11
บทที5 การวิเคราะหขอมูล รศ.ดร. บุญเรียง ขจรศิลป การวิเคราะหขอมูล เปนขั้นตอนที่ผูวิจัยดําเนินการประมวลผลที่ได เพื่อตอบคําถามหรือ วัตถุประสงคของการวิจัย ซึ่งหลังจากรวบรวมขอมูลมาแลวผูวิจัยตองนําขอมูลที่ไดมาตรวจสอบ ความสมบูรณ และความเชื่อถือไดของขอมูล กอนที่จะนําไปวิเคราะหขอมูล วิธีการวิเคราะหขอมูล อาจจะวิเคราะหในเชิงปริมาณหรือเชิงคุณภาพ ผูวิจัยตองเลือกวิธีการวิเคราะหขอมูลใหเหมาะสม กับชนิดของขอมูล และวัตถุประสงคของงานวิจัย ถาขอมูลเปนขอมูลเชิงคุณภาพ อาจจะใชวิธีการ วิเคราะหเนื้อหา (Content analysis) ถาขอมูลเปนขอมูลเชิงปริมาณ ผูวิจัยตองเลือกใชสถิติในการ วิเคราะหขอมูลใหเหมาะสมกับชนิดของขอมูล เงื่อนไขหรือขอตกลงเบื้องตนของการใชสถิติแตละ ประเภท ในที่นี้ผูวิจัยจะนําเสนอชนิดของขอมูล และสถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูลโดยสรุป ชนิดของขอมูล การเลือกใชสถิติที่เหมาะสมในการวิเคราะหขอมูลในการทํางานวิจัยนั้น ผูวิจัยควรจะรูจัก ชนิดของขอมูล เนื่องจากสถิติบางอยางไมสามารถใชวิเคราะหขอมูลไดทุกชนิด ชนิดของขอมูล จําแนกตามมาตราการวัด (Scale of measurement) แบงไดเปน 4 ชนิดดังนี1. ขอมูลนามบัญญัติ (Nominal data) ขอมูลนามบัญญัติ คือขอมูลที่ไดจากการวัดโดยใช มาตรานามบัญญัติ (Nominal scale) ซึ่งการวัดแบบมาตรานามบัญญัตินั้น เปนการวัดที่จําแนกสิ่ง ตาง ออกเปนกลุหรือประเภท โดยการกําหนดชื่อ หรือตัวเลขใหแตละกลุเพื่อใหแยกกลุมตางๆ ออกจากกัน ดังนั้นขอมูลนามบัญญัติ จึงเปนขอมูลที่มีลักษณะจําแนกกลุหรือประเภทเทานั้น ซึ่ง คาตาง หรือตัวเลขที่กําหนดใหนั้น นํามาบวก ลบ คูณ หาร กันไมได ตัวอยางของขอมูล นามบัญญัติ ไดแก เพศ ซึ่งแบงเปน 2 กลุชาย และหญิง ประเภทของโรงเรียน แบงเปนโรงเรียน เอกชน โรงเรียนสังกัดสํานักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร เปนตน 2. ขอมูลเรียงลําดับ (Ordinal data) ขอมูลเรียงลําดับ คือขอมูลที่ไดจากการวัด โดยใช มาตราเรียงอันดับ (Ordinal scale) ซึ่งเปนการวัดโดยการกําหนดอันดับใหแกสิ่งตาง ดังนั้นขอมูล เรียงอันดับ จึงเปฯขอมูลที่มีลักษณะจําแนกกลุหรือประเภท และสามารถเรียงอันดับความมาก นอยไดดวย ตัวอยางของขอมูลเรียงอันดับ ไดแก ผลการแขงขันกีฬามหาวิทยาลัย ที1 ที2 ที3 และ อันดับอื่น ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับปญหา มาก ปานกลาง นอย ตําแหนงทางวิชาการ ศาสตราจารย รองศาสตราจารย ผูชวยศาสตราจารย และอาจารย เปนตน 3. ขอมูลอันตรภาค (Interval data) ขอมูลอันตรภาค คือขอมูลที่ไดจากการวัดโดยใช มาตราอันตรภาค (Interval scale) ซึ่งเปนการวัดโดยแบงคาของตัวแปรที่ตองการศึกษาออกเปนชวง

การวิเคราะห์ข้อมูล

Embed Size (px)

DESCRIPTION

การวิเคราะห์ข้อมูล

Citation preview

Page 1: การวิเคราะห์ข้อมูล

บทที่ 5 การวิเคราะหขอมูล

รศ.ดร. บุญเรียง ขจรศิลป การวิเคราะหขอมูล เปนขั้นตอนที่ผูวิจัยดําเนินการประมวลผลที่ได เพื่อตอบคําถามหรือวัตถุประสงคของการวิจัย ซ่ึงหลังจากรวบรวมขอมูลมาแลวผูวิจัยตองนําขอมูลที่ไดมาตรวจสอบความสมบูรณ และความเชื่อถือไดของขอมูล กอนที่จะนําไปวิเคราะหขอมูล วิธีการวิเคราะหขอมูล อาจจะวิเคราะหในเชิงปริมาณหรือเชิงคุณภาพ ผูวิจัยตองเลือกวิธีการวิเคราะหขอมูลใหเหมาะสมกับชนิดของขอมูล และวัตถุประสงคของงานวิจัย ถาขอมูลเปนขอมูลเชิงคุณภาพ อาจจะใชวิธีการวิเคราะหเนื้อหา (Content analysis) ถาขอมูลเปนขอมูลเชิงปริมาณ ผูวิจัยตองเลือกใชสถิติในการวิเคราะหขอมูลใหเหมาะสมกับชนิดของขอมูล เงื่อนไขหรือขอตกลงเบื้องตนของการใชสถิติแตละประเภท ในที่นี้ผูวิจัยจะนําเสนอชนิดของขอมูล และสถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูลโดยสรุป

ชนิดของขอมูล

การเลือกใชสถิติที่เหมาะสมในการวิเคราะหขอมูลในการทํางานวิจัยนั้น ผูวิจัยควรจะรูจักชนิดของขอมูล เนื่องจากสถิติบางอยางไมสามารถใชวิเคราะหขอมูลไดทุกชนิด ชนิดของขอมูลจําแนกตามมาตราการวัด (Scale of measurement) แบงไดเปน 4 ชนิดดังนี้

1. ขอมูลนามบัญญัติ (Nominal data) ขอมูลนามบัญญัติ คือขอมูลที่ไดจากการวัดโดยใชมาตรานามบัญญัติ (Nominal scale) ซ่ึงการวัดแบบมาตรานามบัญญัตินั้น เปนการวัดที่จําแนกสิ่งตาง ๆ ออกเปนกลุม หรือประเภท โดยการกําหนดชื่อ หรือตัวเลขใหแตละกลุม เพื่อใหแยกกลุมตางๆ ออกจากกัน ดังนั้นขอมูลนามบัญญัติ จึงเปนขอมูลที่มีลักษณะจําแนกกลุม หรือประเภทเทานั้น ซ่ึงคาตาง ๆ หรือตัวเลขที่กําหนดใหนั้น นํามาบวก ลบ คูณ หาร กันไมได ตัวอยางของขอมูล นามบัญญัติ ไดแก เพศ ซ่ึงแบงเปน 2 กลุม ชาย และหญิง ประเภทของโรงเรียน แบงเปนโรงเรียนเอกชน โรงเรียนสังกัดสํานักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร เปนตน

2. ขอมูลเรียงลําดับ (Ordinal data) ขอมูลเรียงลําดับ คือขอมูลที่ไดจากการวัด โดยใชมาตราเรียงอันดับ (Ordinal scale) ซ่ึงเปนการวัดโดยการกําหนดอันดับใหแกส่ิงตาง ๆ ดังนั้นขอมูลเรียงอันดับ จึงเปฯขอมูลที่มีลักษณะจําแนกกลุม หรือประเภท และสามารถเรียงอันดับความมากนอยไดดวย ตัวอยางของขอมูลเรียงอันดับ ไดแก ผลการแขงขันกีฬามหาวิทยาลัย ที่ 1 ที่ 2 ที่ 3 และ อันดับอื่น ๆ ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับปญหา มาก ปานกลาง นอย ตําแหนงทางวิชาการ ศาสตราจารย รองศาสตราจารย ผูชวยศาสตราจารย และอาจารย เปนตน

3. ขอมูลอันตรภาค (Interval data) ขอมูลอันตรภาค คือขอมูลที่ไดจากการวัดโดยใชมาตราอันตรภาค (Interval scale) ซ่ึงเปนการวัดโดยแบงคาของตัวแปรที่ตองการศึกษาออกเปนชวง ๆ

Page 2: การวิเคราะห์ข้อมูล

61

โดยแตละชวงมีขนาดเทากัน ดังนั้นขอมูลอันตรภาคจึงเปนขอมูลที่มีลักษณะจําแนกกลุม เรียงอันดับความมากนอยได และชวงของความแตกตางแตละชวงสะทอนถึงความแตกตางที่เทากันจริง ๆ แตศูนยของขอมูลประเภทนี้ไมใชศูนยแท เปนศูนยสมมุติ เชนคะแนนสอบวัดผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน ถานักเรียนสอบไดคะแนนศูนย ไมไดหมายความวานักเรียนเรียนแลวไมมีความรูอะไรเลยในวิชานั้น ถาผูสอนออกขอสอบใหมในวิชาเดิมนักเรียนอาจจะไมไดศูนยก็ได คะแนนศูนยบอกไดแตเพียงวานักเรียนตอบขอสอบผิดหมดในครั้งนี้เทานั้น ตัวอยางของขอมูลอันตรภาคชั้น ไดแก คะแนนสอบ ปปฏิทิน อุณหภูมิองศาฟาเรนไฮท อุณหภูมิองศาเซลเซียส คะแนนเจตคติ เปนตน

4. ขอมูลอัตราสวน (Ratio data) ขอมูลอัตราสวน คือขอมูลที่ไดจากการวัดโดยใชมาตราอัตราสวน (Ratio data) ซ่ึงเปนการวัดโดยแบงคาของตัวแปรที่ตองการศึกษาออกเปนชวง ๆ โดย แตละชวงมีขนาดเทากัน เหมือนกับการวัดมาตราอันตรภาค แตศูนยของขอมูลอัตราสวนเปนศูนยแท คาศูนยของขอมูลอัตราสวนหมายถึงวางเปลา ไมมีอะไรเลย ดังนั้นขอมูลอัตราสวนจึงเปนขอมูลที่มีลักษณะจําแนกกลุม เรียงอันดับความมากนอยได ชวงของความแตกตางแตละชวงสะทอนถึงความแตกตางที่เทากันจริง ๆ และคาศูนยเปนศูนยแท ขอมูลประเภทนี้สามารถเปรียบเทียบในเชิงอัตราสวนได เชน พี่อายุ 20 ป นองอายุ 10 ป ดังนั้นพี่มีอายุเปน 2 เทา ของนอง ตัวอยางของขอมูลอัตราสวนไดแก ระยะทาง เวลา น้ําหนัก สวนสูง เปนตน

สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณ ผูวิจัยควรมีความรูเกี่ยวกับการเลือกใชสถิติใหเหมาะสม ซ่ึงการเลือกใชสถิติใหเหมาะสม ผูวิจัยตองทราบวาขอมูลที่รวบรวมมานั้นเปนขอมูลชนิดอะไร สถิติที่นํามาใชในการวิเคราะหขอมูลนั้น มีขอตกลงเบื้องตนวาอยางไร และคาสถิติตาง ๆ จะใชในสถานการณอะไรบาง สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูลในการวิจัยอาจจะเปนพรรณนาสถิติ (Descriptive statistics) หรืออนุมานสถิติ (Inferential statistics) ขึ้นอยูกับวาผูวิจัยตองการรวบรวมขอมูลจากประชากรเปาหมาย (Target population) หรือกลุมตัวอยาง ถาผูวิจัยรวบรวมขอมูลจากประชากรเปาหมาย คาที่สรุปไดจากประชากร เรียกวาคาพารามีเตอร (Parameter) ซ่ึงจะมีคาคงที่สําหรับประชากรกลุมเดียวกัน รวบรวมขอมูลในชวงเวลาเดียวกัน เงื่อนไขหรือสภาพการณตาง ๆ เหมือนกัน ในกรณีนี้สถิติที่ใช คือ พรรณนาสถิติ แตถาประชากรมีขนาดใหญมาก เวลาและงบประมาณในการวิจัยคอนขางจํากัด ดังนั้นผูวิจัยจะรวบรวมขอมูลจากกลุมตัวอยาง โดยมีเงื่อนไขวากลุมตัวอยางนั้นเปนกลุมตัวอยางแบบสุม (Random sample) คือเปนกลุมตัวอยางที่ไดมาดวยวิธีการสุมแบบคํานึงถึงความนาจะเปน (Probability sampling) คาที่สรุปไดจากลุมตัวอยาง เรียกวาคาสถิติ (Statistics) ซ่ึงคาสถิติจะเปนตัวแปร เนื่องจากคาสถิตินั้นจะเปลี่ยนแปลงจากกลุมตัวอยางหนึ่งไปยังอีกกลุมตัวอยางหนึ่ง บางครั้งอาจจะมีคาซ้ํากันได แตไมเสมอไป ถึงแมวากลุมตัวอยางเหลานั้นมาจากประชากรกลุมเดียวกัน ดังนั้นจึงตองใชกระบวนการทางสถิติอางอิงขอมูลจากกลุมตัวอยางไปสู

Page 3: การวิเคราะห์ข้อมูล

62

ประชากร หรือสรุปอางอิงจากคาสถิติไปสูคาพารามีเตอร โดยการประมาณคาและ/หรือการทดสอบสมมุติฐานทางสถิติ ในกรณีนี้สถิติที่ใช คือ อนุมานสถิติ (Inferential statistics) ดังแผนภาพที่ 1

แผนภาพที่ 1 ชนิดของสถิติ

การวิเคราะหขอมูลในการวิจัยนั้น สามารถจําแนกไดเปน 3 กลุมใหญ ๆ ดังนี้

1. การหาคาสรุปของขอมูลโดยใชสถิติพื้นฐาน การวิเคราะหขอมูลลักษณะนี้ใชเพื่ออธิบายลักษณะตาง ๆ ของประชากรเปาหมาย หรือ กลุมตัวอยาง สถิติที่ใชไดแก

1.1 การแจกแจงความถี่ คารอยละ ใชไดกับขอคาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ใชไดกับขอมูลทุกชนิด

1.2 คาเฉลี่ย และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ใชไดกับขอมูลอันตรภาค และขอมูลอัตราสวน

1.3 คามัธยฐาน และคาเบี่ยงเบนควอไทล หรือคาพิสัยควอไทล ใชไดกับขอมูล เรียงอันดับ ขอมูลอันตรภาค และขอมูลอัตราสวน

2. การศึกษาความสัมพันธระหวางตัวแปร การศึกษาความสัมพันธระหวางตัวแปร แยกไดเปน 2 กรณีใหญ ๆ ดังนี้

2.1 การศึกษาความสัมพันธที่ไมเปนเหตุเปนผล (Non-causal relationship) เปนการศึกษาความสัมพันธระหวางตัวแปรวาถาตัวแปรตัวหนึ่งมีคาเพิ่มขึ้น มีแนวโนมวาตัวแปรอีกตัวหนึ่ง มีคาเพิ่มขึ้นหรือลดลง ความสัมพันธในลักษณะนี้จะไมมีตัวแปรตน ตัวแปรตาม หรือไมไดมีตัวแปรที่เปนเหตุและตัวแปรที่เปนผล เชน ผูวิจัยตองการศึกษาวานักเรียนที่มีอัตราการมาเรียนสูงมีแนวโนมวาจะมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงดวยหรือไม หรือผูวิจัยตองการศึกษาวานักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนสูงมีแนวโนมวาจะมีอัตราการมาเรียนสูงดวยหรือไม จะเห็นไดวาการศึกษาความสัมพันธตามตัวอยางที่กลาวมานี้ ตัวแปรอัตราการมาเรียน กับตัวแปรผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ตัวแปรอะไรจะมากอนหรือมาหลังไมเปนไร เนื่องจากไมไดศึกษาความสัมพันธที่เปนเหตุเปนผลตอกัน เพียงแตศึกษาวาเมื่อคาของตัวแปรตัวหนึ่งเปลี่ยนไป ตัวแปรอีกตัวหนึ่งมีแนวโนมวาจะ

พรรณนาสถิติ

ประชากรเปาหมาย กลุมตัวอยางแบบสุม สุมตัวอยางแบบคํานึงถึงความนาจะ

คาพารามีเตอร คาสถิติ

อนุมานสถิติ

การประมาณคา การทดสอบสมมุติฐาน

Page 4: การวิเคราะห์ข้อมูล

63

เปลี่ยนแปลงไปอยางไร สถิติที่ใชในการศึกษาความสัมพันธที่ไมใชเชิงเหตุผล แยกไดเปน 2 กลุมดังนี้

2.1.1 การศึกษาความสัมพันธระหวางตัวแปรเพียง 2 ตัว สถิติที่ใชในการศึกษาความสัมพันธระหวางตัวแปรเพียง 2 ตัว สรุปไดดังนี้

1) การทดสอบไควสแควร (Chi-square test) ใชศึกษาความสัมพันธระหวางตัวแปร 2 ตัว ที่เปนตัวแปรเชิงคุณภาพ หรือตัวแปรไมตอเนื่อง ซ่ึงขอมูลที่รวบรวมมาใชในการคํานวณจะเปนจํานวนนับ (Frequencies) ของแตละคาของตัวแปรแตละตัว เขน การศึกษาความสัมพันธระหวางเพศกับพรรคการเมืองที่ชอบ ความสัมพันธระหวางขนาดของโรงเรียนกับ ระดับของปญหาในการบริหารงานวิชาการในแตละประเด็น

2) สัมประสิทธสหสัมพันธสเปยรแมนแรงค (Spearman rank correlation coefficient) ใชศึกษาความสัมพันธระหวางตัวแปร 2 ตัว ที่เปนตัวแปรเชิงคุณภาพ หรือตัวแปรไมตอเนื่อง ซ่ึงคาของตัวแปรแตละตัวเปนขอมูลชนิดเรียงอันดับ

3) สัมประสิทธสหสัมพันธเพียรสัน (Pearson product moment correlation) ใชศึกษาความสัมพันธระหวางตัวแปร 2 ตัว ที่เปนตัวแปรเชิงปริมาณ หรือตัวแปรตอเนื่อง ซ่ึงคาของตัวแปรแตละตัวเปนขอมูลชนิดอันตรภาค หรืออัตราสวน เชนการศึกษาความสัมพันธระหวางผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร กับเจตคติตอวิชาวิทยาศาสตร คา สัมประสิทธสหสัมพันธเพียรสันจะสะทอนถึงความสัมพันธระหวางตัวแปร 2 ตัว ไดอยางถูกตอง ในกรณีที่ตัวแปรทั้งสองตัวนั้นไมมีความสัมพันธกับตัวแปรอื่น ๆ เนื่องจากการคํานวณคาสัมประสิทธสหสัมพันธเพียรสันเปนการคํานวณที่ไมไดมีการควบคุมตัวแปรที่เกี่ยวของใหเปนคาคงที่ ดังนั้นถาตัวแปรตัวดาตัวหนึ่งหรือทั้งสองตัวมีความสัมพันธกับตัวแปรอื่น ๆ และผูวิจัยไมไดควบคุมใหคาของตัวแปรอื่น ๆ ใหเปนคาคงที่ อาจสงผลใหคาสัมประสิทธสหสัมพันธเพียรสันที่คํานวณไดนั้นมีความคลาดเคลื่อน ไมไดสะทอนถึงความสัมพันธระหวางตัวแปร 2 ตัว ที่ตองการศึกษาไดอยางแทจริง ที่เรียกวาเปนความสัมพันธเทียม (Spurious correlation)

4) สัมประสิทธิ์สหสัมพันธสวนยอย (Partial correlation coefficient) ใชศึกษาความสัมพันธระหวางตัวแปร 2 ตัว ที่เปนตัวแปรเชิงปริมาณ หรือตัวแปรตอเนื่อง ซ่ึงคาของตัวแปรแตละตัวเปนขอมูลชนิดอันตรภาค หรืออัตราสวน โดยควบคุมตัวแปรอื่น ๆ ที่เกี่ยวของใหเปนคาคงที่ เชน การศึกษาความสัมพันธระหวางผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร กับเจตคติตอวิชาวิทยาศาสตร ถาตัวแปรทั้งสองตัวนี้มีความสัมพันธกับคะแนนสติปญญาของผูเรียน ผูวิจัยควรใชคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธสวนยอย ในการคํานวณความสัมพันธระหวางผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร กับเจตคติตอวิชาวิทยาศาสตร โดยควบคุมคะแนนสติปญญาใหเปนคาคงที่

Page 5: การวิเคราะห์ข้อมูล

64

2.1.2 การศึกษาความสัมพันธระหวางตัวแปรมากกวา 2 ตัว ในบางกรณีผูวิจัยตองการศึกษาความสัมพันธระหวางตัวแปรมากกวา 2 ตัวแปร ซ่ึงสถิติที่ใชในการศึกษาความสัมพันธระหวางตัวแปรมากกวา 2 ตัวแปร สรุปไดดังนี้

1) สัมประสิทธิ์สหสัมพันธพหุคูณ (Multiple correlation coefficient) ใชศึกษาความสัมพันธระหวางชุดของตัวแปรตน (มีตัวแปรตนมากกวา 1 ตัว) กับตัวแปรตามเพียงตัวเดียว เชนตองการศึกษาความสัมพันธระหวางตัวแปรที่เกี่ยวของกับตัวนักเรียน ซ่ึงมีหลายตัวแปร กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

2) สัมประสิทธิ์สหสัมพันธคะโนนิคอล (Canonical correlation coefficient) ใชศึกษารูปแบบความสัมพันธระหวางตัวแปร 2 ชุด ที่จะทําใหความสัมพันธระหวางตัวแปรสองชุดนั้นมีความสัมพันธกันมากที่สุด เชน การศึกษาความสัมพันธระหวางลักษณะทางกายภาพของนักเรียน เชน น้ําหนัก สวนสูง ความยาวแขน ความยาวขา เปนตน กับสมรรถภาพทางกายของนักเรียน ไดแก ดัชนีมวลกาย เปอรเซ็นตไขมันในรางกาย ความแข็งแรงของกลามเนื้อ ความออนตัว สมรรถภาพปอด และสมรรถภาพของระบบไหลเวียนโลหิต

2.2 ความสัมพันธที่เปนเหตุเปนผล (Causal relationship) เปนการศึกษาความสัมพันธระหวางตัวแปรที่เปนเหตุเปนผลในลักษณะของงานวิจัยที่ไมใชการวิจัยเชิงทดลอง เชนงานวิจัยเชิงสํารวจ มีตัวแปรตน หรือตัวแปรที่เปนเหตุ และตัวแปรตาม หรือตัวแปรที่เปนผล งานวิจัยลักษณะนี้ นอกจากจะศึกษาความสัมพันธที่เปนเหตุเปนผลแลว ยังใชในการคาดคะเนคาของตัวแปรตามเมื่อรูคาของตัวแปรตนไดอีกดวยเชน ผูวิจัยตองการศึกษาวา อัตราการมาเรียน สงผลกระทบตอผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหรือไม ตัวแปรตนหรือตัวแปรที่เปนสาเหตุ คือ อัตราการมาเรียน ตัวแปรตามหรือตัวแปรที่เปนผล คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ซ่ึงสถิติที่ใชในการศึกษาความสัมพันธที่เปนเหตุเปนผล สรุปไดดังนี้

2.2.1 การวิเคราะหการถดถอยอยางงาย (Simple regression) ใชเพื่อศึกษาความสัมพันธเชิงเหตุผลระหวางตัวแปรตน 1 ตัว และตัวแปรตาม 1 ตัวและการคาดคะเนคาของ ตัวแปรตามเมื่อรูคาของตัวแปรตน ตัวแปรที่นํามาใชในการวิเคราะหการถดถอยอยางงายตองเปนตัวแปรตอเนื่อง ถาตัวแปรตนเปนตัวแปรไมตอเนื่อง ตองสรางเปนตัวแปรหุนโดยกําหนดใหเปนศูนยกับหนึ่ง จํานวนตัวแปรหุนจะนอยกวาจํานวนระดับของตัวแปรตน 1 ตัว เชนถาตัวแปรตนคือ เพศ ซ่ึงมีเพียง 2 ระดับ คือ ชายและหญิง จะสรางตัวแปรหุนได 1 ตัว โดยใหเพศชายมีคาเปนศูนย และเพศหญิงมีคาเปนหนึ่ง หรือในทางตรงกันขาม ซ่ึงผูวิจัยจะตองทราบวาตนเองกําหนดไวอยางไร ซ่ึงจะมีผลตอการแปลความหมายในภายหลัง ถาคาของตัวแปรตนมี 3 คา จะสรางตัวแปรหุนได 2 ตัว เชน ตัวแปรสาขาวิชามี 3 สาขาวิชา คือ วิจัยการศึกษา หลักสูตรและการสอน และบริหารการศึกษา ผูวิจัยอาจจะกําหนดใหตัวแปรหุนตัวที่ 1 มีคาเปนหนึ่ง ถาคาของตัวแปรตนคือวิจัยการศึกษา คาที่เหลือ

Page 6: การวิเคราะห์ข้อมูล

65

(หลักสูตรและการสอน และบริหารการศึกษา) ใหมีคาเปนศูนย ตัวแปรหุนตัวที่ 2 มีคาเปนหนึ่ง ถาคาของตัวแปรตนคือหลักสูตรและการสอน คาที่เหลือ (วิจัยการศึกษา และบริหารการศึกษา) ใหมีคาเปนศูนย สําหรับคาของตัวแปรตนตัวสุดทายคือบริหารการศึกษา จะมีคาตัวแปรหุนทั้งสองตัวเปนศูนย ตัวอยางของการวิจัยที่ควรใชการวิเคราะหการถดถอยอยางงาย เชน ผลกระทบของอัตราการมาเรียนตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

2.2.2 การวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ (Multiple regression) ใชเพื่อศึกษาความสัมพันธเชิงเหตุผลระหวางตัวแปรตนที่มากกวา1 ตัว กับตัวแปรตาม 1 ตัวและการคาดคะเนคาของตัวแปรตามเมื่อรูคาของตัวแปรตนทุกตัว ตัวแปรที่นํามาใชในการวิเคราะหการถดถอยอยางงายตองเปนตัวแปรตอเนื่อง บางครั้งตัวแปรตนบางตัวเปนตัวแปรไมตอเนื่อง ตองสรางเปนตัวแปรหุนดังที่กลาวมาแลวในการวิเคราะหการถดถอยอยางงาย ตัวอยางของการวิจัยที่ควรใชการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ เชน ปจจัยที่สงผลกระทบตอผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ซ่ึงปจจัยประกอบดวยตัวแปรหลายตัว เชนสติปญญา แรงจูงใจใฝสัมฤทธ ิ์ จํานวนหนวยกิตที่ลงทะเบียนทั้งหมด เปนตน โดยมีเงื่อนไขวาตัวแปรเหลานี้เปนอิสระตอกัน

3. การศึกษาเปรียบเทียบ การศึกษาเปรียบเทียบเปนวิธีการหนึ่งที่ใชในงานวิจัยที่ตองการศึกษาความแตกตางของสัดสวน หรือคาเฉลี่ยของประชากร ระหวางกลุมตาง ๆ หรือเปรียบเทียบกับเกณฑ ในที่นี้ผูเขียนจะกลาวถึงเฉพาะการศึกษาเปรียบเทียบคาเฉลี่ยของประชากรของขอมูลเชิงปริมาณเทานั้น ซ่ึงสถานการณที่ใชการศึกษาเปรียบเทียบเกี่ยวกับคาเฉลี่ยของประชากรสรุปไดดังนี้

3.1 การเปรียบเทียบกับเกณฑ การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยกับเกณฑใชในกรณีที่ผูวิจัยสนใจที่ศึกษาวาคาเฉลี่ยของประชากรเปาหมายสูงกวา ต่ํากวา หรือเทากับเกณฑ กรณีนี้ผูวิจัยมีประชากรเปาหมายหนึ่งกลุม สุมตัวอยางมาจากประชากรเปาหมายแลวคํานวณคาสถิติจากกลุมตัวอยาง แลวใชวิธีการอางอิงจากกลุมตัวอยางไปสูประชากร หรือจากคาสถิติไปสูคาพารามีเตอรดวยการทดสอบสมมุติฐานหรือการประมาณคา เชน ผูวิจัยตองการศึกษาวาหลังจากการปฏิรูปการศึกษา ทักษะการคิดเชิงเหตุผลของนักเรียนที่จบการศึกษาในชวงชั้นที่ 2 สูงกวาเกณฑที่กําหนดไว (รอยละ 80) หรือไม สถานการณลักษณะนี้ใชการทดสอบแบบกลุมตัวอยางเดียว (One sample test) ซ่ึงมีสถิติใหเลือกใช 3 คาดวยกันคือ One sample exact Z-test, One sample approximation Z-test และ One sample t-test ดังแสดงไวในแผนภาพที่ 2

Page 7: การวิเคราะห์ข้อมูล

66

แผนภาพที่ 2 การเปรียบเทียบคาเฉล่ียของประชากรกับเกณฑ 3.2 การเปรียบเทียบคาเฉล่ียของประชากรสองกลุม การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยของประชากรสองกลุม ใชกับงานวิจัยที่มีตัวแปรอิสระเพียงตัวเดียวและตัวแปรอื่นๆ ไมมีผลกระทบตอตัวแปรตามหรือตัวแปรเกินทั้งหลายถูกควบคุมไวหมดแลว และผูวิจัยตองการที่จะศึกษาเปรียบเทียบคาเฉลี่ยของกลุมประชากรระหวางกลุมเพียงสองกลุมเทานั้น สถิติที่ใชในการทดสอบสมมุติฐานในกรณีนี้ จัดเปน 2 ลักษณะใหญๆ ดังนี้

3.2.1 การทดสอบสองกลุมที่เปนอิสระตอกัน (Two independent samples test)เปนการทดสอบสมมุติฐานเกี่ยวกับคาเฉล่ียของกลุมประชากรในกรณีที่ทั้งสองกลุมเปนอิสระตอกัน เชน ในการทดลองสอนสองวิธี ผูวิจัยสุมตัวอยางนักเรียนที่มีพื้นฐานความรูใกลเคียงกันในวิชาที่จะทดลองสอนมา 100 คน แลวแบงนักเรียนออกเปนสองกลุมโดยการสุม กลุมหนึ่งไดรับการสอนโดยใชส่ือประสมประกอบการสอน อีกกลุมหนึ่งสอนโดยวิธีบรรยายอยางเดียวโดยไมใชส่ือประกอบการสอน ทั้งสองกลุมใชผูสอนคนเดียวกัน เนื้อหาที่ใชสอนและแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์จะเหมือนกัน ในลักษณะนี้ถือวาทั้งสองกลุมเปนอิสระตอกัน การที่นักเรียนแตละคนจะไปอยูในกลุมที่ 1 หรือกลุมที่ 2 นั้น มีโอกาสเทา ๆ กัน เนื่องจากมีการจัดสมาชิกเขากลุมโดยการสุม

ทราบคาความแปรปรวนของกลุมประชากร (σ2)

ไมทราบคาความแปรปรวนของกลุมประชากร (σ2)

Exact Z-test กลุมตวัอยาง มีขนาดใหญ

กลุมตวัอยาง มีขนาดเล็ก

Approximation Z-test

One sample t-test

การเปรียบเทียบคาเฉลีย่ของ กลุมประชากรกับเกณฑ

Page 8: การวิเคราะห์ข้อมูล

67

. 3.2.2 การทดสอบสองกลุมที่ไมเปนอิสระตอกัน (Two dependent samples test)เปนการทดสอบสมมุติฐานเกี่ยวกับคาเฉลี่ยของกลุมประชากรในกรณีที่ทั้งสองกลุมมีความเกี่ยวของกัน ไมเปนอิสระจากกัน เชน ในการทดลองสอนสองวิธี กอนที่จะสุมตัวอยางนักเรียน ผูวิจัยอาจจะจับคูนักเรียนที่มีระดับสติปญญาเทากัน และมีพื้นฐานความรูในวิชาที่จะสอนเทากันเสียกอน สมมุติวาจับคูได 100 คู (200 คน) แตผูวิจัยจะใชกลุมตัวอยางในการทดลองสอนเพียง 100 คน คือ กลุมละ 50 คนเทานั้น ผูวิจัยสุมตัวอยางจากคูที่จัดไวโดยการสุมมาเปนคู จํานวน 50 คู หลังจากนั้นผูวิจัยจัดสมาชิกในแตละคูเขากลุมโดยการสุม เชน นาย ก คูกับ นาย ข นาย ก และ นาย ข มีโอกาสเทาๆ กัน ที่จะอยูในกลุมที่ 1 หรือ 2 แตถานาย ก อยูในกลุมที่ 1 แลว นาย ข จะตองไปอยูในกลุมที่ 2 ลักษณะเชนนี้เปนลักษณะของกลุมตัวอยางสองกลุมที่มีความเกี่ยวของซึ่งกันและกัน ตัวอยางของกลุมตัวอยางสองกลุมที่มีความเกี่ยวของกัน อีกลักษณะหนึ่งคือการทดสอบกลุมตัวอยางกลุมเดียวกันสองครั้งกอนการทดลองและหลังการทดลอง คะแนนที่ไดสองชุดนั้นถือเปนกลุมตวัอยางสองกลุมทีม่ีความเกี่ยวของกัน สถิติที่ใชในการทดสอบสมมุติฐานเกี่ยวกับคาเฉลี่ยของกลุมประชากรสองกลุมนัน้ สรุปไดดังแผนภาพที่ 3

Page 9: การวิเคราะห์ข้อมูล

68

ทดสอบความเทากันของความแปรปรวนของกลุมประชากร

กลุมตัวอยางสองกลุม

เปนอิสระตอกัน ไมเปนอิสระตอกัน

ทราบคา σ1

2 และ σ22 ไมทราบคา σ1

2 และ σ22 Match paired t-test

Exact Z-test กลุมตัวอยางมีขนาดใหญ กลุมตัวอยางมีขนาดเล็ก

Approximation Z-test

แผนภาพที่ 3 สรุปการเลือกใชสถิติในการเปรียบเทียบคาเฉลีย่ของกลุมประชากรสองกลุม

n1= n2 n1 ≠ n2

σ12 = σ2

2 σ12 ≠ σ2

2 Pooled variance t-test

Separated variance t-test

Page 10: การวิเคราะห์ข้อมูล

69

3.3 การเปรียบเทียบคาเฉล่ียของประชากรมากกวาสองกลุม การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยของประชากรมากกวาสองกลุม ใชกับงานวิจัยที่มีตัวแปรอิสระเพียงตัวเดียวและตัวแปรอื่นๆ ไมมีผลกระทบตอตัวแปรตามหรือตัวแปรเกินทั้งหลายถูกควบคุมไวหมดแลว และผูวิจัยตองการที่จะศึกษาเปรียบเทียบคาเฉลี่ยของกลุมประชากรระหวางกลุมที่จํานวนกลุมมากกวาสองกลุม วิเคราะหขอมูลโดยใชการวิเคราะหความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-way analysis of variance) เชนตองการศึกษาเปรียบเทียบวิธีการสอนสามวิธีวาจะทําใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรของนิสิตแตกตางกันหรือไม การวิเคราะหขอมูลโดยใชเทคนิคการวิเคราะหความแปรปรวนจะใหผลถูกตองกวาการทดสอบโดยเปรียบเทียบเปนคูๆ หลายๆ คร้ัง เนื่องจาก

3.3.1 โอกาสที่จะเกิดความคลาดเคลื่อนชนิดที่ I (Type-I error) จะเพิ่มมากขึ้น เมื่อมีการทดสอบหลายๆ คร้ัง จากการใชเทคนิควิเคราะหความแปรปรวนโอกาสที่จะเกิดความคลาดเคลื่อนชนิดที่ I จะนอยลง

3.3.2 ถาใชเทคนิคการวิเคราะหความแปรปรวน กระบวนการวิเคราะหขอมูลจะไมซํ้าซอนกันเหมือนกับใชการเปรียบเทียบทีละคู การใชเทคนิคการวิเคราะหความแปรปรวน ขอมูลที่นํามาวิเคราะหควรจะมีลักษณะตามขอตกลงเบื้องตนดังตอไปน้ี

1. กลุมตัวอยางเปนกลุมตัวอยางที่ไดรับการสุมมาจากกลุมประชากรที่มีการแจกแจงเปนโคงปกติ

2. คาความแปรปรวนของกลุมประชากรทุกๆ กลุมมีคาเทากัน

3. คาของตัวแปรตามแตละหนวยนั้นเปนอิสระตอกันทั้งภายในกลุมและระหวางกลุม

ถาผลจากการวิเคราะหความแปรปรวนพบวามีนัยสําคัญทางสถิติ แสดงวาอยางนอยคาเฉลี่ยของประชากรหนึ่งกลุมจะตางไปจากกลุมอ่ืน ๆ ดังน้ันผูวิจัยตองตรวจสอบตอโดยการเปรียบเทียบภายหลังดังสรุปไวในแผนภาพที่ 4

Page 11: การวิเคราะห์ข้อมูล

70

แผนภาพที่ 4 การวิเคราะหความแปรปรวนแบบทางเดยีว

เอกสารอางอิง บุญเรียง ขจรศิลป. วิธีวิจัยทางการศึกษา. (พิมพคร้ังที่ 4 ) . กรุงเทพฯ : หจก. พี.เอ็น.การพิมพ, 2543.

. สถิติวิจัย I. (พิมพคร้ังที่ 8 ) . กรุงเทพฯ : พี.เอ็น.การพิมพ, 2545.

. การวิเคราะหและแปลความหมายขอมูลในการวิจัยโดยใชโปรแกรมสาํเร็จรูป SPSS for Windows Version 10-12. กรุงเทพฯ: บริษัท เอส. พี. เอ็น. การพิมพ จํากัด, 2547.

Johnson, Burke and Christensen, Larry. Educational Research Quantitative, Qualitative, and Mixed Approaches (2nd ed.). Boston: Pearson Education, Inc. 2004.

Howell, David C. Fundamental Statistics for the Behavioral Sciences. (4th ed.). Brlmont: Brooks/Cole Publishbing Company, 2004.

ทดสอบ Jµµµµ ====Η ...: 3210

สรุป การเปรียบเทียบภายหลัง

SCHEFFE METHOD TUKEY METHOD

ปฏิเสธ H0 ไมปฏิเสธ H0

“n” เทากัน “n” ไมเทากัน