20
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับทีวันทีมกราคม ๒๕๕๐ (ปีท) AikidoCMU NEWSLETTER ฉบับ...วัฒนธรรมแหงสันติ จัดทำโดย ชมรมไอคิโด มหาวิทยาลัยเชียงใหมอาคารกิจกรรมนักศึกษา (.มช.) มหาวิทยาลัยเชียงใหม . สุเทพ .เมือง . เชียงใหม่ ๕๐๒๐๐ ตืดต่อได้ทเจตน์ ๐๘๙-๘๕๕๗๒๒๕ ป๋อม ๐๘๙-๗๐๑๗๖๘๖ กบ ๐๘๔-๐๔๗๔๓๔๔ Email: [email protected] พบกับ Aikido: Non-Violent Approach in Peace making ศิลปะการตอสูปองกันตัวใน มุมมองของนักสุขภาพจิต ทรงตัวไว ไมใหเสียศูนย ปรัชญาในไอคิโด และ สันติวิธีเชิงปฏิบัติในชั่วโมง ฝกศิลปะการตอสู หน้า

#03 AikidoCMU

Embed Size (px)

DESCRIPTION

Chiang Mai University AikidoClub Newsletter #3 January 2007

Citation preview

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที ่๓ วันที ่๑ มกราคม ๒๕๕๐ (ปีที ่๑)

AikidoCMU NEWSLETTERฉบับ...วัฒนธรรมแหงสันติ

จัดทำโดย ชมรมไอคิโด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

อาคารกิจกรรมนักศึกษา (อ.มช.) มหาวิทยาลัยเชียงใหม ถ. สุเทพ อ.เมือง จ. เชียงใหม่ ๕๐๒๐๐ตืดต่อได้ท่ี เจตน ์๐๘๙-๘๕๕๗๒๒๕ ป๋อม ๐๘๙-๗๐๑๗๖๘๖ กบ ๐๘๔-๐๔๗๔๓๔๔Email: [email protected]

พบกับ

Aikido: Non-Violent Approach in Peace making

ศิลปะการตอสูปองกันตัวในมุมมองของนักสุขภาพจิต

ทรงตัวไว ไมใหเสียศูนย

ปรัชญาในไอคิโด

และ

สันติวิธีเชิงปฏิบัติในชั่วโมงฝกศิลปะการตอสู

หน้า ๑

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที ่๓ วันที ่๑ มกราคม ๒๕๕๐ (ปีที ่๑)

ไอคิโดกับชีวิต: ทรงตัวไว ไมใหเสียศูนย

.......ดร.สมบัติ ตาปญญา ๓

AIKIDO STUDENT HANDBOOK :

การสอบเลื่อนสาย ๕

ศิลปะตอสูปองกันตัวในมุมมองนักสุขภาพจิต (๒)

........อ.ธีระรัตน บริพันธกุล ๗

Aikido: Non-Violent Approach in Peace making

...นฤมล ธรรมพฤกษา (กบ) ๑๐

การฝกไอคิโดในความคิดของผม : อูเกมิ

....น.พ.กฤษณชัย ไชยพร ๑๔

สันติวิธีเชิงปฏิบัติในชั่วโมงฝกศิลปะการตอสู

......วิสูตร เหล็กสมบูรณ ๑๖

ปรัชญาในไอคิโด ....ซาโตริ ๑๘

มาเยี่ยมมาเยือน ๑๙

AIKIDO FAMILY ๒๐

ปฏิทินกิจกรรม ๒๐

ศัพทไอคิโดนาเงะ! การทุม หรือ ผูที่ทำหนาที่ทุมในการฝกซอมทาตางๆของไอคิโด อูเกะ! ผูเขาโจมตีและเปนผูรับเทคนิคตางๆของไอคิโด โดยทั่วไปหมายถึงผูถูกทุม

อูเกมิ! ศิลปะการลมโดยใหไดรับบาดเจ็บนอยที่สุด รวมไปถึงการมวนหนา มวนหลัง และการลอยตัว

กี! ชุดฝกสีขาว (ถือเปนชุดชั้นใน จะแตงใหครบตองใสฮากามา)

โอบ!ิ สายคาดเอวของชุดฝกแบบญี่ปุน

ฮากามา กางเกงขาบานท่ีมีสายผูกเอว เปนเคร่ืองแตงกายของชาวญ่ีปุนสมัยโบราณ ในสมัยน้ีใชใสใน!! การซอมบูโดหรือแตงตัวแบบญี่ปุนโบราณ สำหรับไอคิโด คนที่สายดำแลวจึงจะใส !! สำหรับผูหญิงจะใสตั้งแตสายน้ำตาลขึ้นไป

หน้า ๒

น.พ.กฤษณชัย ไชยพร

นฤมล (กบ) ธรรมพฤกษา

อ.ธีระรัตน ์บริพันธกุล

ดร.สมบัต ิ

ตาปัญญา

ซาโตริ

วิสูตร เหล็กสมบูรณ์

นักเขียนในฉบับ

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที ่๓ วันที ่๑ มกราคม ๒๕๕๐ (ปีที ่๑)

คำวา “ไมเสียศูนย” ที่บางครั้งเราไดยินในการดำเนินชีว ิตหรือเผชิญปญหาอุปสรรคตางๆ หมายถึงความสามารถในการควบคุมอารมณ ระงับความรูสึก ไมแสดงออกมากเกินไป แตก็ไมไดหมายถึงการเก็บกดหรืออัดอั้นใจเหมือนลูกโปงที่ใกลระเบิด

ทฤษฎีทางจิตวิทยาพูดถึงความสามารถในการปรับตัวเองของมนุษยใหมีสภาพสมดุลอยูเสมอ ตั้งแตระดับโมเลกุลไปจนถึงทุกระบบในรางกายและจิตใจ ระดับระหวางบุคคลเชนในครอบครัว ชุมชน และสังคมโดยรวม ตองมีการปรับใหสมดุลกันอยูเสมอ เมื่อไหรที่ความสมดุลนี้เสียไป เราก็จะเกิดความไมสบาย ทำใหตองรีบปรับตัวใหเขาที่อีกทันที เชน เมื่อน้ำในรางกายลดลงจนถึงจุดหนึ่งเราก็จะเริ่มกระหาย ตองไปหาน้ำมาดื่มทดแทน เมื่ออากาศหนาวอุณหภูมิในรางกายลดต่ำลงถึงระดับหนึ ่ง รางกายก็จะสั่นเกร็งเหมือนกับจะพยายามเพิ่มความรอนใหสูงขึ้น แตเมื่ออากาศรอนไปเราก็จะขับเหงื่อออกมาเพื่อเปนการระบายความรอน เมื่อน้ำตาลในเลือดลดลงเราก็จะเริ่มมีอาการใจสั่นหวิว ตองรีบไปหาอะไรหวานๆ มากินเพื่อใหสบายขึ้น เมื่อน้ำตาลในเลือดอยูในระดับสูงเกินไปตับออนของเราก็จะผลิตอินซูลินออกมาเพื่อคอยปรับระดับน้ำตาลในเลือดใหพอด ี (คนที่เปนโรคเบาหวานจะทำเชนนี้ไมได เขาจึงตองเปนทุกขเพราะขาดความสมดุลอยูเกือบตลอดเวลา) รางกายของเราตามปกติจึงตองมีการปรับตัวอยูตลอดเวลาทั้งในขณะหลับหรือตื่น

จิตใจของเราก็เชนเดียวกัน เมื่อเรามีอารมณความรูสึกตางๆ ที่รุนแรง ไมวาจะเปนความโกรธ เสียใจ ดีใจ เหงา เราก็มักจะหาทางระบายอารมณเหลานี้ออกมาเพื่อไมใหมันคั่งคางอยูในใจมากเกินไปจนอึดอัด แตเมื่อเราเบื่อ เพราะอยูเฉยๆ โดยไมมีอารมณอะไรนานเกินไป เราก็มักหาทางกระตุนอารมณความรูสึกของตนเอง เชน ออกไปหาความบันเทิง ออกไป “ผจญภัย” หรือหาอะไรทำที่สนุกสนานตื่นเตนกวาเดิม

จะวาไปแลวโลกโดยรวมที่คงอยูไดทุกวันนี้ก็เพราะมันยังคงความสมดุลไวไดอยูนั่นเอง แตขณะนี้เรากำลังกังวลใจกันมากขึ้นเรื่อยๆ กับภาวะโลกรอนและมลพิษจากสภาพแวดลอมซึ่งเปนผลจากการกระทำของพวกเราเอง ที่กำลังทำใหภาวะสมดุลของโลกลดนอยลงไปอยางรวดเร็ว จนเชื่อกันวาหากเราไมรีบแกไข เมื่อถึงจุดหนึ่งเราก็จะอยูกันไมไดอีกตอไป คนที่ฝกจิตใจไดดีจึงไมเปนทาสอารมณความรูสึกที่หวือหวาขึ้นลง หรือเสียการควบคุมที่เรียกกันวา “ฟวสขาด” หรือ “นอตหลุด” อยูบอยๆ แตจะประคองจิตไวใหกระเพื่อมนอยที่สุด ประดุจมหาสมุทรที่ยิ่งใหญลึกล้ำแตบนผิวสงบนิ่งอยูตลอดเวลา

ทรงตัวไวไมใหเสียศูนย

ไอคิโดกับชีวิต

หน้า ๓

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที ่๓ วันที ่๑ มกราคม ๒๕๕๐ (ปีที ่๑)

หน้า ๔

ในชีวิตปกติของเราซึ่งตองมีการเกี่ยวของปฏิสัมพันธกับคนอื่นๆ อยูเสมอ จึงมักจะมีความขัดแยงกันเกิดขึ้นเปนบางครั้ง หากเรานำเอาปรัชญาของไอคิโดมาประยุกตใชทุกครั้งที่ขัดแยงกับผูอื่น เราจะมั่นคงและพรอมมากกวาที่จะฟงและเขาใจคูกรณีของเรา เหมือนกับทุกครั้งที่คูฝกของเราโจมตีเขามาเราจะควบคุมจิตใจและรางกายใหมั ่นคงแลวรับการโจมตีของเขาดวยความยินดี

เฉกเช นเด ียวก ันก ับส ิ ่ ง ไม พ ึ งประสงคทั้งหลายที่เกิดขึ้นในชีวิต ไมวาจะเปนเหตุการณราย คำพูดหรือการกระทำที่ไมนาพึงใจจากผูอื่น เราจะยินดีรับแลวจัดการกับมัน มากกวาที่จะคอยปดปอง แกตัว พยายามหาคำอธิบายเพื ่อปกปองตัวเอง หรือตอบโตข อกลาวหาของอีกฝายดวยเหตุผลตางๆ เพราะหากเราไม “เสียศูนย” จากความขัดแยงนั้น แตประคองตัวประคองใจใหเผชิญกับมันไดอยางมั่นคง เรายอมจัดการกับมันไดอยางมีประสิทธิภาพและนำความกลมกลืนกลับคืนมาไดในที่สุด

การฝกไอคิโดก็เปรียบเสมือนการเผชิญกับสิ่งไมพึงปรารถนาตางๆ ที่เขามาในชีวิตและพยายามจะทำใหเราเสียศูนยไป ทุกครั้งที่คูฝกโจมตีเขามา ไมวาจะดวยอาวุธแบบไหน เราจึงตองพยายามรักษาการทรงตัว (centering) ของเราไวใหดีเสมอ ดวยการเคลื่อนไหวที่กลมกลืนกับทิศทางของการโจมตีจากคูฝก และเปนการเคลื่อนไหวที่มั่นคง เยือกเย็น ไมลุกลี้ลุกลนหรือหวั่นไหวจนเสียศูนยการทรงตัว

เปนที่แนนอนวาเมื่อรางกายมั่นคง จิตใจก็ตองมั่นคงไปดวย

ในการฝกไอคิโดการรักษาศูนยการทรงตัวจึงเปนเรื่องสำคัญมาก อาจารยบางทานกลาววาหากยืนอยูกับที่ ควรจินตนาการวาศีรษะเราเหมือนกับแตงโมที่วางตั้งอยูบนดามไมกวาดหรืออยูบนปลายกระบองที่ตั้งเปนมุมฉากกับพื้น และเราตองประคองแตงโมไวไมใหหลนลงมา และเมื่อเราหมุนตัวเชนในการใชเทคนิคเทนคันโฮ เราควรจินตนาการวาเราเปนเหมือนลูกขางที่กำลังหมุนอยู และลูกขางจะหมุนอยูไดก็เพราะมันยัง “ทรงตัว” หรือมีสมดุลอยูนั่นเอง ทุกครั้งที่เราใชเทคนิคของไอคิโด เราจึงตองพยายามฝกใหเปนนิสัยวาหลังและศีรษะเราจะตองตรงอยูเสมอ ไมวาจะอยูในทายืนหรือนั่ง และควรเปนความตรงแบบมั่นคง สงางาม และผอนคลาย ไมใชแข็งเกร็งเหมือนทหารเขาแถวแลวยืดอกเกร็งไวอยางนั้น

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที ่๓ วันที ่๑ มกราคม ๒๕๕๐ (ปีที ่๑)

Aikido Students Handbook เขียนโดย Greg O’Conner แปลโดย ไอกิ

การสอบเลื่อนสาย! “ในการฝกหัด อยารีบรอน อยาคิดถึงตัวเองวาเปนผูรู อาจารยผูสมบูรณแบบ เราควรจะฝกฝนอยางตอเนื่องไปพรอมกับเพื่อนๆและนักเรียนของเรา และพัฒนาไปดวยกันในศิลปะแหงสันติภาพ”

มอริเฮอิ อุเยชิบะ

! นักเรียนที่ตองการสอบสายจะตองมีจำนวนวันฝกสะสมใหไดตามที่กำหนดไว หากจำนวนชั่วโมงครบแลวเราควรถามผูสอนเพื่อประเมินวาเราสามารถแสดงทาเทคนิคไดตามที่กำหนด และมีคุณสมบัติเพียงพอที่จะขอสอบเลื่อนสายที่สูงขึ้นไปได หากผูสอนเห็นสมควร เราก็เริ่มตนฝกฝนเทคนิคตางๆที่จะใชสอบ ในสายนั้นๆ เราควรฝกจนกระทั่งรูสึกคลองแคลวทั้งตำแหนงของนาเงะ (ผูแสดงเทคนิค) และอูเกะ(ผูแสดงอุเกมิหรือผูเขาโจมตี/ผูลม) ไมเพียงแตเราจำเปนตองมีความชำนาญในเทคนิคของสายที่เราเปนอยูเดิมเทานั้น เราควรฝกทาที่จะใชสอบของสายที่สูงถัดไปอีกดวย

! หากเราตองการความชวยเหลือเพื่อเตรียมสอบสาย ถามอาจารยผูสอน หรือรุนพี่ พวกเขายินดีใหความชวยเหลือเปนอยางดี

การสอบ

! จุดประสงคของการสอบก็คือ การใหสิทธิผานเกณฑ โดยการประมาณการฝกฝนของนักเรียนรายวัน รายเดือน และรายป การสอบหมายถึงการที่นักเรียนสามารถสาธิตระดับความเขาใจในเทคนิคและหลักการของไอคิโดได! การเตรียมตัวควรทำแตเนิ่นๆ อยารอจนนาทีสุดทายแลวคอยมายัดเยียดฝกเอาวันกอนสอบ หากเราเตรียมตัวไมเหมาะสม อยาคาดหวังที่จะสอบผานหรือแมแตไดรับอนุญาตใหเขาสอบ!

หน้า ๕

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที ่๓ วันที ่๑ มกราคม ๒๕๕๐ (ปีที ่๑)

! กอนสอบ เราควรผานหลักเกณฑพื้นฐาน มีจำนวนครั้งที่เขาเรียนครบตามที่กำหนด กรอกใบสมัคร จายคาสอบและคาสมาชิกสมาคมไอคิโดแหงประเทศไทย (ในกรณีตออายุหรือที่ยังไมไดเปนสมาชิก) เราจะสอบสายสีอะไรก็ควรตรวจสอบทาเทคนิคที่จะใชสอบ และฝกฝนจนถูกตอง คลองตัว !! หลายครั้ง การสอบก็เกิดขึ้นในวันสุดทายของการสัมนาไอคิโด หากเราสมัครสอบในชวงนั้น ก็ควรเขารวมสัมนาใหมากที่สุดเทาที่จะทำได เพื่อที่เราจะไดฝกฝนและถูกประเมินโดยอาจารยระหวางสัมนาดวย ! ในระหวางสอบ ควรอยูรวมในสถานที่สอบจนกระทั่งการสอบสิ้นสุดลง แมวาเราจะเปนคนที่สอบคนแรกก็ตาม เพราะเปนมารยาทที่ไมควรลุกออกจากสถานที่เมื่อเราสอบเสร็จโดยไมรอคนอื่น!! ถึงแมจะยังไมถึงการสอบของเรา เราก็ควรสนับสนุนผูที่จะทำการสอบคนอื่น วิธีที่ดีที่สุดก็คือสวมกีของเราและนั่งอยูที่เบาะ หากเราสามารถเปนอุเกะได ก็อาสาตัวเองชวยเหลือคนอื่น! ขณะที่การสอบดำเนินไป ควรใหความเคารพตอกระบวนการทั้งหมด หากจำเปนตองพูดคุย ใหพูดเสียงเบาๆ เคลื่อนไหวใหนอย การเดินเหินไปมา กิน ดื่ม หรือนั่งเอกเขนก ถือเปนกิริยาที่ไมสุภาพ เพราะรบกวนสมาธิของผูสอบและผูเขารวมคนอื่นๆ! ระลึกเสมอวา การฝกฝนไอคิโดไมใชมุงเนนการเลือกเฟนหาผูเปนเลิศที่สายสูงๆ แตก็เพื่อขัดเกลาบุคลิกภาพและความสัมพันธของเราตอสิ่งแวดลอมรอบตัวเรา

ลำดับขั้น(กิ้ว) ชั่วโมงฝก สายสี

๑๐ ๓๐ ช.ม. สม

๙ ๔๐ ช.ม. สมปลายฟา ๓ นิ้ว

๘ ๔๐ ช.ม. สมปลายฟา ๖ นิ้ว

๗ ๔๐ ช.ม. ฟา

๖ ๔๐ ช.ม. ฟาปลายเขียว

๕ ๖๐ วัน เขียว

๔ ๖๐ วัน เขียวปลายน้ำตาล

๓ ๖๐ วัน น้ำตาล

๒ ๖๐ วัน น้ำตาลปลายดำ ๓ นื้ว

๑ ๖๐ วัน น้ำตาลปลายดำ ๖ นื้ว

โชดั้ง ๑ ป ดำ

ชุดฝก!

ชุดฝกตามประเพณีของการฝกไอคิโดเรียกวา “กี” (Gi) ประกอบดวยเสื้อสีขาวแขนยาว กางเกงขายาวสีขาว และโอบิ (สายคาด) สีขาวหรือสีอื่นๆตามระดับ ในประเทศญี่ปุน สหรัฐอเมริกา และบางประเทศ สายคาดสีขาวสำหรับ “กิ้ว” ในทุกระดับ และจะเปลี่ยนเปนสายสีดำก็ตอเมื่อฝกจนไดระดับ “ยูดังฉะ” สวนของประเทศไทย เราใชระบบสายดังนี้

หน้า ๖

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที ่๓ วันที ่๑ มกราคม ๒๕๕๐ (ปีที ่๑)

แตเดิมนั้น การเรียนศิลปะปองกันตัวเปนสิ่งที่เกี่ยวของกับการฝกวินัยใหแกตนเอง และตลอดชีวิตของผูสอนหรือปรมาจารยจะเปนเสมือนผูทำหนาที่ใหคำปรึกษาแกลูกศิษย แตปจจุบัน สังคมไดเปลี่ยนแปลงไปจนทำใหผูสอนศิลปะปองกันตัวตองมอบหนาที่ดังกลาวไปใหแกนักจิตบำบัด

เปนเรื่องที่นาแปลกใจมากที่งานเขียนที่เกี่ยวกับศิลปะปองกันตัวมีสวนสัมพันธกับจิตบำบัดนั้นมีการกลาวถึงกันนอยมาก อยางไรก็ตาม เมื่อทำการคนควาแลวก็จะเห็นวาศาสตรทั้งสองแขนงนี้มีความคลายคลึงกันและมาบรรจบกันได

ตัวอยาง เชน PARSON (1984) ไดพบความคลายคลึงกันของนักจิตวิเคราะหกับนักศิลปะปองกันตัว กลาวคือ ทั้งคูตองเรียนรูความรูพื้นฐานและเทคนิคของตนเอง NORDI (1981) ไดศึกษาเปรียบเทียบระหวาง จิตบำบัดแบบ RATIONAL EMOTIVE THERAPY ของ ELLIS กับซามูไร ซึ่งเรียกวา “บูชิโด” วามีความคลายคลึงกัน เชน คำวา RINKIOHEN หมายถึงการปรับตัว และคำวา MUSHIN หมายถึงสภาวะที่ไรจิตสำนึก ซึ่งคำเหลานี้ก็มีความสัมพันธกับจิตบำบัด และทั้ง PARSON และ NORDI ตางก็มองวา ปรมาจารยของทั้งสองดานนี้เปนเสมือนองคประกอบที่สำคัญที่สุด

SAPOSNEK (1980) ไดกลาววา หลักพื้นฐานของศิลปะปองกันตัวแบบไอคิโด (AIKIDO) กับเทคนิคที่ใชในจิตบำบัดครอบครัว (FAMILY THERAPY) มีความคลายคลึงกันคือ ทั้งคูจะใชแนวทางของปฏิสัมพันธ (INTERACTION APPROACH) ในการมองรูปแบบปญหาและการแกไขปญหาที่เปนวงกลม การยืดหยุนตอการแกไขปญหา หลักแหงความกลมกลืน การแผขยายพลังเพื่อรับการโจมตีจากฝายตรงขาม การสลายพลังตานทานจากฝายตรงขาม รวมทั้งการแกไขปญหา หรือการจัดการกับฝายตรงขามดวยการใชสติปญญา

* ภาควิชาจิตเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใมแปลและเรียบเรียงจาก Journal of Medical Psychology. Martial Art And Psychological Health

อ.ธีระรัตน บริพันธกุล*

ศิลปะตอสูปองกันตัวในมุมมองของนักสุขภาพจิต (๒)

ศิลปะป้องกันตัวเป็นเสมือนจิตบำบัด

หน้า ๗

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที ่๓ วันที ่๑ มกราคม ๒๕๕๐ (ปีที ่๑)

REINHART (1985) ไดโยงไอคิโดเขากับจิตบำบัดอยางหนึ่งที ่สงเสริมความสมบูรณของบุคลิกภาพและการคนพบตัวเองโดยใชวิธีการเคลื่อนไหวรางกาย รวมทั้งมีการพูดคุยกันถึงเรื่องที่จะผสานศาตรทั้งสองแขนงนี้ เพื่อนำไปใชใหไดผลอยางจริงจังตอไป

การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับ การนำศิลปะปองกันตัวไปใชในเชิงจิตบำบัดยังมีคอนขางนอย KONZAK & BOUDREAU (1984) กลาวถึงการนำเอาวิชาคาราเตมาสอนในกลุมผูที่มีความบกพรองทางกายและทางเชาวปญญา ในกลุมนักธุรกิจ ในกลุมผูปวยจิตเวชและผูตองขัง FLOS-DORF (1983) ไดกลาววา การฝกศิลปะปองกันตัวอาจเปนสิ่งที่มีคุณคาตอเด็กที่มีปญหาทางดานพฤติกรรม แตอยางไรก็ตามมีรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องนี้นอยมาก

TRULSON (1986) ไดศึกษาเด็กจำนวน 34 คน ซึ่งมีบุคลิกภาพแบบอันธพาล (ไดจากผลการทดสอบดวย MMPI) แลวแบงเด็กออกเปนสามกลุม กลุมที่หนึ่ง ไดรับการฝกเทควนโดเปนเวลา 72 ชั่วโมง กลุมที่สอง ไดอานหนังสือเกี่ยวกับศิลปะการตอสูและปองกันตัวแบบเทควนโด สวนกลุมที่สามซึ่งเปนกลุมควบคุม จะไดรับการสอนใหรูจักกีฬาตาง ๆ หลังจากหกเดือนแลวก็มีการทดสอบซ้ำดวยแบบทดสอบ MMPI, SELF REPORT และ PROJECTIVE TEST เพื่อดูความกาวราว

ผลการศึกษาปรากฏวา กลุมที่หนึ่งมีการลดลงของความกาวราวและความวิตกกังวล และมีการเพิ่มขึ้นของความภูมิใจในตนเองและความสามารถในการเขาสังคม ในกลุมที่สอง ยังคงพบล ักษณะท ี ่ เ ด นช ัดของความก าวร าวและบุคลิกภาพแบบอันธพาล สวนในกลุมที่สามนั้น มีการเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กนอยในดานความภูมิใจในตนเองและความสามารถทางเชาวปญญา

จากการติดตามผลเปนเวลาหนึ่งป ยังคงพบลักษณะแนวโนมของพฤติกรรมแบบอันธพาลในกลุมที่สองและสาม แตไมพบในกลุมที่หนึ่ง TRULSON ไดกลาววา ผลที่ไดจากการฝกศิลปะปองกันตัวเปนสิ่งที่เกิดจากการทำสมาธิ การสอนขอคิดในเชิงปรัชญา การเนนในเรื่องของความเคารพคนอื่น ความฟตของรางกาย ความอดทน ความซื่อสัตย และจิตสำนึกของความรับผิดชอบ

MADELIAN (1979) รายงานการศึกษาเพียงชิ้นเดียวที่เกี่ยวกับการนำศิลปะปองกันตัวไปเปรียบเทียบกับจิตบำบัด กลุมที่ศึกษาเปนเด็กชายอายุ 12 -14 ป จำนวน 66 คน ซึ่งถูกสงไปยังศูนยสุขภาพจิตดวยปญหาทางพฤติกรรม แบงกลุมเด็กออกเปนสามกลุม กลุมที่หนึ่งไดรับการฝกศิลปะปองกันตัวแบบไอคิโด 16 ครั้งนานเปนเวลาสี่เดือน กลุมที่สอง ไดรับจิตบำบัดชนิดรายบุคคล กลุมที่สามเปนกลุมควบคุมตัวแปรที่จะวัด คือ SELF CONCEPT (แนวความคิดที่มีตอตนเอง) ซึ่งจะสงผลตอการปรับตัวและความสำเร็จในดานการเรียน

หน้า ๘

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที ่๓ วันที ่๑ มกราคม ๒๕๕๐ (ปีที ่๑)

หน้า ๙

หมายเหตุ : บทความนี้ตีพิมพ์คร้้งแรกที ่“วารสารจิตวิทยาคลีนิค” กรกฎาคม ธันวาคม ๒๕๓๕

ปีที ่๓ ฉบับที ่๒

จากการทดสอบดวย PIERS-HARRIS SELF CONCEPT SCALE พบวา กลุมที่หนึ่งจะมี SELF CONCEPT หรือความคิดความรูสึกที่เกี่ยวกับตนเองดีขึ้นมากกวาในกลุมที่สอง และไมพบความเปลี่ยนแปลงในเรื่อง SELF CONCEPT ในกลุมที่สาม

HECKLER (1984) ซึ่งเปนทั้งนักจิตวิทยาและนักไอคิโด ไดนำเสนอการใชศิลปะปองกันตัวแบบไอคิโดไปประยุกตใชรวมกับการรักษาแบบจิตบำบัดเปนรายบุคคล ถึงแมจะยังไมมีการประเมินผลในระยะแรกของการศึกษาก็ตาม แตเขาก็นำเอาหลักพื้นฐานของไอคิโดไปใช เชน ความเปนศูนยกลางของพลัง การมีฐานหรือการทรงตัวที่มั่นคง การผอนคลาย การแผพลัง และการเคลื่อนที่อยางกลมกลืน

สิ่งเหลานี้จะนำไปสูการกอใหเกิดจิตสำนึกและความสมบูรณของบุคลิกภาพในผูปวยที่มีปญหาทางอารมณ การฝกฝนจะคอนขางเรียบงายและมุงสูการนำเอาวิธีการตางๆเขาแกไขความขัดแยงที่ผูปวยเผชิญอยูในสิ่งแวดลอมรอบตัวเขาเอง

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที ่๓ วันที ่๑ มกราคม ๒๕๕๐ (ปีที ่๑)

Aikido: Non-Violent Approach in Peace making

“Thump!”

Forceful sounds of human body slamming against the white mat. Ping, a high school student from the Prince’s Royal College, slaps his left arm on the mat to absorb the fall of his body. His practice partner, a man in a white top with loose black pants moves in quickly and locks his right arm up tightly. Ping cannot move any longer.

After a few seconds, Ping is freed. He quickly stands up and raises his left arm, positioning it like a sword. He chops down on his partner, the high ranking practitioner who makes a circular movement as he grabs Ping’s left wrist, twists, and throws him on the floor.

“Thump!”

Then they start everything all over again, but this time Ping is the one who applies the Aikido technique.

Aikido is a Japanese martial art. Dif-ferent practitioners find aikido answer their own different interests whether they are applicable self-defense technique, spiritual enlightenment, physical health, or peace of mind. On a purely physical practice, aikido is an art of stopping an aggressive act by using some throws and joint locks. Punching or kicking the op-ponents is not in focus of aikido, but rather on using the opponents own en-ergy to gain control over them or to throw them away. Movement in aikido is not static, but dynamic. Aikido places great emphasis on spherical rotation characterized by flowing, circular, and dance-like motions with firm and stable center.

หน้า ๑๐

Narumol (Kop) Thammapruksa

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที ่๓ วันที ่๑ มกราคม ๒๕๕๐ (ปีที ่๑)

Every Monday, Wednesday, and Friday from 6 – 8 p.m., Ping and mem-bers of the Chiang Mai University Aikido Club practice on the ground floor of the Student Union Building. Regular members include both Thai and interna-tional students and non-students who practice diligently.

“I first came to the Aikido class early last year. My aim was to learn how to fight. In my school, there are many boys who love fighting. I seek to learn martial arts then I can win over them.” Ping said with big smile.

“Aikido is about protecting, not harm-ing others,” Dr.Sombat Tapanya, CMU Aikido master and assistance professor at the Faculty of Medicine explains basic techniques of Aikido, “it is not just a sport, but a way of life, as the Japanese word ‘do’ suggests.” Originated in Japan O-Sensei, Mori-hei Ueshiba (1883 - 1969) the founder of Aikido, combined the techniques of a variety of martial arts forms with a strong spiritual belief in love, peace, and harmony. As a result of this unique com-bination, aikido is beautiful and flowing, yet also powerful and effective.

The literary meaning of the word Aikido is: Ai - love or harmony Ki - energy, spirit and life (similar to Chinese word “Chi”) Do - the way or path

“Aiki is love. It is the path that brings our hearts into oneness with the spirit of the universe to complete our mission in life by instilling in us a love and reverence for all of nature,” these are words that O-Sensei used in describing the spirit of Aikido.

Kanshu Sunadomari, was a live-in student of the founder of Aikido. He dedicated his life to the studying of the philosophical and spiritual teaching of Aikido. He states in his book “Enlightenment through Aikido” that Aikido is the way of express-ing love through physical techniques.

At the beginning of each practice at his dojo, practitioners recite the spirit of Aikido. “It (aiki) not only takes hostility from our heart, but transforms those who appear as enemies into enemies-no-more” This is a reminder for all practitioners to turn the opponents in the quarrel or fight into friends.

หน้า ๑๑

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที ่๓ วันที ่๑ มกราคม ๒๕๕๐ (ปีที ่๑)

In diligent training, the aikido practitio-ners train their body, mind, as well as spirit at the same time. They also unconsciously practice “Budo” - the way of the warrior - by incorporating humanity, love, and sin-cerity of bravery, wisdom, and empathy.

In aikido practice, two practitioners pair up and apply the technique over one another. There is no such thing as enemy but both of the partner practice together. They do not compete with anyone else but themselves. “Uke” is a term used to de-scribe the practice partner who acts like an attacker. “Nage” is the one who applies a technique. By using Aiki confluence, the Nage must move in harmony with and try to blend into the attack of the Uke whether by throwing or leading him into an unmovable position. They would switch roles back and forth so both can be skillful as “Uke” and “Nage.”

Dealing with conflict means to bring the offender back to balance and regain harmony, - neither being afraid nor angry but keeping

good center. Terry Dobson and Victor Miller used the word “attack-tics” in their book “Aikido in daily life” to describe the way of using aikido movements as meta-phors to handle all forms of social or psy-chological attack. “Giving in to get your way” is the sub-title of their book.

Everyday many people are victim-ized, injured, and died from wars in many parts of the world. Racial con-flicts, religious strife,

differences in thinking styles, and eco-nomic factors are among the various problems that lie at the root of this bloodshed and violence. “I am right and you are wrong”, this way of thinking contribute to further conflicts that exist in the world today that divides people into “we” and “they”, the “enemies”.

O-Sensei wrote in his book “Budo” (p.31) that “the appearance of an “en-emy” should be thought of as an oppor-tunity to test the sincerity of one’s men-tal and physical training.” He continued “Once facing the realm of life and death one must be firmly settled in mind and body and transform your en-tire body into a true sword.”

In essence, the sword is the soul of warrior. When you draw a sword you are holding your soul in your hands. Once body and spirit become harmo-nized this sword can cut through false-hood and evil. (That can be called as “Avija” or ignorance in Buddhism)

หน้า ๑๒

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที ่๓ วันที ่๑ มกราคม ๒๕๕๐ (ปีที ่๑)

หน้า ๑๓

When people get angry and want to attack someone, whether physically or verbally, they already lose their balance. The receiver can apply aikido technique by giving in first. That means to be open for the attack and absorb aggressive energy by drawing it out in the direction we want, moving along in harmony, turning in the appropriate manner, and then throwing or pinning the attacker down to finally neutralize the at-tack.

There is not one perfect approach to peace making. In Aikido, there are hundreds of techniques to stop conflict by not using violence. It is important that the more you practice those techniques the more options you will have avail-able based on your own assessment of the conflict situation.

“The practice of aikido is not about cor-recting what’s wrong with the world or in other people, but about changing yourself so that you can inspire others to change as well,” concludes Dr. Sombat.

Practicing Aikido is the way to personal growth and spiritual trans-formation. The spirit of aikido may be discovered only through the prac-

tice of techniques, and techniques may be improved when the spirit is embraced.

“After two years of learning how to neutralize and control other people’s attack, I no longer want to fight. I don’t want to hurt anyone” Ping admitted, again with a big smile.

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที ่๓ วันที ่๑ มกราคม ๒๕๕๐ (ปีที ่๑)

          อูเกมิ เปนคำญี่ปุน บนเบาะเราพูดกันวา "ลม"              เท็คนิคไอกิโด มีอาเตมิ มีการควบคุม  และมีการทุม                เมื่อมีผูทุมยอมมีผูถูกทุม  ถูกทุมแลวทำอยางไรไมใหเจ็บ จะไดลุกขึ้นมาฝกกันอีก  P จึงตองมีอูเกมิ มีวิธีการลม

               ผมแบงอูเกมิเปน ๒ แบบ คือ                     ๑ กลิ้งไป กลิ้งไปขางหนา คือ มวนหนา  และกลิ้งไปขางหลัง คือ มวนหลัง  วิธีการกลิ้งมีรายละเอียดแตกตางกันไปตามผูสอน  ถามวนแลวกลมๆ ไมเจ็บตัว เปนธรรมชาติ ใชงานไดทันทีโดยไมตองตั้งทานาน  อันนั้นคือ ถูกตอง ใชได                     การกลิ้งเปนการลมที่เบา  ถาถูกทุมแลวกลิ้งไดควรกลิ้ง  การเลือกจะลมโดยการกลิ้งหรือจะลมโดยใชวิธีอื่นไมมีเวลาคิดนาน  ถาตองคิดก็ไมทันแลว  การตัดสินใจตองใชเวลานอยมาก คือ ใชความรูสึก เหมือนเปนไปโดยอัตโนมัต ิ โดยสัญชาติญาณ  จะทำอยางนี้ไดตองฝกมากๆ

                     ๒. การลมโดยการตบเบาะ  เมื่อถูกทุมในลักษณะลอยลงมาฟาดพื้น  ไมสามารถกลิ้งได  จะตองกระจายแรงที่พื้นกระทำตอรางกายออกไปตามพื้นที่รางกายใหมากที่สุด  เพื่อใหความกดดันลดลง(ความกดดัน มีคาเทากับ แรง หารดวย พื้นที่ที่แรงกระทำ)  เชน สมมุติมีแรงกระทำ ๑๐ ก.ก. ถากระทำบนพื้นที่ ๑ ตร.ซ.ม.  ความกดดันมีคา ๑๐ ก.ก./ตร.ซ.ม.  ถาเพิ่มพื้นที่รองรับใหเปน ๑๐๐ ตร.ซ.ม.  ความกดดันจะมีคาลดลงเหลือเพียง ๐.๑ ก.ก./ตร.ซ.ม.    ใหสวนของรางกายที่นำมารับการกระจายแรงเปนสวนที่แข็งแรงพอที่จะรับแรงไดมากพอที่จะไมบาดเจ็บ  เราใชแขนทั้งทอนและฝามือที่ฟาดเหยียดออกตีพื้นในจังหวะพอดีที่รางกายกระทบพื้นเปนสวนหนึ่งของพื้นที่กระจายแรง  แขนทำมุมประมาณ ๔๕ องศากับลำตัว  ถาถูกทุมหลังลงพื้นโดยเอียงไปขางใดขางหนึ่งเล็กนอยเราใชแขนและฝามือขางนั้นตีพื้นโดยแรงเพียงขางเดียว  มืออีกขางที่ไมไดใชตีเบาะอาจสัมผัสไวที่ชายโครงฝงเดียวกับดานที่ใชตีเบาะ  ใชดานขางของลำตัวเยื้องไปทางดานหลัง(ดานเดียวกับแขนและฝามือที่ตีพื้น)ชวยรับแรงดวย  และใชดานขางของสะโพก,ดานขางของขาที่งอเล็กนอยและดานขางของเทา(ขางเดียวกับแขนและฝามือที่ตีพื้น)ชวยรับแรงดวย  ขาอีกขางจะงอเล็กนอย  ดานในหรือฝาเทาของเทาขางนั้นจะชวยรับแรงดวย  แยกขาทั้งสองขางใหหางกันพอควร  ไมเชนนั้นเขาและตาตุมจะกระแทกกันเจ็บ  สำหรับผูชายถาไมแยกขาออกใหดีอัณฑะอาจถูกหนีบจุกได    สวนคอนั้นใหกมไว  ศีรษะจะไดไมกระแทกพื้น ตามองไปที่มือที่ตีเบาะ    ถาลมหงายหลังลงไปตรงๆใหกมศีรษะตามองที่สะดือหรือหัวเข็มขัดไว  ใชแขนและฝามือทั้งสองขางตีเบาะพรอมๆกันขณะที่หลังสวนบนเริ่มสัมผัสพื้น  (ในกรณีนี้ไมสามารถใชสวนอื่นของรางกายชวยกระจายแรงได)   ตองมีกลามเนื้อคอที่แข็งแรงเพื่อที่จะไมใหศีรษะสะบัดหรือหงายกระแทกพื้น 

โดย นพ.กฤษณชัย ไชยพร

การฝกไอคิโดในความคิดของผมอูเกมิ

หน้า ๑๔

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที ่๓ วันที ่๑ มกราคม ๒๕๕๐ (ปีที ่๑)

! ผูทุมที่มีความสามารถและตองการชวยเหลือผูถูกทุมใหตบเบาะไดงายขึ้นจะทุมอยางถูกตองสวยงามตอเนื่อง  ชวยจัดระยะความสูงให  ชวยจัดทาทางในการลงสูพื้นใหผูถูกทุม   อาจชวยดึงเล็กนอย*ในจังหวะที่เหมาะสม*เพื่อชวยลดแรงกระแทก(ตรงนี้เสื้อฝกที่แข็งแรงจะชวยไดดีเพราะดึงแลวไมขาด)   การทุมที่ถูกตองสวยงามตอเนื่องจะทำใหมีแรงเหวี่ยงฟาดพื้นและการเคลื่อนที่อยางพอเหมาะ  บางครั้งผูถูกทุมอาจแทบไมตองออกแรงตบเบาะเลยเพียงปลอยไปตามธรรมชาติของการเหวี่ยงก็สามารถลงสูพื้นไดโดยปลอดภัย                        การทุมที่ไมถูกตองตะกุกตะกักจริงๆแลวมักจะทุมไมได  แตบางครั้งผูถูกทุมก็ออนให ยอมใหทุมไดเพื่อใหผูทุมที่ยังไมเกงไดมีโอกาสทุมบาง  อันนี้จะเปนภาระของผูถูกทุมเพราะลงลำบากมีโอกาสเจ็บตัว  แตคนที่แข็งแรงและเกงมากจะลงไดไมวาผูทุมจะทุมอยางไร  เขาจะปรับทาทางและแรงตั้งแตเริ่มสัมผัสกัน  รูวาเมื่อไรควรทรงตัวเมื่อไรควรออนตาม   อูเกมิที่ดีเริ่มมาแลวตั้งแตกอนการสัมผัสพื้น   อีกปจจัยหนึ่งที่สำคัญมากของการลม คือ"พื้น" ที่จะลม  โรงฝกที่มีพื้นดี คือมีเบาะที่ตอกันสนิทราบเรียบ  ไมแยกตัวออก ไมมีรองมีปุม  ไมออนยวบยาบ มีความแข็งพอที่จะผูฝกจะเคลื่อนที่ไดอยางมั่นคง  สามารถซับแรงกระแทกจากการลมไดดี  สะอาด  เบาะวางอยูบนพื้นที่ชวยผอนแรงกระแทกอีกขั้น เชน พื้นไมที่ยกสูงขึ้นมา  จะชวยลดความสะเทือนจากการลมที่มีตอรางกายผูถูกทุม  ผูฝกสามารถฝกกันไดเต็มที่และบอยครั้ง   ผูฝกที่ลมบนเบาะที่วางบนพื้นซีเมนตจะไดรับแรงกระแทกรุนแรงกวาเบาะที่วางบนพื้นไมดังกลาว                      ความสามารถที่จะลมไดดีมีความสำคัญมาก  เพราะนอกจากทำใหผูถูกทุมไมเจ็บ ฝกไดนาน ฝกไดบอยแลว ยังทำใหผูฝกการทุมสามารถพัฒนาและทำเท็คนิคไดเต็มเท็คนิคโดยไมตองกังวลหรือยั้งมือจนเกินไป 

ไมมีอูเกมิที่ดี  ยอมไมมีการฝกทุมที่สมบูรณ

หน้า ๑๕

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที ่๓ วันที ่๑ มกราคม ๒๕๕๐ (ปีที ่๑)

! ตอนนี้ หลายๆวงการกำลังตื ่นตัวกับคำวา “สมานฉันท” และ “สันติภาพ” และดูเหมือนวา รัฐพยายามผลักดันใหเปนวาระแหงชาติอีกวาระหนึ่งไปแลว แตคำๆนี้ จะกลายเปนแคแฟชั่นวูบวาบหรือเปลา ก็ยังตองดูกันยาวๆตอไป คนธรรมดาๆคนนี้ก็เอาใจชวยรัฐมนตรีกระทรวงพัฒนาสังคมฯอีกแรง

! เห็นขาววาทานรัฐมนตรีเปรยๆมาวาจะสงเสริมสถาบันสันติวิธีขึ้นในระดับทองถิ่น ผมก็เห็นดวยนะครับ และมิอาจจะไปวิพากษวิจารณอะไร ตองใหเวลาทานทำงาน และสังคมตื่นตัวกันมากกวานี้ อยางไรก็ตาม ผมก็มีประสบการณการสอนสันติวิธีที่ทำมากือบปแลวไดเสียงตอบรับคอนขางดี มาเลาสูกันฟงนะครับ

! ที่อำเภอปางมะผา ซึ่งเปนอำเภอเล็กๆของจังหวัดแมฮองสอน เปนโรงเรียนในโลกกวางของผม ที่นี่ ผมไดทดลองเปนครูอาสาฝกสอนศิลปการตอสู ที่เรียกวา “ไอคิโด” ที่ร่ำเรียนมาจากชมรมไอคิโด มหาวิทยาลัยเชียงใหมใหกับเด็กและเยาวชนที่นี่ ทำมาไดเกือบหนึ่งปแลว ยังไมมีเงินสนับสนุนจากที่ไหน อาศัยทุนตัวเองนี่แหละครับ และบางสวนเด็กๆก็กันเงินอุดหนุนจากโครงการบางอยางมาชวยบาง เพื่อนๆรุนพี่รุนนอง อาจารยจากชมรม ที่มหาวิทยาลัยเชียงใหมก็บริจาคชุด บริจาคเบาะฝกมาชวยก็เปนกำลังใจสำคัญ

!

! แรกๆ ผมก็ชวนเด็กวัยรุนแถวบานมาฝกดวย เพราะปกติแลว ผมจะไปฝกซอมที่ชมรมในมหาวิทยาลัยทุกเย็น มาทำงานอยูไกลอยางนี ้ถาไมซอมเลย เดี๋ยวฝมือตก แรกๆ ผมคิดอยางนี้ ไมไดคิดวามันจะมีพลังไปขับเคลื่อน หรือสรางแรงบันดาลใจอะไรใหกับใคร ซอมไปซอมมา เอ ชัก มันส แมจะมีคนมาฝกกันนอย เพราะ ไอคิโดเปนศิลปการตอสูที่ยาก ที่ยากนี ้คือ มันไมมีการเตะตอยหรือเจตนาทำรายคูตอสู ไมมีการแขงขัน หรือใหรางวัล ตัดสินแพชนะ แตตองทำใหคูตอสูยุติความกาวราวที่มีตอเราอยางละมุนละมอมที่สุด ไมไดเปนแบบบูลางผลาญแบบหนัง action-hero ที่อุตสาหกรรมภาพยนตรเมืองนอกที่สรางขึ้นมาลางสมองเด็กบานเรา นี่คือสิ่งที่แฝงอยูลึกๆในทวงทาการหักขอตอ การทุม การล็อคและปลดล็อค ซึ่งเปนเทคนิคตางๆในไอคิโด

พูดงายๆ ก็คือหลักการ win – win นั่นเอง

! เด็กๆตองผานการทดสอบตัวเอง แรกทีเดียว ก็เริ่มดวยการฝกความกลาที่จะฝก เมื่อฝกตอนมาใหมๆ ก็จะตองกลาที่จะถูกเพื่อนหัวเราะเยาะในความเงอะงะ และกลาที่จะบาดเจ็บบาง

..............หลายๆคนยกธงขาวตั้งแตจุดนี้แลว............

แตก็มีหลายคนที่กาวผานไปได

สันติวิธีเชิงปฏิบัติในชั่วโมงฝกศิลปะการตอสู

วิสูตร เหล็กสมบูรณ

หน้า ๑๖

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที ่๓ วันที ่๑ มกราคม ๒๕๕๐ (ปีที ่๑)

! ผานจุดนั้นมา เด็กที่มีฝมือขึ้นก็จะเริ่มกลาที่จะอดทนตอความโกรธหรือความกาวราวของตน หมายความวา การฝกตองสุขุม ใจรอน วูวามไมได เราอาจจะถูกคูฝกทำใหเจ็บ แตหามเอาคืนเด็ดขาด และไมมีการชิงลงมือใหคูตอสูบาดเจ็บ นอกจากนี้ ผูฝกตองกลาที่จะออนนอมยอมรับคำวิจารณอยูเสมอ แมจะฝกมาสิบป ก็ยังตองปรับปรุงตัวตลอดเวลา คูฝกของเรา ไมวา เด็ก ผูเฒา สตรี จะเพศใด วัยใด ศาสนา เชื้อชาติใด ลวนเปนผูสอนใหเราเขมแข็งจากภายในไดเสมอ จึงตองมีน้ำใจกับคูตอสู และถือเปนจริยธรรมสำคัญที่ผูฝกตองถือปฏิบัติเปนสำคัญ

! ที่กลาวมานี้ จะเห็นไดวา จากจุดเล็กๆที่ผมเคยคิดวาจะหาคนมารวมฝกซอม เพียงเพื่อรักษาระดับฝมือตัวเอง พอขยายวงออกไป วัตถุประสงคก็เปลี่ยนไป กลายมาเปนการสรางวัฒนธรรมยอยๆใหเด็กและเยาวชนเรียนรูสันติวิธีโดยใชศิลปการตอสูเปนเครื่องมือจูงใจ

! ผมคนพบวา สันติวิธ ี ตองปลูกฝงกันตั้งแตเล็กๆเลยทีเดียว มิใชเอาผูใหญมาอบรมกินกาแฟกันตามโรงแรมหรูๆ สันติวิธีมิเพียงแตตองฟูมฟกมาแตเยาววัย หากแตตองเรียบงายและเนนภาคปฏิบัติมากกวาทฤษฎ ี ทั้งยังควรจะมีบรรยากาศเอื้อตอการเรียนรู เชน สนุก สรางสรรค และที่สำคัญคือตองมีอิสรภาพอยางตอเนื่อง หากขาดซึ่งปจจัยเหลานี้แลว ก็เหมือนมีเมล็ดพันธุนอยๆแตขาดปุยขาดน้ำที่ด ี สันติวิธีก็จะเติบโตกระพรองกระแพรง

! และสันติวิธ ีนาจะเกิดขึ้นจากการหยั่งรูจากภายใน หรือบรรลุมาจากภายในจิตเปนสำคัญ การสอนสันติวิธีไมวาจะใชงบประมาณ หรือบุคลากรมากมายเพียงใด แตใชรูปแบบของระเบียบบังคับ หรือใชอำนาจเพื่อสรางสันติวิธ ี จึงเปนสิ่งที่ขัดแยงและสูญเปลาอยางยิ่ง และทั้งหมดที่กลาวมานี้ ตองอาศัยความกลาหาญ กลาที่จะถูกหัวเราะเยาะ กลาที่จะเจ็บปวด กลาที่จะอดทนตอความกาวราวของตน และกลาที่จะออนนอมยอมรับคำวิจารณอยูเสมอ เปนคุณธรรมที่สำคัญ

! วันนี้ ที่ปางมะผา มีเด็กและเยาวชนกลุมหนึ่งตั้งชุมนุมไอคิโดขึ้นมา เรามีการฝกเปนประจำกันที่ โรงเรียนอนุบาลปางมะผา โรงเรียนศูนยปางมะผา และกำลังจะไปสานตอที่โรงเรียนราชประชานุเคราะห 34 ผมดีใจทุกครั้ง ที่เห็นเด็กๆมารอฝก และพูดคุยกับผมอยางยิ้มแยมแจมใส เปนกันเอง ทั้งๆที่เราไมมีคะแนน ไมมีการเช็คชื่อ ไมมีการออดออน เอาใจใหเด็กมาเรียน ใครพรอมจะเรียนก็เชิญเขามา แตก็ตองเคารพกติกาการฝก เพื่อมิใหรบกวนผูอื่น หรือเสี่ยงตอการบาดเจ็บ ก็เทานี้

! ผมดีใจที่เด็กๆเริ่มตั้งชุมนุมไอคิโดและสันติวิธีขึ้นในบางโรงเรียนแลว เราหวังอยูลึกๆวา สันติวิธีในเชิงปฏิบัติเชนนี้ จะไดรับการสนับสนุนจากองคกรปกครองสวนทองถิ่น และองคกรพัฒนาภาครัฐและเอกชนมากขึ้นในสักวัน

C สันติวิธีมิเพียงแตตองฟูมฟกมาแตเยาววัย หากแตตองเรียบงายและเนนภาคปฏิบัติมากกวาทฤษฎี ทั้งยังควรจะมีบรรยากาศเอื้อตอการเรียนรู เชน สนุก สรางสรรค และที่สำคัญคือตองมีอิสรภาพอยางตอเนื่อง

หน้า ๑๗

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที ่๓ วันที ่๑ มกราคม ๒๕๕๐ (ปีที ่๑)

ทุกศิลปะการตอสูปองกันตัวลวนมีปรัชญาของตัวเอง เพื ่อเปนแนวทางใหผู ฝกฝนไดโนมนำจิตใจของตนใหกาวไปสูจุดหมายที่แทจริงของศิลปะการตอสูและปองกันตัวนั้นๆ และเนื่องจากศิลปะการตอสูสวนใหญลวนมีตนกำเนิดจากประเทศแถบเอเซีย โดยเฉพาะประเทศญี่ปุ น ซึ่งศาสนาที่มีอิทธิพลตอจิตใจอยางมากก็คือศาสนาพุทธนั่นเอง

เมื่อกลาวถึง " ไอคิโด " อันเปนศิลปะการตอสูปองกันตัวแขนงหนึ่งที่มีตนกำเนิดจากประเทศญี่ปุน ปรัชญาของไอคิโดจึงมีความสัมพันธอยูกับแนวคิดทางพระพุทธศาสนา นิกายเซน ซึ่งเปนนิกายที่มีคนนับถือกันมากในประเทศญี่ปุ น ดังนั้น ปรัชญาของไอคิโดจึงเปนไปในแนวทางที่จะกอใหเกิดสันติมากกวาจะกอใหเกิดการแขงขันหรือสงคราม ตรงกับหลักการของศาสนาที่มุงใหคนมีเมตตาตอกัน

หัวใจของการปฏิบัติแบบเซนนั้น ก็คือการไดเขาถึงจิตแทดั้งเดิมของตัวเรา นั่นก็คือความวาง ซึ่งการจะเขาถึงความวางอันนี ้จะเกิดขึ ้นไดโดยการปฎิบัติเทานั้น อยางเชน ซามุไรในสมัยกอนที่ฝกฝนวิชาดาบจนสามารถบรรลุถึงสัจธรรมนี้ได เปนตน ดังนั้นการที่จะเขาถึงความวางอันเปนสัจธรรมนี้ นอกจากการฝกสมาธิภาวนาแบบเซนแลว ยังอาจเขาถึงไดโดยการฝกฝนศิลปะการตอสูตาง ๆ หรือศิลปะแขนงอื่น อยางเชน ไอดิโด หรือศิลปะการชงชาของญี่ปุน ดวยเชนกัน

ในปรัชญาของไอคิโด ก็ไดมีการกลาวไวในทำนองเดียวกันเกี่ยวกับความวาง ดังคำกลาวที่วา

" if you have not linked yourself to true emptiness , you will never un-derstand the Art of Peace.” (จาก The Art of Peace แปลโดย จอหน โอ สตีเวน)

ปรัชญาในไอคิโดเรียบเรียงโดย ซาโตริ

ซึ่งไดกลาวถึงการกลับเขาเปนหนึ่งเดียวกับความวางที่แทจริง สูความมีที่ไมมี การเริ่มตนและสิ้นสุดไดหยุดลง อันเปนธรรมชาติดั้งเดิมของมนุษยและสรรพสิ่ง ดังนั้นการฝกไอคิโดในขั้นที่สูงขึ้นจึงพยามไมใหยึดติดกับรูปแบบของการโจมตี และเทคนิคที่จะใช โดยปลอยใหเปนไปตามธรรมชาติ ปลอยจิตใหวาง รับรูตามที่เปนอยูจริง รับรูถึงจุดศูนยกลางของตัวเองและการเคลื่อนไหวของคูฝก โดยไมปรุงแตงความคิดในขณะที่ฝกวาตองทำอะไร หรือใชเทคนิครับการโจมตีแบบไหน เพราะวาเมื่อมีการคิดถึงอะไรบางอยาง เรายอมสรางความมีอยูของตัวตนอยางใดอยางหนึ่งขึ้นมา หรือแมวาการคิดถึงความไมมี เราก็ยอมสรางความมีอยูของความไมมีอะไร ขึ้นมาอีกอยางหนึ่ง แลวรางกายของเราก็จะถูกปะทะดวยการโจมตีทันที

การคิดในทำนองที่ผิด ๆเชนนี้ จึงตองทำใหสูญสิ้นไปโดยเด็ดขาด แลวก็จะไมมีอะไรเหลืออยูใหเราตองตอสู หรือเที่ยวแสวงหาอีกตอไป สิ่งเหลานี้จึงเห็นไดชัดเจนในผูที่ฝกไอคิโดใหม ๆ ที่มักจะมีอาการเกร็งเมื่อถูกจูโจม เพราะพวกเขายังคงยึดติดในตัวตนอยูมาก หรือ ที่เรียกวา มี อีโกสูงนั่นเอง ดวยเหตุนี้เองการฝกไอคิโดจึงเปนการลดความยึดมั่นในอัตตาตัวตนของคนลงไดทางหนึ่ง

ดังนั้นการฝกไอคิโดจึงมิใชเปนเพียงการฝกฝนเทคนิคการปองกันตัวเทานั้นแตยังเปนการฝกฝนจิตใจใหสงบ ออนโยนและเขาถึงสัจธรรมอันแทจริงในที่สุด ฉบับหนาถามีโอกาสไดเขียนอีกจะนำเอาปรัชญาของไอคิโดที่นาสนใจและเปนประโยชนตอการฝกมาฝากกันอีกนะครับ

ขอมูล : จาก http://omlc.ogi.edu/aikido/talk/ คำสอนฮวงโป สำนักพิมพธรรมสภา

หน้า ๑๘

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที ่๓ วันที ่๑ มกราคม ๒๕๕๐ (ปีที ่๑)

มาเยี่ยมมาเยือน

เอเดรียน ซาเวียร ไดรับการยอมรับจาก Ki no Kenkyukai ในปค.ศ. ๒๐๐๑ ใหเปนผูฝกสอน และไดเลื่อนขั้นเปนสายดำขั้นที่สองเมื่อป ๒๐๐๒ มอบสายโดยอาจารย Roby Kessler จาก Ki Society ประเทศออสเตรเลีย นอกจากนั้นยังไดรับขั้นโชดั้งในดาน Ki development มอบโดยอาจารยคาตาโอกะจาก Ki no Kenkyukai (ประเทศญี่ปุน) ในขณะที่อาจารยคาตาโอกะไดมาเยี่ยมเยือนออสเตรเลียในป ๒๐๐๓ เมื่อเดือนมีนาคมที่ผานมานี้ เอเดรียนไดรับสายดำขั้นสามและไดรับใบประกาศนียบัตรจากอาจารย Stoopman ในระหวางการสัมนาการสอบสายระดับประเทศ ใหเปนผูสอน ทุกวันนี้ เอเดรียนเปนอาจารยฝกสอนไอคิโดที่โดโจเซซิน ณ เมืองเซเวนฮิลล

! จุดหมายสูงสุดของคุณเอเดรียนคือ! “Let us have a universal spirit that loves and protects all creation and helps all things grow and develop to unify mind and body and become one with the universe is the ultimate purpose of my study”! “ขอใหพวกเรายึด จิตวิญญาณแหงจักรวาล ซึ่งรักและคุมครองทุกสิ่งมีชีวิต และชวยใหทุกสรรพสิ่งเจริญเติบโตและพัฒนาขึ้นดวยจิตวิญญาณที่เปนหนึ่งเดียวกับรางกายและหลอมรวมเปนหนึ่งเดียวกับ จักรวาล” ท่ีอยู: Brisbane Ki Aikido, Seisin Dojo CC C/O- Adrian XavierC 461 Montague RoadC West End 4101

Adrian Xavier Oliver Thorne

I am 27 years old and from the UK. I came to Chiang mai to study Thai mas-sage. I was happy to be able to come and practice AIkido here at Chiang Mai Uni-versity for the last two months and espe-cially happy to be offered to help teach, most enjoyable has been teaching the chil-dren from Baan Rom Sai, to see children training in Aikido is a very special experi-ence.

I have been practicing Aikido for the last 3 years, living as a personal student in Switzerland. Studying Aikido daily helped me to progress very quickly and now i can share that with others. I was lucky to meet several great teachers over the past 3 years and to delve deeply into the heart of Aikido.

I find Aikido to be a fantastic martial art, which is both beautiful and effective. I have discovered in Aikido many friends and a family feeling worldwide which i a tribute to the founder and spirit of Aikido.

Aikido is a transformational art, it requires a indivividual to change, to trans-form on all levels, in order to connect with the spirit of Aiki. It is a beautiful art ideal for expanding conciousness. I have taught Aikido in both Switzerland and Chiang mai, I also practice yoga and meditation and have found these to be very complimen-tary to the path of martial arts.

I hope to return to Thailand next year after a trip to Japan, I will then too hopefully come to share more aikido experiences with the students of CMU Aikido club.

Thank you for your patience and great energy!

Love Olly

อีเมล : [email protected]

http://users.bigpond.net.au/amix/Seisin/index.htm

หน้า ๑๙

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที ่๓ วันที ่๑ มกราคม ๒๕๕๐ (ปีที ่๑)

ปฏิทินกิจกรรมกิจกรรม วัน - เวลา สถานท่ี

ฝกพิเศษนำฝกโดย ร.ศ.ชัยสวัสดิ์ เทียนพิบูลย

อาทิตย ๗ มกราคม ๑๗.๐๐ - ๒๐.๐๐ น.

ชมรมไอคิโด

“๕ สัมพันธ” แสดงผลงาน๕ ชมรมศิลปะการปองกันตัว

อังคาร ๙ มกราคม ๑๗.๐๐ - ๒๐.๐๐ น.

สามแยกหอหกหญิงกับหอสามชาย

ขึ้นบานใหม อ.ธีรรัตน บริพันธกุุล

วันอาทิตยที่ ๑๔ มกราคม ๑๗.๐๐ น.

บานหางดง

ไอคิโดสัมพันธCU - CMU Aikido

ศุกรที่ ๑๙ - อาทิตยที่ ๒๑ มกราคม

ชมรมไอคิโด จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ฝกเด็กๆบานรมไทร ทุกวันอาทิตย ๐๙.๓๐ - ๑๑.๐๐ น.

ชมรมไอคิโด

B ฝกประจำสัปดาหB จันทร-พุธ-ศุกร ๑๘.๐๐ - ๒๐.๓๐ น.YY Y Y Y สถานที่ฝก ชมรมไอคิโด มหาวิทยาลัยเชียงใหม

Y Y Y ใตถุนตึกอาคารกิจกรรมนักศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม

AIKIDO FAMILY

หน้า ๒๐

อุ๊ย หลุดมือ !

ล็อคแน่นๆ เดี๋ยวหลุด !

สอบเลื่อนสาย ๒๗ ธันวาคม ๒๕๔๙

กองเชียร์ !(ผู้ไม่เกี่ยวกับการสอบ

แต่อย่างใด)