตรอินทรีย์ได้ด�ำเนินกำร

มำกว่ำยี่สิบปีแล้ว งำนหลักที่ด�ำเนินกำรมำตลอดคือกำรขยำย

พื้นที่ กับกำรขยำยแนวคิด เรื่องรองคือกำรจัดกำรผลผลิตและกำร

ขยำยตลำด ส่วนเรื่องที่ทำงกลุ่มถือว่ำเป็นหัวใจของกำรท�ำเกษตร

ยั่งยืนและก�ำลังด�ำเนินกำรคือเรื่องของกำรอนุรักษ์และพัฒนำ

พันธุกรรมพื้นบ้ำน

“ เรื่องเกษตรยั่งยืนมันเป็นเรื่องที่พูดกันมำนำน แต่พอท�ำไป

ท�ำมำก็มีกำรสรุปว่ำ ถ้ำเกษตรกรจะท�ำเกษตรย่ังยืนได้จะพึ่งตัว

เองได้ ถ้ำไม่มีพันธุกรรมของตนเองมันจะใช่หรือไม่ คือคุณจะท�ำ

เกษตรอินทรีย์ จะท�ำเกษตรผสมผสำน แต่เอำพันธุ์มำจำกข้ำง

นอก ซื้อเขำมำ มันจะยั่งยืนมั้ย ก็เป็นประเด็นที่ถกเถียงกันในเครือ

ข่ำยเมื่อสิบกว่ำปีก่อน”

ดำวเรือง เล่ำว่ำ ในช่วงน้ันเริ่มมีกระแสท่ีท�ำให้เกิดแนวคิด

ศูนยผ์ลติพนัธุข์า้วชุมชน วถีิเกษตรย ัง่ยนื’ยโสธร’

ปันสุข

เรื่องกำรอนุรักษ์พันธุกรรมพื้นเมืองอยู่ 2-3 เร่ือง คือ หนึ่ง เรื่อง

ควำมปลอดภัยของพืชตัดต่อพันธุกรรมหรือพืช GMOs สอง กรณี

กำรจดสิทธิบัติชื่อ “ข้ำวหอมมะลิ” โดยบริษัทต่ำงชำติ และสำม

กำรที่ธุรกิจกำรเกษตรที่ค้ำเมล็ดพันธุ์ ได้ขยำยตัวกว้ำงข้ึนเรื่อยๆ

ซึ่งทั้งหมดนี้ เป็นสัญญำณบ่งบอกถึงอันตรำยที่ก�ำลังจะเกิดขึ้น

กับพันธุกรรมพื้นเมือง ทำงกลุ่มจึงได้เร่ิมต้นรวบรวมพันธุ์ข้ำวท่ี

เคยปลูกในพื้นที่ ประกอบกับในช่วงปี 2550-2551 ได้มีกำร

สนับสนุนจำก สกว.ให้ท�ำกำรวิจัยในท้องถ่ิน จึงได้มีกำรด�ำเนิน

กำรค้นคว้ำในเรื่องพันธุ์ข้ำวพื้นเมือง จนกระทั่งได้ทรำบว่ำ ใน

อดีต ชุมชนแถบนี้เคยมีกำรปลูกข้ำวพื้นเมืองถึง 62 สำยพันธุ์

และยังมีกำรศึกษำลงลึกว่ำ แต่ละท้องถิ่น ปลูกข้ำวแตกต่ำงกัน

ออกไป ซึ่งควำมแตกต่ำงนี้ มีควำมสัมพันธ์อย่ำงลึกซึ้งกับระบบ

นิเวศน์

พร้อมๆ ไปกับกำรรวบรวมพันธุ์ข้ำว ทำงกลุ่มได้เริ่มด�ำเนินกำร

พัฒนำพันธุ ์โดยทดลองปลูกในพื้นที่ที่ได้รับบริจำคจ�ำนวน 2

แปลง ซึ่งรำยละเอียดในกำรด�ำเนินกำรนั้น มีควำมซับซ้อน ต้อง

ใช้เวลำ และควำมอดทนมำก เนื่องจำกต้องขยำยพันธุ์ทีละรวง

และท�ำกำรตรวจสอบเป็นเวลำนำนสำมปี จึงจะม่ันใจว่ำเป็นพันธุ์

แท้ นอกจำกนี้ ยังต้องดูศักยภำพของแต่ละพันธุ์ โดยกำรน�ำมำ

ปลูกในพื้นที่เดียวกันเพื่อดูว่ำ พันธ์ไหนจะให้ผลผลิตสูงที่สุด หำก

ได้ผลชัดเจน ก็น�ำไปขยำยพันธุ์ต่อไปได้ ซึ่งตอนนี้ก็บำงตัว ท่ีเริ่ม

ได้รับควำมนิยมในพื้นที่ เช่น ข้ำวเหนียวแดง ซึ่งให้ผลผลิตสูงและ

เมล็ดอ่อนนิ่ม

ดำวเรือง กล่ำวว่ำ จนถึงตอนนี้ ตลำดของข้ำวพันธุ์พื้นเมืองก็

ยังคงแคบมำก ส่วนหนึ่งเพรำะควำมเช่ือม่ันของชำวนำที่เคยชิน

กับกำรปลูกข้ำวมะลิ และข้ำวพันธุ์ กข. และอีกส่วนหนึ่งคือ กรอบ

ข้อก�ำหนดของกรมส่งเสริมกำรเกษตรไม่สนับสนุนกำรผลิตของ

ชำวนำรำยย่อย แนวคิดล่ำสุดของทำงกลุ่มจึงต้องกำรสร้ำง “ศูนย์

ผลิตพันธุ ์ข้ำวชุมชน” เพื่อผลิตพันธุ ์ข้ำวชุมชนจ�ำหน่ำยให้แก่

ชำวนำ ทั้งเพื่อให้พันธุ์พื้นเมืองยังด�ำรงอยู่ต่อไป ทั้งเพื่อร่วมแก้

ปัญหำพันธุ์ข้ำวปลูกขำดแคลน

“ กำรขยำยตลำดเรื่องข้ำวพื้นเมืองก็ยังเป็นเรื่องยำก เพรำะมี

ข้อจ�ำกัดหลำยอย่ำง ตอนนี้เรำก�ำลังขยับไปเป็น ศูนย์ผลิตพันธุ์

ข้ำวชุมชน คือเรำจะท�ำพันธุ์เพื่อจ�ำหน่ำย เมล็ดพันธุ์ข้ำวทุกวันน้ี

มันไม่เพียงพอต่อควำมต้องกำร ทำงกรมส่งเสริมฯ เองก็ยังผลิตได้

ไม่เพียงพอ ที่ผ่ำนมำเรำก็ท�ำ แล้วก็ส่งขำยพันธุ์ที่เขำปลูกทั่วไปคือ

ข้ำวมะลิ ข้ำว กข.6 แต่ถ้ำท�ำแบบนี้ต่อไปมันก็จะมีปัญหำตำม

กฎหมำย เรำจึงต้องมำท�ำเรื่องศูนย์ผลิตพันธุ์ข้ำวชุมชนเพื่อให้มี

กำรรับรองท่ีถูกต้อง ซึ่งท้ังหมดน้ีเรำผลิตในระบบอินทรีย์ท้ังหมด

เรำปฏิเสธสำรเคมีร้อยเปอร์เซ็นต์ แต่สิ่งที่ต้องเตรียมกำรต่อไปคือ

เรื่องมำตรฐำนในกำรประเมินข้ำวพื้นเมืองแต่ละพันธุ์ของกรม

กำรข้ำว แล้วก็เรื่องกำรจัดกำรทำงธุรกิจที่มีควำมเสี่ยงอยู่เหมือน

กัน”

ดำวเรือง มองว ่ำ สถำนกำรณ์ป ัจจุบัน สภำพอำกำศ

เปล่ียนแปลงไปมำก เขำสังเกตว่ำ ในพื้นท่ีเองก็มีฝนตกน้อยลง

สำมปีติดต่อกันมำแล้ว ท้ังยังเล่ือนไปจนเกือบส้ินสุดฤดูกำลท�ำ

นำ ซึ่งหำกเป็นแบบนี้ต่อไป ข้ำวพันธุ์ที่ปลูกกันอยู่ คือ กข.6 หรือ

ข้ำวมะลิ ซึ่งมีช่วงอำยุเดียว จะเหมำะสมหรือไม่ หำกน�้ำน้อยหรือ

มำกไป ผลผลิตย่อมไม่ได้เท่ำที่ควร ฉะนั้น จึงควรจะมีควำม

หลำกหลำยของพันธุ์ข้ำวเพื่อเป็นทำงเลือกในกำรผลิต เช่น ข้ำว

เบำอำจจะเหมำะกับกำรที่ฝนตกเป็นระยะสั้นๆ มำกกว่ำ หรือ

ข้ำวไร่อำจจะเหมำะกับพื้นที่น�้ำน้อยมำกกว่ำ

อย่ำงไรก็ตำม กำรเก็บพันธุ์ข้ำวไว้เพื่อปลูกเอง หรือท่ีเรียกกัน

ว่ำ “ข้ำวปลูก” เป็นปัญหำส�ำคัญท่ีดำวเรืองเห็นว่ำ น่ำเป็นห่วง

มำก เพรำะทุกวันนี้ ชำวนำเก็บข้ำวปลูกกันน้อยลง และซื้อมำก

ข้ึน วิถีกำรผลิตท่ีเปล่ียนไปน้ีก�ำลังจะท�ำให้ชำวนำสูญส้ินศักดิ์ศรี

และอิสรภำพของตัวเอง

“ชำวนำควรจะฟื้นกำรเก็บพันธุ์ข้ำวไว้ปลูกเอง ชำวนำจึงจะมี

ศักยภำพในกำรผลิต พันธุ์ข้ำว ถือว่ำเป็นหัวใจของชำวนำนะ ถ้ำ

ชำวนำไม่รักษำพันธุ์ข้ำวไว้ปลูกเอง ต้องไปซื้อเขำมำปลูก ชำวนำ

ก็สูญส้ินศักด์ิศรี ไม่มีท่ีเหยียบท่ียืนแล้ว เพรำะถ้ำหำกเขำไม่ขำย

ให้เรำล่ะ เรำจะท�ำยังไง หรือถ้ำเขำบอกว่ำ ถ้ำไม่ได้รำคำน้ีเขำไม่

ขำยล่ะ ชำวนำจะท�ำยังไง ถ้ำมันเกิดเหตุกำรณ์อย่ำงน้ันขึ้นมำ

ชำวนำรำยย่อยก็จะค่อยๆ หมดไป เหลือแต่ชำวนำรำยใหญ่ที่

ลงทุนท�ำนำเยอะๆ ได้ข้ำวเยอะๆ เพื่อส่งขำย ใช่หรือไม่” ผู ้

ประสำนงำนเครือข่ำยเกษตรกรรมทำงเลือกยโสธร ทิ้งค�ำถำมที่

น่ำคิดไว้

ด้วยควำมกล้ำหำญและมุ่งมั่นในสิ่งที่พวกเขำศรัทธำ กำร

ด�ำเนินงำนของกลุ่มชำวนำบ้ำนก�ำแมด อ�ำเภอกุดชุม จังหวัด

ยโสธร ก�ำลังจะกลำยเป็นต้นแบบให้แก่ชุมชนอื่น โดยกำรเป็น

แหล่งเรียนรู้ในโครงกำร “ขับเคล่ือนจังหวัดยโสธรสู่จังหวัดน่ำอยู่

ท่ีสุด” ด้วยกำรสนับสนุนจำกส�ำนักสนับสนุนสุขภำวะชุมชน

ส�ำนักงำนกองทุนสนับสนุนกำรสร้ำงเสริมสุขภำพ

แม้จะเป็นเพียงเสียงท่ีคนส่วนใหญ่ไม่ได้ยิน แต่ชำวนำกลุ่ม

เล็กๆ กลุ่มนี้ ยังยืนหยัดที่จะสร้ำงทำงเลือกและทำงรอดให้แก่กำร

ปลูกข้ำวของสังคมไทย

ปันสุข

การดูแลสุขภาพชุมชน

ปันสุข

สุขภำพเป็นสิ่งส�ำคัญใครๆ ก็รู้ แต่จะมีสักกี่คนที่ตระหนักและ

เอำใจใส่ในกำรดูแลสุขภำพอย่ำงจริงจัง บำงคนกว่ำจะรู้ตัวก็เมื่อ

ย่ำงเข้ำวัยกลำงคน และล่วงเข้ำสู่ปัจฉิมวัยด้วยร่ำงกำยที่อ่อนล้ำ

โรคภัยมำกมำยเข้ำรุมเร้ำ ทั้งเบำหวำน ควำมดัน โรคไต ข้อเข่ำ

เสื่อม ฯลฯ กระทั่งดูเหมือนว่ำ คนในวัยกลำงคนขึ้นไป จะต้องมี

โรคประจ�ำตัวอย่ำงใดอย่ำงหนึ่งจนกลำยเป็นเรื่องปกติไปเสียแล้ว

แต่กำรประเมินว่ำโรคภัยไข้เจ็บและควำมอ่อนล้ำจะต้องเป็น

ของคู่วัยชรำ คงจะใช้ไม่ได้กับบรรดำสมำชิกผู้สูงอำยุแห่ง “ชมรม

ปั่นจักรยำนอ�ำเภอเก้ำเลี้ยว” ซ่ึงเป็นชมรมจักรยำนที่ก่อตั้งโดย

สมำชิกชุมชนและด�ำเนินกำรมำนำนกว่ำ 10 ปี เพรำะสมำชิกผู้สูง

วัยทุกคนในชมรมล้วนมีสุขภำพแข็งแรงอย่ำงน่ำทึ่ง นอกจำกเดิน

เหินคล่องแคล่ว ปฏิบัติภำรกิจกำรงำนได้อย่ำงกระฉับกระเฉงแล้ว

ยังแทบไม่เคยเจ็บป่วยจำกโรคภัยใดๆ ซ่ึงทุกคนยืนยันตรงกันว่ำ

เป็นผลมำจำกกำรปั่นจักรยำนทุกวันติดต่อกันเป็นเวลำนำนหลำย

ปี

“ตีห้ำมำรวมกันที่จุดนัดหมำย พอตีห้ำครึ่งก็เริ่มต้นปั่นไปตำม

เส้นทำง ใครไม่มำก็แล้วแต่ ใครมำก็ปั ่นกันไปเรื่อยๆ ไปข้ำม

สะพำนที่ข้ำมแม่น�้ำปิง สะพำนแรก ปั่นมำที่ต�ำบลเขำดิน แล้วก็

ปั่นข้ำมสะพำนแม่น�้ำปิงสะพำนที่สอง ไปที่ต�ำบลมหำโพธิ แล้วก็

กลับมำที่เดิม ระยะทำงก็ประมำณ 15 กิโลเมตร ใช้เวลำประมำณ

หนึ่งชั่วโมง ยี่สิบนำที ก็จะได้สูดอำกำศบริสุทธิ์ ได้ออกก�ำลังกำย

ทุกวัน ยกเว้นวันพระ เพรำะต้องไปท�ำบุญท่ีวัดกัน” สง่ำ ภู่พันธุ์

ประธำนชมรมฯ วัยเจ็บสิบกว่ำปีกล่ำว

“ชมรมเรำก่อตั้งเมื่อประมำณปี 2545 โดยนำยประเสริฐ ศักดิ์

ดี รวบรวมสมำชิกมำได้จ�ำนวนหนึ่ง ซึ่งส่วนใหญ่มีโรคประจ�ำตัว

ไม่ค่อยแข็งแรง มีโรคภัยไข้เจ็บเยอะ เรำก็เลยมำรวมกลุ่มปั่น

จักรยำนกันโดยตั้งใจว่ำ อยำกจะให้ทุกคนมีสุขภำพดี แล้วก็ให้

เกิดควำมรักควำมสำมัคคีของคนในชุมชน เมื่อไปตรวจสุขภำพใน

แต่ละปีก็พบว่ำ โรคเบำหวำน ควำมดัน สำมำรถควบคุมได้

สุขภำพดีขึ้นเป็นล�ำดับ เรำก็ด�ำเนินกำรมำเรื่อยๆ มีกิจกรรม

สม�่ำเสมอโดยเน้นเรื่องจิตอำสำ ร่วมแรงร่วมใจ ช่วยเหลือทรัพย์

กันตำมสมควร เวลำท�ำกิจกรรมเรำเปิดรับทุกเพศทุกวัย จะปั่น

จักรยำนแบบไหนมำร่วมกิจกรรมก็ได้ ตอนนี้เรำก็มีสมำชิก 118

คน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอำยุ แล้วก็ชอบกำรปั่นจักรยำน ชอบที่จะ

มำร่วมกันท�ำกิจกรรมท่ีเป็นประโยชน์ คือมีจิตอำสำน่ะ สมำชิก

เรำจะสุขภำพดีกันทุกคนนะ เพรำะได้ออกก�ำลังกำยทุกวัน”

ด้ำน บุญเพลง ตั้งประเสริฐ สมำชิกชมรมฯ วัย 85 ปี เล่ำว่ำ

ปั่นจักรยำนมำตลอด ไปไหนมำไหนก็จะใช้จักรยำน ทุกวันนี้ก็จะ

ป่ันทุกวนัยกเวน้วนัพระ กบันกัป่ัน “เกา้เลี้ยว”

ปันสุข

ปั่นจักรยำนทุกเช้ำเป็นกำรออกก�ำลัง ที่ผ่ำนมำก็รู้สึกว่ำ ร่ำงกำย

แข็งแรง ไม่ป่วยไข้แต่อย่ำงใด

“ผมจะปั่นจักรยำนทุกเช้ำกับชมรม ปั่นมำตั้งนำนแล้วครับ ไป

ไหนมำไหนผมก็ใช้จักรยำน มีกิจกรรมอะไรก็ไปด้วย ปั่นไปไกลๆ

ไปอ�ำเภอชุมแสง ไปบึงบอระเพ็ด ก็ไปนะ สนุก แล้วสุขภำพเรำก็

แข็งแรงด้วย”

สง่ำ ภู่พันธุ์ ประธำนชมรมจักรยำนฯ ยังกล่ำวว่ำ กิจกรรมของ

ทำงชมรมจะมีอย่ำงสม�่ำเสมอตลอดทั้งปี นอกจำกกำรปั ่น

จักรยำนทุกเช้ำยกเว้นวันพระแล้ว ยังมีกำรปั่นทำงไกล ,กำรไป

ร่วมขบวนรณรงค์ต่ำงๆ ที่ทำงจังหวัดประสำนมำ ,กำรน�ำสิ่งของ

ไปมอบให้ผู้ป่วยติดเตียง,กำรไปร่วมปั่นรับขบวนนักปั่นจักรยำน

ชมรมอื่นๆ ที่มำจำกต่ำงจังหวัด,กำรไปท�ำบุญต่ำงจังหวัด รวมถึง

กำรปั่นจักรยำนร่วมในขบวนเทิดพระเกียรติฯ วันที่ 5 ธันวำคม

และวันที่ 12 สิงหำคม ของทุกปี ซึ่งสมำชิกชมรมหลำยคนเคยมี

โรคประจ�ำตัว แต่เมื่อมำร่วมปั่นจักรยำนเป็นประจ�ำ ท�ำให้สุขภำพ

ดีขึ้นมำก ล่ำสุดทำงกลุ ่มยังได้ริเร่ิมให้มีกำรฝึกร�ำกระบองส่ง

เสริมสุขภำพโดยมีสมำชิกเข้ำร่วมกว่ำ 40 คน

“ทำงชมรมเรำก็มีแนวคิดว่ำ อยำกจะขยำยกลุ่มออกไปเรื่อยๆ

พยำยำมจะชักชวนคนอื่นๆ ทุกเพศทุกวัยให้มำร่วมกิจกรรม ร่วม

ปั่นจักรยำนกัน ทุกวันนี้ก็มีเด็กๆ นักเรียนมำปั่นจักรยำนกันเยอะ

ขึ้นนะ เวลำมีกิจกรรมเขำก็มำเข้ำร่วม แต่ส�ำหรับบำงคนที่เขำไม่

สนใจเลยก็ยังมี อำจจะท�ำมำค้ำขำยอย่ำงเดียว แต่สุขภำพเขำก็

จะไม่ค่อยดีเหมือนเรำ” ประธำนชมรมฯ กล่ำว

ด้ำน กิตติวัฒน์ เลิศพรตสมบัติ นำยกเทศบำลต�ำบลเก้ำเลี้ยว

กล่ำวว่ำ ชมรมจักรยำนผู้สูงอำยุเก้ำเลี้ยว เป็นกลุ่มที่เกิดข้ึนจำก

กำรรวมตัวของชำวบ้ำนและด�ำเนินกิจกรรมอย่ำงต่อเน่ืองและ

เข้มแข็งมำกกว่ำ 10 ปี มีกำรเชื่อมโยงงำนกับส่วนอื่นๆ เช่น จิต

อำสำเยี่ยมเยียนผู้ป่วยติดเตียง ,กำรสร้ำงเสริมสุขภำพด้วยกำร

ออกก�ำลังกำย, กำรใช้งำนและกำรเผยแพร่ควำมรู ้ในกำรใช้

สมุนไพร ฯลฯ จึงนับได้ว่ำ ชมรมจักรยำนฯ เป็นกลุ่มแกนหลักที่

ส�ำคัญยิ่งของต�ำบลเก้ำเลี้ยว ซึ่งทั้งหมดทั้งมวลนี้ เกิดจำกกำรที่

เรำไปส่งเสริมให้ชำวบ้ำนได้มองเห็นศักยภำพและเกิดควำมภำค

ภูมิใจในตนเอง

“เมื่อก่อนชำวบ้ำนเขำจะคำดหวังว่ำ เรำจะเป็นหัวขบวนใน

กำรดูแลพัฒนำ และชำวบ้ำนไม่ต้องมำเกี่ยวข้องอะไร ซึ่งวิธีนี้

ท�ำให้ทุกอย่ำงกลำยเป็นภำระหน้ำท่ีของผู้บริหำรท้ังหมด เรำก็

พยำยำมจะเปลี่ยนแนวคิดนี้ ให้เป็นกำรด�ำเนินกำรโดยชุมชน

เพื่อชุมชน ต้องดึงเอำชำวบ้ำนเข้ำมำมีส่วนร่วมในกำรแก้ปัญหำ

ให้เขำเห็นว่ำ กำรมีส่วนร่วมเป็นพลังในกำรขับเคลื่อนไปด้วยกัน

ผมคิดว่ำอันน้ีเป็นหัวใจส�ำคัญนะ และเมื่อมีกำรเช็คทุน เช็ค

ศักยภำพในพื้นที่ เรำก็จะรู้ว่ำเรำพร้อมแค่ไหน จำกกำรเปิดเวที

ประชำคม พบว่ำมีชำวบ้ำนที่ไม ่ได ้สนใจในกำรมีส ่วนร่วม

ประมำณสำมสิบเปอร์เซ็นต์ แต่ชำวบ้ำนอีกเจ็ดสิบเปอร์เซ็นต์เห็น

ด้วย เรำก็โอเค เพรำะไม่ได้คำดหวังร้อยเปอร์เซ็นต์ แต่เรำคำด

หวังท่ีกำรเรียงร้อยแหล่งเรียนรู้และกำรขับเคล่ือนในอีก 3-4 ปี

ข้ำงหน้ำ ที่จะมีกำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และตลอดเวลำสองปีที่

ด�ำเนินกำรพัฒนำแหล่งเรียนรู้เพื่อจะขึ้นเป็นต�ำบลสุขภำวะ ท�ำให้

ได้เห็นว่ำ ชำวบ้ำนมีกำรเปลี่ยนแปลงมำก มีกำรพัฒนำ มีกำร

เรียนรู้ เมื่อเรำให้คุณค่ำกับเขำ เขำก็เกิดควำมภำคภูมิใจในตัว

เอง”

วันน้ี เทศบำลต�ำบลเก้ำเล้ียวได้ก้ำวข้ึนมำเป็น “ต�ำบลสุข

ภำวะ” เป็นศูนย์เรียนรู้ จำกกำรสนับสนุนของส�ำนักสนับสนุนสุข

ภำวะชุมชน ส�ำนักงำนกองทุนสนับสนุนกำรสร้ำงเสริมสุขภำพ

เป็นกำรยกระดับชุมชนให้เข้มแข็งขึ้นไปอีกระดับหนึ่ง ทั้งยังมุ่งมั่น

ท่ีจะก้ำวสู่ควำมย่ังยืนในอนำคต โดยมีกลุ่มแกนน�ำส�ำคัญคือ

ชมรมจักรยำนผู้สูงอำยุ ซึ่งสมำชิกแต่ละท่ำนแม้จะสูงวัย แต่ยัง

แข็งแรง และยิ้มแย้มแจ่มใส เป็นต้นแบบในกำรดูแลสุขภำพและ

ต้นแบบของจิตอำสำที่ด�ำเนินกำรมำอย่ำงต่อเนื่องยำวนำน

หำกใครได้มำเยือน“เก้ำเล้ียว” จะได้พบกับสมำชิกชมรมฯ

ท่ีมำรวมตัวกันทุกเช้ำ เพื่อปั่นจักรยำนออกก�ำลังเป็นระยะทำง

15 กิโลเมตร ชนิดที่แรงดีไม่มีตก และหนุ่มๆ สำวๆ ที่ไม่ค่อยได้

ออกก�ำลังอำจจะต้องหมดแรง ยอมแพ้ไปก่อน

ขอย�้ำ ว่ำผู้สูงอำยุเหล่ำน้ีปั่นจักรยำนกันวันละ 15 กิโลเมตร

ทุกวัน ยกเว้นแค่ “วันพระ” เท่ำนั้น

ป่ันทุกวนัยกเวน้วนัพระ กบันกัป่ัน “เกา้เลี้ยว”

ปันสุข

จัดการทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม

ปันสุข

ปัญหำขยะล้นเมืองคือปัญหำหลักของชำวเทศบำลต�ำบล

เกำะคำ อ�ำเภอเกำะคำ จังหวัดล�ำปำง และเพื่อจัดกำรกับปัญหำ

ดังกล่ำว จึงได้มีกำรเลี้ยงไส้เดือน วิธีทำงธรรมชำติที่ช่วยจัดกำร

ปัญหำขยะอิทรีย์ของครัวเรือน

แรกเริ่ม ทำงกลุ่มอำสำสมัครบ้ำนผึ้งได้รวมตัวน�ำขยะจำก

บ้ำนตัวเองมำทดลองเลี้ยงไส้เดือน และมีกำรเก็บปุ๋ยจำกไส้เดือน

เพื่อไปจ�ำหน่ำยหำรำยได้น�ำมำพัฒนำขอบเขตกำรเลี้ยงไส้เดือน

ให้เพิ่มมำกขึ้น โดยไม่เน้นเรื่องกำรหำรำยได้ แต่เน้นให้สมำชิกได้

ปฏิบัติจริง

ในต่ำงประเทศนั้น ระยะเริ่มแรกมีกำรวิจัยที่สถำนีทดลอง

โรธำม์ส ประเทศอังกฤษเมื่อปี 1980 ซึ่งขยะอินทรีย์ที่ใช้ไส้เดือน

ดินย่อยสลำยประกอบด้วยมูลสุกร มูลวัว มูลม้ำ มูลกระต่ำย ของ

เสียจำกกำรเลี้ยงไก่ไข่ ไก่กระทง ไก่งวงเป็ด และกำกเหลือทิ้งจำก

อุตสำหกรรมกำรผลิตต่ำงๆ

ต่อมำภำยหลังได้มีกำรวิจัย ใช้ไส้เดือนดินก�ำจัดเศษเหลือทิ้ง

จำกกำรผลิตผักด้วย โดยเฉพำะเศษเหลือทิ้งในอุตสำหกรรมกำร

ผลิตเห็ด อุตสำหกรรมมันฝรั่ง อุตสำหกรรมกำรผลิตเหล้ำและ

เบียร์ และเศษเหลือทิ้งจำกอุตสำหกรรมกำรผลิตกระดำษ

ในระยะเริ่มต้นได้ทดลองในห้องปฏิบัติกำรขนำดเล็ก แต่ต่อ

มำได้พัฒนำและขยำยไปทดลองในระดับพื้นที่ที่ใหญ่ขึ้น เช่นใน

ฟำร์ม และในที่สุดก็พัฒนำระบบต่ำงๆ ให้เหมำะสมส�ำหรับใช้ใน

เชิงพำณิชย์

ขั้นตอนกำรเลี้ยงไส้เดือนของชำวเกำะคำ เริ่มต้นโดยกำร

เตรียมท่ีอยู่ให้ไส้เดือน คือกำรน�ำมูลสัตว์มำผสมกับดินร่วนใน

อัตรำส่วนเท่ำๆ กัน รดน�้ำให้เปียกชุ่ม เพื่อให้มูลสัตว์คลำยควำม

ร้อน ใช้เวลำประมำณ 3-4 สัปดำห์ วัดอุณหภูมิต�่ำกว่ำ 30 องศำ

เซลเซียส จึงสำมำรถเลี้ยงได้

ต่อมำน�ำไส้เดือนลงปล่อยในบ่อเลี้ยงใช้พื้นที่ 1 ตำรำงเมตร

ต่อไส้เดือน 1 กรัม ในกระบวนกำรจัดกำรขยะเหลือทิ้งต่ำงๆ เหล่ำ

นี้ โดยใช้ไส้เดือน มีวัตถุประสงค์ 2 หัวข้อหลัก คือ

1. เพื่อน�ำเศษเหลือใช้ หรือขยะอินทรีย์ทำงกำรเกษตรมำให้

ไส้เดือนดินย่อยสลำย แล้วน�ำผลผลิตจำกกำรย่อยสลำยขยะ

อินทรีย์เหล่ำน้ันมำใช้เป็นปุ๋ยใส่เข้ำไปในพื้นดินท่ีท�ำกำรเกษตร

เพื่อปรับปรุงโครงสร้ำงของดิน และเพิ่มแร่ธำตุอำหำรแก่พืช น�ำ

มำใช้กับ กำรผลิตพืชสวนประดับ เช่น กำรใช้เป็นวัสดุเพำะกล้ำ

ไส้เดือนดิน หนึ่งตัวช่วย แก้ปัญหาขยะล้น

ปันสุข

หรือใช้ผสมกับวัสดุปลูกอ่ืนๆ ส�ำหรับปลูกไม้กระถำงทำงกำรค้ำ

เพื่อลดต้นทุนกำรซื้อปุ๋ยเคมี

2. เพื่อน�ำผลผลิตของตัวไส้เดือนดินที่ขยำยได้จำกขบวนกำร

ก�ำจัดขยะน�ำมำผ่ำนขบวนกำรที่เหมำะสมเพื่อผลิตเป็นอำหำร

โปรตีนสูงส�ำหรับสัตว์ต่ำงๆ เช่น ไก่ ปลำ หมู และสัตว์ชนิดอื่นๆ

เพื่อลดค่ำใช้จ่ำยในกำรซื้อโปรตีนอำหำรสัตว์

ในประเทศที่พัฒนำแล้ว ค่ำใช้จ่ำยในกำรก�ำจัดขยะ และสิ่ง

ปฏิกูลที่เกิดจำกบ้ำนเรือนสูงมำก ประกอบกับนโยบำยด้ำนกำร

พัฒนำรักษำสิ่งแวดล้อมที่เข้มงวด และจิตส�ำนึกในกำรรักษำส่ิง

แวดล้อมของประชำชน ส่งผลให้กำรก�ำจัดขยะอินทรีย์ที่เกิดจำก

ครัวเรือนมีประสิทธิภำพมำก ซึ่งกำรใช้ไส้เดือนดินย่อยสลำยขยะ

อินทรีย์ในครัวเรือนก็เป็นอีกวิธีกำรหนึ่งที่ได้รับควำมนิยมมำก

และสำมำรถลดประมำณขยะอินทรีย์จำกครัวเรือนได้

ภำยในบ้ำนเรือนที่มักมีกิจกรรมต่ำงๆ ที่ก่อให้เกิดขยะอินทรีย์

หลำยชนิด โดยเฉพำะกิจกรรมกำรประกอบอำหำรของครอบครัว

ในแต่ละวัน จะมีขยะอินทรีย์จ�ำพวกเศษผัก เปลือก ผลไม้ หรือ

เศษอำหำรเหลือทิ้งเป็นประจ�ำ ซ่ึงในแต่ละครัวเรือนโดยเฉลี่ย จะ

ทิ้งขยะอินทรีย์ต่ำงๆ เหล่ำนี้อย่ำงน้อยประมำณ 1.5-3 กิโลกรัม

ทุกวัน หำกเป็นชุมชนที่ใหญ่กว่ำนี้ ย่อมมีขยะอินทรีย์ที่มำกกว่ำ

หลำยร้อยเท่ำ

ขยะอินทรีย์เหล่ำนี้จะถูกใส่ถุงขยะแล้วทิ้งทุกวัน โดยรถ

เทศบำลจะมำรับแล้วน�ำไปก�ำจัดต่อไป ขยะที่ทิ้งออกจำกบ้ำน

เรือนเป็นจ�ำนวนมำกก่อให้เกิดมลพิษต่อส่ิงแวดล้อม ก่อให้เกิด

กลิ่นเหม็นเป็นแหล่งสะสม และแหล่งก่อโรค และแพร่กระจำยโรค

โดยแมลงวัน หรือแมลงสำบ รวมท้ังก่อให้เกิดน�้ำเสียในหลำยๆ

พื้นท่ี ซึ่งต้องสูญเสียค่ำใช้จ่ำยในกำรแก้ไขส่ิงแวดล้อมท่ีเป็นพิษ

เหล่ำนี้ปีละหลำยล้ำนบำท

ดังนั้น หำกแต่ละบ้ำนเลี้ยงไส้เดือนภำยในบ้ำน และก�ำจัด

ขยะอินทรีย์ต่ำงๆ เหล่ำน้ี ก็จะสำมำรถลดปริมำณขยะลงได้เป็น

จ�ำนวนมำก ซึ่งสำมำรถเลี้ยงไส้เดือนดินภำยในภำชนะต่ำงๆ เช่น

อ่ำงพลำสติก ลิ้นชักพลำสติกบ่อซีเมนต์ หรือกระถำงต้นไม้ไว้

ภำยในบริเวณบ้ำน หรือภำยในห้องครัว เมื่อประกอบอำหำรและ

มีเศษผักเศษผลไม้ หรือเศษอำหำรเหลือ ก็สำมำรถน�ำไปใส่

ภำยในภำชนะต่ำงๆ ที่เลี้ยงไส้เดือนดินดังกล่ำว ให้ไส้เดือนดิน

ย่อยสลำยกลำยเป็นปุ๋ยต่อไป

โดยสำมำรถใส่เศษขยะอินทรีย์ได้ทุกวัน และเมื่อครบ 30-60

วัน ก็สำมำรถแยกน�ำมูลไส้เดือนดินภำยในภำชนะ หรือน�้ำหมักที่

รองได้ไปใช้ปลูกต้นไม้ในบ้ำนได้ ไส้เดือนที่ขยำยเพิ่มขึ้นก็

สำมำรถน�ำไปใช้เลี้ยงในภำชนะอื่นๆ ต่อไป หรือใช้จ�ำหน่ำยให้บ่อ

ตกปลำ หรือใช้เป็นอำหำรเล้ียงไก่เล้ียงปลำ เพื่อเป็นโปรตีนเสริม

ได้

ป ัจจัยกำรเลี้ยงไส ้ เดือนที่ส� ำคัญคือควำมชื้น 80-90

เปอร์เซ็นต์ อุณหภูมิ 15-30 องศำเซลเซียส ควำมเป็นกรด-ด่ำง

เป็น 7 แหล่งอำหำร และกำรระบำยอำกำศ ควำมมืด รวมถึงกำร

ดูแลเอำใจใส่ ผลที่ได้จำกกำรเลี้ยงไส้เดือน คือ ปุ๋ยมูลไส้เดือน

100 เปอร์เซ็นต์ มีลักษณ์เป็นเม็ดร่วนละเอียด สีด�ำออกน�้ำตำล

โปร่ง เบำ มีควำมพรุน ระบำยน�้ำ และอำกำศได้ดี ส่วนปุ๋ยน�้ำ

หรือฉี่ของไส้เดือนผสมน�้ำ 1 ต่อ 20 ใช้พ่นรดต้นไม้ไม่มีกลิ่นเหม็น

กรรณิกำร์ ขำวละมูล ประธำนกลุ่มเลี้ยงไส้เดือนยอมรับว่ำ

แรกๆ เธอก็กลัวไส้เดือนไม่ต่ำงจำกผู้หญิงทั่วๆ ไป “เลี้ยงไปเรื่อยๆ

เรำก็ชิน เห็นถึงควำมน่ำรัก และประโยชน์ ปุ๋ยที่ได้ก็ดีกว่ำปุ๋ยหมัก

ทั่วไป มีคุณภำพกว่ำ มีจุลินทรีย์เยอะ ฉี่ของมันดีกว่ำอีเอ็มเสียอีก

รำดห้องน�้ำที่เต็มได้ด้วย ร้ำนดอกไม้ก็มำซื้อไส้เดือนไปท�ำเอง”

ในอนำคตเธอคำดหวัง อยำกให้ทุกครัวเรือนสำมำรถเลี้ยง

ไส้เดือนดินเองได้

ไส้เดือนดิน หนึ่งตัวช่วย แก้ปัญหาขยะล้น

ปันสุข

การเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน

ปันสุข

งำนอะไรก็ตำมแต่ หำกผู้คนในชุมชนให้ควำมร่วมมือกัน

ท�ำงำนร่วมกันอย่ำงจริงจัง งำนนั้นย่อมพุ่งตรงไปสู่ควำมส�ำเร็จ

อย่ำงไม่ต้องสงสัย เฉกเช่นที่ศูนย์พัฒนำเด็กเล็กเทศบำลต�ำบล

เขมรำฐ อ�ำเภอเขมรำฐ จังหวัดอุบลรำชธำนี ได้แสดงให้เห็น กำร

ร่วมมือกันเกิดขึ้นได้อย่ำงไร หำกถำมค�ำถำมนี้ ผู้ที่ชี้แจงได้ชัดเจน

ที่สุดคือ นำยกเทศมนตรีต�ำบลเขมรำฐ นำยวชิระ วิเศษชำติ ผู้

ก�ำหนดนโยบำย 4 ปี 3 สร้ำงขึ้น อันก่อให้เกิดกำรพัฒนำโครงกำร

ต่ำงๆ ในชุมชนต�ำบลเขมรำฐขึ้นมำกมำย โดยชุมชนเพื่อชุมชน

ดังที่นำยวชิระ กล่ำวไว้สั้นๆ แต่ได้ใจควำมว่ำ “แนวคิดส�ำคัญของ

นโยบำยนี้คือ กำรสร้ำงคน สร้ำงงำน และสร้ำงเมือง”

นโยบำย 4 ปี 3 สร้ำง น�ำมำสู่กำรท�ำประชำคมร่วมกันระหว่ำง

เทศบำลต�ำบลเขมรำฐ พระสงฆ์ ประชำชน เพื่อร่วมกันสร้ำงสรรค์

โครงกำรต่ำงๆ พัฒนำโครงสร้ำงพื้นฐำนในชุมชน เพื่อท�ำให้ชุมชน

ผู้คนในชุมชน มีสภำพชีวิตควำมเป็นอยู่ที่ดีขึ้น มีควำมสุขในกำร

ใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคม

ด้วยเหตุนี้กำรบริหำรจัดกำรต�ำบลของเทศบำลต�ำบลเขมรำฐ

จึงเป็นกำรด�ำเนินกำรที่มีระบบมีทิศทำง มีเป้ำหมำย และเป็นกำร

ด�ำเนินกิจกำรกิจกรรมที่เป็นที่ต้องกำรของชุมชน ได้รับควำมเห็น

ชอบร่วมกันจำกทุกภำคส่วน น�ำไปสู่กำรร่วมกันท�ำงำนของท้ัง

ภำครัฐและประชำชนในชุมชนอย่ำงจริงจัง และยังน�ำไปสู่กำร

ท�ำงำนร่วมกับองค์กรหน่วยงำนนอกชุมชนด้วย

ผลลัพธ์หนึ่งที่ชัดเจนเห็นเป็นรูปธรรม คือ กำรสร้ำงคน เพื่อ

เป็นฟันเฟืองในกำรสร้ำงสังคมให้น่ำอยู่ ดังนั้น เทศบำลต�ำบล

เขมรำฐจึงได้ปลูกฝังและสร้ำงกันตั้งแต่เด็ก เพื่อควำมสัมฤิทธ์ิผล

ในระยะยำว

ปัจจุบัน ศูนย์พัฒนำเด็กเล็กเทศบำลต�ำบลเขมรำฐ เป็นหนึ่ง

ในแหล่งเรียนรู ้ส�ำคัญภำยใต้กำรสนับสนุนสุขภำวะชุมชน

ส�ำนักงำนกองทุนสนับสนุนกำรสร้ำงเสริมสุขภำพ (สสส.) จัดอยู่

ในหมวดของกำรสร้ำงคน ซึ่งประสบควำมส�ำเร็จอย่ำงสูง มิเพียง

สำมำรถดูแลเด็กขั้นปฐมวัย ซึ่งถือเป็นช่วงวัยที่ส�ำคัญยิ่งของ

ประชำกรรุ ่นใหม่ในชุมชน ให้ได้มีคุณภำพชีวิตที่ดีทั้งสุขภำพ

ร่ำงกำย จิตใจ และพัฒนำกำรทำงด้ำนสมอง นอกไปจำกนั้นยัง

ประสบควำมส�ำเร็จบนเวทีระดับชำติ ในกำรเป็นตัวอย่ำงสถำน

เลี้ยงเด็กก่อนวัยเรียนที่มีกำรด�ำเนินกำรได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ

เป็นต้นแบบให้กับแหล่งเรียนรู้ก่อนวัยเรียนอีกมำกมำยหลำยแห่ง

แรกเริ่มเดิมทีน้ัน ศูนย์พัฒนำเด็กเล็กเทศบำลต�ำบลเขมรำฐ

ต้ังอยู่ภำยในวัด และมีสภำพค่อนข้ำงทรุดโทรม ทำงเทศบำลเห็น

ว่ำน่ำจะได้มีกำรปรับปรุงพัฒนำศูนย์เด็กเล็กฯ ขึ้นใหม่ เน่ือด้วย

เห็นว่ำเด็กในขั้นก่อนปฐมวัยถือเป็นช่วงเวลำส�ำคัญของกำร

พัฒนำควรที่จะต้องได้รับกำรดูแลอย่ำงดี จึงได้มีกำรท�ำประชำมติ

ร่วมกัน ลงควำมคิดเห็นร่วมกันระหว่ำงภำครัฐและผู้คนในชุมชน

ได้ผลลัพธ์ที่ส�ำคัญอันน�ำมำสู่กำรเปลี่ยนแปลง สร้ำงศูนย์พัฒนำ

เด็กเล็กต�ำบลเขมรำฐขึ้นมำใหม่ โดยย้ำยออกมำตั้งที่นอกวัด

นำงสำวเจียระไน สุตเศวต รักษำกำรหัวหน้ำศูนย์พัฒนำเด็ก

เล็กเทศบำลต�ำบลเขมรำฐ และเป็นหนึ่งในครูผู้ดูแลศูนย์พัฒนำ

เด็กเล็กต�ำบลเขมรำฐ เล่ำให้ฟังว่ำ “ปัจจุบันศูนย์พัฒนำเด็กเล็ก

ต�ำบลเขมรำฐ มีขีดควำมสำมำรถในกำรรองรับเด็ก 150 คน วันนี้

เรำประสบควำมส�ำเร็จได้เพรำะกำรท�ำงำนของเรำน้ัน เป็นกำร

ท�ำงำนร่วมกันในทุกฝ่ำยอย่ำงแท้จริง เรำมีกำรวำงกรอบนโยบำย

ในกำรท�ำงำน กำรดูแลเด็ก โดยทำงศูนย์ท�ำงำนร่วมกับทำง

เทศบำล และชุมชน รวมทั้งผู้ปกครองของเด็กอย่ำงใกล้ชิด มีกำร

ประเมินกำรท�ำงำนและติดตำมผลกำรท�ำงำนอยู่ตลอด นอกไป

จำกนั้นคุณครูของเรำยังได้รับกำรสนับสนุนให้ได้ออกไปเรียนรู้

นอกท่ีท�ำงำนอยู่เสมอ เพื่อน�ำควำมรู้กลับมำพัฒนำปรับใช้กับ

ศูนย์”

ทว่ำกำรท�ำงำนร่วมกันน้ันคงไม่ใช่ปัจจัยหลักในกำรน�ำพำ

ฐานรากท่ีส�าคญั สูอ่นาคตสดใส

ปันสุข

ศูนย์พ�มนำเด็กเล็กฯ ไปสู่ควำมส�ำเร็จ ลักษณะของเทศบำลต�ำบล

เขมรำฐถือได้ว่ำเป็นเทศบำลตัวอย่ำงที่ชุมชนมีควำมเข้มแข็ง

เทศบำลมีควำมตั้งใจอย่ำงจริงจังในกำรท�ำงำนและเปิดรับควำมรู้

ใหม่ เพื่อน�ำมำบูรณำกำร อย่ำงกำรน�ำเอำข้อมูลจำกศูนย์

TCNAP (Thailand Community Network) มำใช้ในกำรด�ำเนิน

งำน พัฒนำโครงกำรต่ำงๆ ซ่ึงตัวศูนย์พัฒนำเด็กเล็กฯ เองก็มี

กำรน�ำมำใช้เชื่อมโยงข้อมูล

กำรใช้ประโยชน์จำกระบบ TCNAP ท�ำให้เทศบำลต�ำบล

เขมรำฐ และผู้ท�ำงำนสำมำรถรู้ได้ว่ำในต�ำบลของตนเองมีศูนย์

เรียนรู้อยู่กี่แห่ง และจะน�ำมำใช้ประโยชน์ในเรื่องใดได้บ้ำง อำทิ

กำรใช้ประโยชน์ของศูนย์พัฒนำเด็กเล็กจำกชมรมผู้สูงอำยุ และ

จำกภูมิปัญญำท้องถิ่นในชุมชน เป็นหนึ่งในตัวอย่ำงที่แสดงให้

เห็นได้อย่ำงชัดเจน จำกกำรรวมรวมแหล่งข้อมูลต่ำงของ TCNAP

นอกจำกกำรใช้โปรแกรมกำรเรียนรู้ต่ำงๆ ในแง่วิชำกำร ที่ทำง

ศูนย์พัฒนำเด็กเล็กฯ ใช้ในกำรดูแล ถ่ำยทอดทักษะควำมรู ้ท่ี

จ�ำเป็นต่อกำรพัฒนำเด็กเล็กแล้ว ทำงศูนย์ยังได้ท�ำงำนร่วมกับ

โครงกำรต่ำงๆ ของชุมชนด้วย อำทิ โครงกำรคุณตำเผื่อแผ่คุณ

ยำยเอื้อเฟื้อ ซึ่งเป็นกำรท�ำงำนร่วมกับชมรมผู้สูงอำยุแห่งต�ำบล

เขมรำฐ โดยผู้สูงอำยุในชุมชนจะท�ำงำนด้ำนจิตอำสำ เข้ำมำช่วย

ดูแลเด็กๆ ท�ำกิจกรรมร่วมกับเด็ก โดยน�ำประสบกำรณ์ชีวิตมำ

ปรับใช้ สร้ำงสรรค์กิจกรรมต่ำงๆ ท�ำงำนร่วมกับเจ้ำหน้ำท่ีและ

คุณครูของศูนย์พัฒนำเด็กเล็กฯ ซึ่งนอกจำกเด็กๆ จะได้รับกำร

ดูแลจำกผู้หลักผู ้ใหญ่ในชุมชนอย่ำงใกล้ชิดด้วยควำมรักแล้ว

บรรดำผู ้สูงอำยุในชุมชนยังได้ใช ้เวลำที่มีของตนเองให้เกิด

ประโยชน์ ท�ำให้ตัวผู้สูงอำยุเองก็มีควำมสุขด้วย มิเพียงแต่เด็กๆ

เท่ำนั้นที่จะได้รับควำมรักควำมอบอุ่น ผู้สูงอำยุเองก็ได้รับควำม

อบอุ่นควำมรักคืนจำกเด็กๆ ด้วยเช่นกัน

ส�ำหรับตัวชมรมผู ้สูงอำยุนั้น กำรเข้ำมำมีส่วนร่วมในกำร

สนับสนุนช่วยเหลือศูนย์พัฒนำเด็กเล็กฯ นั้นทำงชมรมผู้สูงอำยุได้

มีกำรประชุมร่วมกันว่ำจะให้ควำมช่วยเหลืออย่ำงไรดี คุณอัญ

ชลำ พรหมศรีใหม่ อำยุ 57 ปี ที่ปรึกษำของชมรมผู้สูงอำยุกล่ำว

ว่ำ “เรำมำร่วมกิจกรรมน้ี เพรำะเห็นว่ำเป็นกิจกรรมที่ดี บรรดำผู้

สูงอำยุอยำกจะถ่ำยทอดเรื่องรำวต่ำงๆ ให้กับเด็กๆ เรำพร้อมที่จะ

เอำประสบกำรณ์ของเรำมำช่วยเด็กๆ ให้เขำมีพัฒนำกำรที่ดีขึ้น

ตัวผู้สูงอำยุก็มรควำมสุขด้วยที่ได้ใช้เวลำว่ำงให้เกิดประโยชน์”

โครงกำรเรียนรู้ภูมิปัญญำท้องถ่ิน อีกหนึ่งโครงกำรที่ผู้คนใน

ชุมชนเข้ำมำมีส่วนร่วมกับศูนย์พัฒนำเด็กเล็กฯ โดยน�ำผู้มีควำมรู้

ในชุมชนเข้ำมำถ่ำยทอดควำมรู้ ภูมิปัญญำท้องถิ่นให้เก็บเด็ก ไม่

เพียงแต่ผู้สูงอำยุเท่ำนั้น รักษำกำรหัวหน้ำศูนย์ นำงสำวเจียระไน

เล่ำเสริมว่ำ “คุณพ่อของนักเรียนท่ำนหน่ึงท่ีมีควำมสำมำรถเกี่ยว

กับกำรวำดรูป ยังท�ำงำนจิตอำสำเข้ำมำเป็นครูสอนศิลปะให้กับ

เด็กๆ ด้วย นอกจำกนี้ยังมีคุณตำที่ไปอยู่ในอเมริกำมำนำนหลำย

สิบปี ตอนนี้กลับมำ ก็มำสอนภำษำอังกฤษให้เด็กๆ”

ศูนย์พัฒนำเด็กเล็กเทศบำลต�ำบลเขมรำฐแห่งใหม่นี้เปิด

ด�ำเนินกำรมำได้สองปีแล้ว เป็นกำรรวมสำมศูนย์อบรมเด็กเล็ก

สำมศูนย์เข้ำไว้ด้วยกัน คือศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์วัดชัยภูมิกำ

รำม ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์วัดประชำเกษม ศูนย์อบรมเด็ก

ก่อนเกณฑ์วัดเหนือ วันน้ีศูนย์พัฒนำเด็กเล็กต�ำบลเขมรำฐได้ส่ง

เสริม สร้ำงสรรค์ ดูแลเด็กปฐมวัยท่ีมีอำยุระหว่ำง 3-5 ปีซึ่งเป็น

ช่วงวัยท่ีส�ำคัญให้ได้รับพัฒนำกำรครบท้ังส่ีด้ำน คือ กำรส่งเสริม

พัฒนำกำรด้ำนร่ำงกำย ด้ำนอำรมณ์ – จิตใจ ด้ำนสังคมด้ำนสติ

ปัญญำ

โดยสองปีที่ผ่ำนมำศูนย์พัฒนำเด็กเล็กต�ำบลเขมรำฐ มีโอกำส

ต้อนหน่วยงำนจำกที่ต่ำงๆ มำกมำยที่แวะมำศึกษำดูงำน มิเพียง

ถ่ำยทอดประสบกำรณ์ที่ได้รับมำสู่ผู้อื่น เจ้ำหน้ำที่และผู้ที่มีส่วน

ร่วมกับศูนย์เด็กเล็กฯ ยังเปิดรับข้อคิดค�ำแนะน�ำ จำกผู้ท่ีเข้ำมำ

ศึกษำดูงำนด้วย เป็นกำรเพิ่มพูนวิสัยทัศน์และแนวควำมคิดใหม่

ในกำรท�ำงำนไปในตัวด้วย เพรำะทุกคนทรำบดีว่ำควำมส�ำเร็จ

ของศูนย์พัฒนำเด็กเล็กฯ เกิดขึ้นจำกกำรร่วมมือในกำรท�ำงำน

กำรแสวงหำควำมรู้ใหม่ กำรท�ำงำนอย่ำงทุ่มเทและใส่ใจ

ในวันท�ำกำร เมื่อแดดยำมบ่ำยอ่อนแรงลง เด็กๆ รวมกลุ่มกัน

อยู่ที่สนำมหญ้ำหน้ำอำคำรหลังเล็ก เสียงหัวเรำะ เสียงพูดคุยของ

บรรดำคุณตำคุณยำยดังอยู่รอบๆ สนำม บำงคนก�ำลังอธิบำยให้

เด็กๆ ฟังว่ำกิจกรรมน้ีต้องเล่นอย่ำงไร บำงคนก�ำลังจัดแบ่งเด็กๆ

ออกเป็นกลุ่ม แม้จะไม่ทุกวันที่บรรดำผู้สูงอำยุในชุมชนจะมำพบ

กับเด็กๆ แต่ทุกครั้งท่ีมีกำรท�ำกิจกรรมร่วมกัน ควำมอบอุ่นควำม

สนุกสนำนก็จะอบอวลอยู่โดยรอบศูนย์พัฒนำเด็กเล็กฯ แห่งนี้

กำรท�ำงำนร่วมกันของชุมชน ต้ังแต่หน่วยงำนรำชกำร องค์กร

ส่วนท้องถิ่น ภำครัฐ ประชำชน ไปจนถึงพระสงฆ์ โดยมีหน่วยงำน

รำชกำรเป็นผู้ประสำนเชื่อมโยงเข้ำหำกัน บริหำรน�ำข้อมูลต่ำงๆ ที่

มีอยู่ทั้งในและนอกชุมชนมำใช้ โดยใช้เครื่องมือและระบบท่ีมีอยู่

เข้ำมำใช้ท�ำงำนเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อภำคประชำชน สังคม

อย่ำงจริงจัง โครงสร้ำงพื้นฐำนต่ำงๆ น่ีเองท�ำให้ กำรบริหำร

จัดกำร เกิดประสิทธิภำพ ท�ำให้เทศบำลต�ำบลเขมรำฐ และชุมชน

ชำวเขมรำฐ สำมำรถสร้ำงศูนย์พัฒนำเด็กเล็กต�ำบลเขมรำฐ ให้

เป็นศูนย์เรียนรู้เด็กปฐมวัยท่ีมีคุณภำพ เกิดประโยชน์กับชุมชน

อย่ำงแท้จริง

ปันสุข

เศรษฐกิจชุมชน

มังคุดนอกฤดูกาล รางวัลของโกเด็ก

ปันสุข ปันสุข

“เท่ำไหร่” คือค�ำทักทำยของชำวต�ำบลขุนทะเล อ�ำเภอ

ลำนสกำ จังหวัดนครศรีธรรมรำช เมื่ออยู ่ในช ่วงฤดูมังคุด

เนื่องจำกรำคำมังคุดมิได้ต่ำงจำกรำคำทองค�ำ ในช่วงติดกระแส

ต้องติดตำมกันนำทีต่อนำที ชั่วโมงต่อชั่วโมง วันต่อวัน

ฤดูกำลของมังคุดท�ำให้รำคำข้ึนลงรำวหุ้นบนกระดำน กำร

ค้ำขำยของพ่อค้ำคนกลำงกดรำคำมังคุดบำงที ก็เป็นไปอย่ำงไม่มี

เหตุผล

สวนมังคุดของโกเด็ก เป็นที่รู้จักของคนแถบนั้น และเป็นที่รู้จัก

ไกลถึงต่ำงประเทศ ที่ดินรอบๆ บ้ำนของโกเป็นสวนมังคุด 27 ไร่ มี

ล�ำห้วยผ่ำกลำง มีต้นมังคุด 350 ต้น เม่ือก่อนเป็นสวนสมรมท่ีมี

ผลไม้ มียำงพำรำ ปี 2516 โกเด็กเร่ิมดัดแปลงจำกสวนสมรมมำ

เป็นสวนมะนำว ปี 2530 ได้แนวทำงปลูกมังคุดในสวนมะนำว

โดยคิดวำงแผนปลูกมังคุดโดยไม่โค่นมะนำว หำกชำยหนุ่มจะจีบ

หญิงสำว แต่ไม่เข้ำใจธรรมชำติแห่งเธอยำกนักจะได้ใจสำวเจ้ำมำ

ครอง จนถึงปัจจุบัน โกเด็กใช้เวลำเรียนรู ้ธรรมชำติของมังคุด

ศึกษำนิสัยใจคอของมัน เจ้ำมังคุดชอบอะไรไม่ชอบอะไร จนวันนี้

มังคุดจำกสวนของโกเด็กมีมำตรฐำนต้องตำต้องใจตลำดต่ำง

ประเทศ

มังคุดของโกเด็กส่งขำยจีน ที่ส�ำคัญมังคุดของโกออกผลนอก

ฤดูกำลได้ นั่นหมำยถึงรำคำต่อกิโลกรัมที่พุ่งสูง ใครไปใครมำก็ตื่น

ตำตื่นใจกับเทคนิคกำรปลูกของโก อย่ำงต้นมันส�ำปะหลังท่ีปลูก

ไว้คำนกิ่งก้ำนของมังคุด ก็ถือเป็นภูมิปัญญำของแท้ เคล็ดลับจำก

โกเด็กคือกำรเรียนรู้อย่ำงเปิดกว้ำง

“กำรศึกษำของนักวิชำกำร เขำก็ศึกษำบนฐำนของควำมรู้ เขำ

ก็ให้เรำมำ 100 เปอร์เซ็นต์ เรำก็เอำมำ 50 เปอร์เซ็นต์ เพรำะ

บำงที ทฤษฎีกับปฏิบัติมันไม่ตรงกัน แต่เรำจะไปคนเดียวก็ไม่ได้

เพรำะนักวิจัยเขำก็ค�ำนวณมำดี โดยเรำก็เอำประสบกำรณ์เข้ำไป

ด้วยต้องแชร์กัน” โกเด็กบอก

ตำมกลไกของตลำด ผลไม้นอกฤดูย่อมมีรำคำแพง ในฐำนะ

เกษตรกร ผลไม้นอกฤดูคือรำยได้แสนงำม เป็นรำงวัลของควำม

พยำยำม โกเด็กเป็นเกษตรกรชำวสวนที่ลองผิดลองถูกในสวนมำ

ยำวนำน ในท่ีสุดก็เข้ำใจกฎเกณฑ์ของธรรมชำติ รู้นิสัยของมังคุด

และเข้ำใจข้อจ�ำกัดในพื้นที่ของตัวเอง จนสำมำรถบังคับมังคุดให้

ออกผลนอกฤดูกำลได้

มังคุดนอกฤดู รำคำกิโลร่วมร้อย โกเด็กเรียนจบ ป.4 ที่ข้ำงฝำ

บ้ำนมีเกียรติบัตรแปะรำวปริญญำบัตรของมหำบัณฑิต มีทั้ง

ใบรับรองมำตรฐำนของมังคุดท่ีสำมำรถเข้ำเกณฑ์ส่งออกต่ำง

ประเทศ ได ้ ใบประกำศนียบัตรจำกผู ้ ว ่ ำรำชกำรจังหวัด

นครศรีธรรมรำช เพื่อแสดงว่ำ โกเด็กเป็นผู้บ�ำเพ็ญประโยชน์ให้

แผ่นดินด้ำนผู้น�ำเกษตรเมื่อปี 2548

ในโลกที่มีกำรแข่งขันสูง โอกำสทำงกำรศึกษำเป็นเหมือน

ใบเบิกทำงเพื่อเป็นเครื่องค�้ำยันชั้นต้นของชีวิต แต่โกเด็กสำธิตให้

เห็นแล้วว่ำ บนโลกกำรค้ำไร้พรมแดน คนจบ ป.4 ก็สำมำรถท�ำได้

หำกเรำใส่ใจเรียนรู้ธรรมชำติอยู่ตลอดเวลำ

ปันสุข

ภูมิปัญญาชาวบ้าน

ปันสุข

เทศบำลต�ำบลเกำะคำ อ�ำเภอเกำะคำ จังหวัดล�ำปำง มีแหล่ง

เรียนรู้อีกแห่งท่ีน่ำสนใจ ซึ่งเป็นกำรรวมตัวของคนในชุมชน เรียก

ง่ำยได้ใจควำมว่ำ ‘กลุ่มผ้ำมัดย้อม’

กลุ่มผ้ำมัดย้อมน้ันมีสมำชิกรำว 20 คน โดยท้ังหมดได้ใช้แรง

กำยและใจแปรเปล่ียนวัตถุเป็นผลผลิตท่ีท�ำให้ชำวเกำะคำภูมิใจ

มีท้ังเส้ือ กำงเกง กระโปรง ชุดนอน ผ้ำปูท่ีนอน ผ้ำเช็ดหน้ำ ผ้ำ

คลุมผม ซึ่งนอกจำกขำยให้กับผู้คนในชุมชนแล้ว ยังเป็นแหล่ง

ของฝำกส�ำหรับผู้มำเที่ยวชม ตลอดจนศึกษำดูงำน

แก้วปวน ทิพย์เนตร ประธำนกลุ่มผ้ำมัดย้อม ซึ่งมีสมำชิก 20

คน เล่ำว่ำ “นอกจำกอำชีพเสริม เรำต้องกำรใช้เวลำว่ำงให้เป็น

ประโยชน์ โดยสร้ำงกลุ่มให้เข้มแข็ง เพรำะท่ีน่ีมีผู้พิกำรทำงกำร

ได้ยินมำอยู่กับเรำด้วย ซึ่งดีกว่ำเป็นไหนๆ ถ้ำปล่อยให้เขำต้องทน

เหงำอย่ำงโดดเดี่ยว”

ผา้มดัยอ้ม วถีิโบราณ สูท่างปัจจุบนั

ปันสุข

โดยกลุ่มนี้ใข้เวลำว่ำงจำกกำรท�ำนำมำรวมกลุ่มกัน ส่วนใน

เรื่องขององค์ควำมรู้เกี่ยวกับศิลปะกำรน�ำผ้ำมำย้อมด้วยสีท่ีได้

จำกธรรมชำติ ไม่ใช่สิ่งแปลก หรือเพิ่งจะค้นพบนวัตกรรมใหม่แต่

อย่ำงใด แต่ควำมรู้ ภูมิปัญญำดังกล่ำว ได้ถูกค้นพบ ปฏิบัติ และ

ถ่ำยทอดมำจำกรุ ่นสู ่รุ ่น ตั้งแต่สมัยพุทธกำล ดังเห็นได้ว ่ำ

พระพุทธเจ้ำพร้อมสำวกทั้งหลำยก็ใช้ผ้ำบังสุกุลสีขำว ที่ใช้ส�ำหรับ

ห่อศพมำซัก แล้วก็ย้อมด้วยสีธรรมชำติเพื่อเป็นผ้ำจีวรนุ่งห่ม

กำรท�ำผ้ำมัดย้อมใช้เองเป็นควำมภำคภูมิใจของคนท�ำ และ

คนสวมใส่ด้วย เพรำะผลงำนช้ินดังกล่ำวเป็นศิลปะหนึ่งเดียวใน

โลกท่ีไม่เหมือนใคร และไม่มีใครเหมือน สีต ่ำงๆ ที่ได ้จำก

ธรรมชำติ ได้แก่ รำกแก่น เปลือก ต้น ผล ดอก เมล็ด ใบ ซึ่งต้นไม้

แต่ละชนิดให้โทนสีต่ำงกัน ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติของต้นไม้นั้นๆ

อำทิ

สีแดง ได้จำกรำกยอ แก่นฝำง เปลือกสมอ ครั่ง

สีครำม ได้จำก ต้นครำม

สีเหลือง ได้จำก แก่นขนุน ต้นหม่อน ขมิ้น ดอกดำวเรือง

สีตองอ่อน ได้จำก เปลือกผลทับทิม ต้นครำม ใบหูกวำง

เปลือกและผลสมอพิเภก ใบส้มป่อยและผงขมิ้น ใบแค ใบ

สับปะรดอ่อน

สีด�ำ ได้จำก ผลมะเกลือ ผลกระจำก ผลและเปลือกสมอ

สีส้ม ได้จำก เปลือกและรำกยอ ดอกกรรณิกำร์ (ส่วนที่เป็น

หลอดสีส้ม)

สีเหลืองอมส้ม ได้จำก ดอกค�ำฝอย

สีม่วงอ่อน ได้จำก ลูกหว้ำ

สีชมพู ได้จำก ต้นฝำง

สีน�้ำตำล ได้จำก เปลือกไม้โกงกำง เปลือกผลมังคุด

สีเขียว ได้จำก เปลือกต้นมะริดไม้ ใบหูกวำง เปลือกสมอ

ปันสุข

อาหาร

คนซื้อพอใจ คนขำยมีควำมสุข ที่ตลำดนัดชุมชน ของคน “บำงปิด”

“ตลำด”หมำยถึงสถำนที่ส�ำหรับกำรค้ำขำย ซึ่งผู้ซื้อและผู้ขำยได้มำพบกัน แม้โดยควำมหมำยคือสถำนที่

แลกเปลี่ยนสินค้ำกับเงินตรำ แต่โดยนัยยะทำงสังคม ตลำดกลับมีควำมหมำยมำกกว่ำนั้น

ตลำดนัดชุมชนของต�ำบลบำงปิด อ�ำเภอแหลมงอม จังหวัดตรำด เป็นตลำดที่เกิดขึ้นจำกกำรส่งเสริมของ

องค์กำรบริหำรส่วนต�ำบลบำงปิด โดยในช่วงแรกน้ัน มีลักษณะเป็นเพียงเพิงเล็กๆ และมีผู้มำค้ำขำยเพียงไม่กี่

รำย แต่ในเวลำต่อมำ เมื่อมีกำรส่งเสริมให้ชำวบ้ำนน�ำสินค้ำมำขำยอย่ำงจริงจัง และได้รับงบประมำณ

สนับสนุนอย่ำงต่อเนื่อง ตลำดชุมชนของต�ำบลบำงปิดจึงได้พัฒนำมำจนเป็นตลำดนัดขนำดใหญ่ ที่เปิดสัปดำห์

ละ 3 วันคือ วันอังคำร วันพฤหัสบดี และวันเสำร์ กลำยเป็นตลำดที่เป็นที่รู้จักในพื้นที่

จรัญ ทองปำน ผู้จัดกำรตลำดนัดชุมชน เล่ำว่ำ กำรด�ำเนินกำรของตลำดนัดชุมชน ตั้งอยู่บนพื้นฐำนของกำร

ตลาดนดัชุมชน “บางปิด”

ปันสุข

ส่งเสริมให้คนในต�ำบลบำงปิดได้มีสถำนที่ส�ำหรับขำยสินค้ำ โดย

ตนเองพยำยำมจะส่งเสริมให้ชำวบ้ำนได้มำค้ำขำยที่ตลำดเพื่อ

สร้ำงรำยได้ให้กับตนเองและครอบครัว

“ผมจะดูว่ำตลำดยังขำดอะไร และชำวบ้ำนคนไหนมีของอะไร

ที่เอำมำขำยได้ อย่ำงบำงคนปลูกผักไว้ที่บ้ำนหลำยอย่ำง ผมก็จะ

ชวนให้มำขำยที่ตลำด บำงคนอำจจะเลี้ยงปลำส่งขำยที่อื่น ผมก็

จะชวนให้มำขำยที่ตลำดนัดชุมชน เขำก็จะได้ขำยเอง ไม่ผ่ำน

พ่อค้ำคนกลำง สินค้ำก็จะมีรำคำไม่แพง มีผู้สูงอำยุหลำยคนที่

อยู่บ้ำนเฉยๆ ผมก็จะชวนเขำมำขำยของ คือไม่ใช่แค่มีรำยได้เพิ่ม

แต่จะได้มีกิจกรรมท�ำ ได้เจอผู้คน เขำก็จะสนุกสนำนด้วย แต่ถ้ำ

เป็นคนที่อื่นมำขอเช่ำที่ขำยของ ผมก็จะต้องพิจำรณำหลำยๆ

อย่ำง ดูสินค้ำว่ำเป็นของปลูกเอง ท�ำเองมั้ย มีสำรเคมีที่เป็นอันต

รำยมั้ย ดูว่ำเป็นใครมำจำกไหน คือถ้ำไม่เหมำะผมก็จะไม่ให้ขำย

นะ เพรำะอยำกให้ตลำดของชุมชน ด�ำเนินงำนไปด้วยดี ”

ผู้จัดกำรตลำดนัดชุมชน ยังกล่ำวเสริมว่ำ แม่ค้ำที่เป็นผู้สูง

อำยุบำงคน มีฐำนะดี ไม่ต้องท�ำอะไรเลยก็อยู่ได้สบำยๆ แต่เลือก

ท่ีจะมำค้ำขำยของเพรำะว่ำไม่ต้องกำรอยู่บ้ำนเฉยๆ และกำรมำ

ขำยของก็ท�ำให้ตัวเองรู้สึกว่ำมีคุณค่ำ

รัง พรติโพธ์ิ แม่ค้ำวัย 73 ปี เล่ำว่ำ ท่ีบ้ำนก็ปลูกผักไว้หลำย

อย่ำง ตนเองไม่อยำกอยู่บ้ำนเฉยๆ เพรำะเบื่อ เมื่อได้มำขำยของ

แล้วมีควำมสุข ได้เจอเพื่อนฝูงได้คุยกับผู้คน ท�ำให้ไม่เหงำ รวมทั้ง

ยังได้มีรำยได้ในวันที่มำขำยของ

“ป้ำก็ขำยมำหลำยปีแล้วล่ะ ขำยมำต้ังแต่ลุงยังอยู่ เมื่อก่อนก็

ท�ำสวนยำงแล้วก็ปลูกผัก พอลุงเสียไปก็ไม่รู้จะไปไหน อยู่บ้ำนก็

เบื่อๆ ก็ปลูกผักคะน้ำ ผักกวำงตุ้งอะไรไป พอทำง อบต.เขำมำส่ง

เสริม ผู้จัดกำรตลำดเขำชวนมำ ก็เลยเอำผักมำขำย ผักที่เอำมำ

ขำยส่วนใหญ่ก็จะปลูกเองนะ อยำกปลูกอะไรเรำก็ปลูกไป อย่ำง

ละนิดอย่ำงละหน่อย อะไรออกก็เอำมำขำย บำงอย่ำงก็ซื้อมำ

เพื่อนบ้ำนเขำจะมำขำยให้…คืออยู่บ้ำนเฉยๆ ไม่ได้น่ะ ต้องท�ำนู่น

ท�ำนี่ไปเรื่อย ลูกๆ หลำนๆ เขำก็บอกว่ำ ไม่ต้องท�ำแล้ว อยู่เฉยๆ

เถอะ เรำก็บอกว่ำ ให้อยู่เฉยๆ ไม่ได้หรอก ร�ำคำญ ก็อยำกท�ำน่ะ

ได้ออกก�ำลังกำยด้วย ได้เงินใช้ด้วย บำงที ลูกก็มำยืมตังค์

นะ(หัวเรำะ) เรำก็ให้ไป ไม่ได้ว่ำอะไร…เรำยังมีแรงอยู่ ก็อยำกจะ

ท�ำไปเรื่อยๆ น่ะ ไม่ไหวค่อยหยุด มำขำยน่ีก็สนุกนะ ได้คุยได้เจอ

คน ถ้ำอยู่บ้ำนเฉยๆ แล้วมันเงียบ เพรำะบ้ำนอยู่ในซอยลึก วัน

ไหนหยุดก็ท�ำสวน วันไหนมีตลำดนัดเรำก็มำขำย ได้วันสองร้อย

สำมร้อยมันก็ดีกว่ำอยู่เฉยๆ นะ…”

แม้ตลำดส่วนใหญ่จะมุ่งที่กำรค้ำขำยเป็นหลัก แต่ตลำดนัด

ชุมชนบำงปิดกลับยึดหลักว่ำ ควำมเป็นอยู่และควำมสุขของผู้คน

ในชุมชนต้องมำก่อน ด้วยรูปแบบกำรจัดกำรท่ีน่ำสนใจน้ี ตลำด

นัดชุมชนบำงปิด ได้รับกำรสนับสนุนให้เป็นแหล่งเรียนรู ้ของ

ต�ำบลบำงปิด โดยส�ำนักสนับสนุนสุขภำวะชุมชน ส�ำนักงำน

กองทุนสนับสนุนกำรสร้ำงเสริมสุขภำพ (สสส.)

ตลำดนัดชุมชนแห่งนี้ นอกจำกจะเต็มไปด้วยสินค้ำที่ชำวบ้ำน

ท�ำเอง ขำยเองแล้ว ยังเต็มไปด้วยรอยย้ิมแห่งควำมสุขของชำว

ชุมชนบำงปิดอีกด้วย

ปันสุข

วัฒนธรรม

สภำวัฒนธรรมต�ำบลจัดเป็นหนึ่งในแหล่งเรียนรู่คู่ต�ำบลบ้ำนควน อ�ำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร ตั้งอยู่ในวัดชลธำรวดี

ครูประชำ ดึงสุวรรณ วิทยำกรประจ�ำแหล่งเรียนรู้แห่งนี้ เล่ำให้ฟังว่ำ บ้ำนควนเป็นชุมชนเก่ำแก่ แต่กลับมีอยู่ช่วงหนึ่ง ที่

ต�ำบลบ้ำนควนไม่มีกิจกรรมที่จะท�ำร่วมกัน

“ผมก็ไม่อยำกให้เด็กนักเรียนคิดว่ำ ท�ำไมบ้ำนเรำถึงขำดควำมสำมัคคีอย่ำงนี้ พวกเรำครูโรงเรียนวัดชลธำรฯ จึงได้ร่วม

กันรื้อฟื้นงำนประเพณีลอยกระทงขึ้นมำ ต่อมำในปี 2540 ผมได้น�ำแนวคิด และรูปธรรมกำรจัดงำนลอยกระทงของ

โรงเรียนวัดชลธำรวดีไปปรึกษำกับแกนน�ำชุมชนในเวทีประชุมสัญจร จนในที่สุด มีมติให้จัดประเพณีลอยกระทง และ

แข่งขันเรือยำว 4 ฝีพำยเป็นงำนประจ�ำปีของต�ำบลบ้ำนควน ณ คลองวังโบสถ์ หรือคลองชั่ง” ครูประชำเล่ำ

ถึงตรงนี้ คงเริ่มสงสัยว่ำ งำนแข่งเรือยำวนั้นเช่ือมโยงกับกำรฟื้นฟูวัฒนธรรมอย่ำงไร ซึ่งครูประชำอธิบำยว่ำ ในลุ่มน�้ำ

หลังสวน มีประเพณีกำรแข่งเรือยำวขึ้นโขนชิงธงที่ไม่เหมือนใคร และเมื่อไปศึกษำประวัติศำสตร์แล้ว ก็พบว่ำ กำรแข่งขัน

เรือยำวของชำวหลังสวน มีมำตั้งแต่สมัยรัชกำลที่ 3 จึงคิดว่ำ ถ้ำน�ำเรื่องนี้มำเป็นจุดขำยในชุมชน คนในชุมชนก็น่ำจะให้

ควำมสนใจเข้ำร่วกิจกรรม

กำรแข่งเรือยำวแบบข้ึนโขนชิงธงมีที่เดียวในประเทศไทย ปกติจะจัดในวัน แรม 1 ค�่ำ เดือน 11 หรือวันออกพรรษำ

ฟ้ืนชีพเรือพาย ฟ้ืนพลงัแห่งความสามคัคี

ปันสุข ปันสุข

ประมำณเดือนตุลำคมของทุกปี ในพื้นที่อื่น เขำจะวัดกันที่หัวเรือ

ของใครเข้ำเส้นชัยก่อน จะเป็นฝ่ำยชนะชนะ แต่ที่นี่วัดกันที่หัวเรือ

ไหนคว้ำธงก่อนโดยที่ไม่ตกน�้ำ เรือล�ำนั้นถึงจะชนะ

แม้จะเพิ่งฟื้นฟูประเพณีมำไม่กี่ปี แต่กลับมีถ้วยรำงวัลประดับ

จ�ำนวนมำก ครูประชำเล่ำอย่ำงภูมิใจว่ำ “จำกที่เคยแข่งเพียง 4

ฝีพำย เรำก็พัฒนำเป็นกำรแข่งขัน 8 ฝีพำย มีกำรขยำยกำรสร้ำง

เรือยำว 8 ฝีพำย หมู่บ้ำนละ 1 ล�ำ ท�ำให้เกิดกำรรวมคน เกิดควำม

สำมัคคีในชุมชน จนปี 2549 อบต. และกองทุนก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้ำน

สนับสนุนงบเพื่อสร้ำงเรือ 32 ฝีพำย เกิดกำรสร้ำงเรือมัจฉำนุ เพื่อ

ใช้ในกำรแข่งขันงำนประเพณีที่หลังสวน”

ควำมพิเศษของเรือ 32 ฝีพำยแห่งบ้ำนควนนี้ คือควำมเรียบ

ง่ำยอย่ำงที่สุด หำได้ใช่เรื่องของรำงวัลไม่ เพรำะหลำยพื้นที่อำจ

จะคิดถึงรำงวัลเป็นท่ีต้ัง มีกำรไปจัดจ้ำงฝีพำยจำกท่ีอื่น หำกที่

บ้ำนควนน้ัน จุดมุ่งหมำยอยู่ท่ีกำรมีส่วนร่วมของคนในชุมชนเป็น

หลัก ฝีพำยทั้ง 32 จึงได้รับกำรคัดเลือกมำจำกแต่ละหมู่บ้ำน โดย

จะพิจำรณำจำกกำรแข่งเรือยำวประจ�ำต�ำบล

มิใช่ควำมภำคภูมิใจเพียงอย่ำงเดียวที่ชำวบ้ำนควนได้รับถ้วย

พระรำชทำนพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว 5 ปีติดต่อกัน ตั้งแต่ปี

2550-2554 ส่ิงน้ีคือหลักฐำนท่ียืนยันพลังควำมสำมัคคีกันของ

คนในชุมชนอย่ำงปฏิเสธไม่ได้

เพรำะแม้รำงวัลท่ีได้จะสร้ำงชื่อเสียงเพียงไร หำกในเบื้องลึก

ของจิตใจ ส่ิงหน่ึงท่ีชำวบ้ำนควนตระหนักร่วมกันน้ัน อยู่ตรงที่

ควำมภำคภูมิใจท่ีตนเองมีส่วนร่วมในกำรสร้ำงควำมเข้มแข็งให้

กลับมำสู่ชุมชนอีกครั้ง

พบกับ Gallery Punsook ได้ที่

gallery.punsook.org

หรือ www.punsook.org หัวเรื่อง “แกลลอรี่”