18

คํานําacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/... · บทที่ 9 ผลกระทบเทคโนโลยีสารสนเทศ 185 9.1 ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศทางบวก

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: คํานําacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/... · บทที่ 9 ผลกระทบเทคโนโลยีสารสนเทศ 185 9.1 ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศทางบวก
Page 2: คํานําacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/... · บทที่ 9 ผลกระทบเทคโนโลยีสารสนเทศ 185 9.1 ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศทางบวก

คํานํา

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ม.4-6 เลมนี้ ได

เรียบเรียงขึ้นสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔-๖ โดยยึดกรอบตามตัวชี้วัด และสาระ

การเรยีนรู กลุมสาระการเรยีนรูการงานอาชพีและเทคโนโลย ีเพือ่นาํมาใชกบัหลักสตูรแกน

กลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ภายในหนังสือเลมน้ี ประกอบดวย เน้ือหาเก่ียวกับการจัดการสารสนเทศและ

เทคโนโลยกีารส่ือสาร ไดแก ขอมลูและเทคโนโลยสีารสนเทศ ระบบสารสนเทศ องคประกอบ

และหลักการทํางานของคอมพิวเตอร การเลือกซื้ออุปกรณคอมพิวเตอร การสื่อสารขอมูล

และระบบเครือขาย ระบบอินเทอรเน็ต ตรวจและกําจัดไวรสั ผลกระทบเทคโนโลยีสารสนเทศ

ภาษาสาํหรับพัฒนาโปรแกรม วงจรการออกแบบและพฒันาโปรแกรม การวเิคราะหปญหา

สําหรับออกแบบโปรแกรม

คณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา หนังสือเลมนี้ จะเปนหนังสือประกอบการเรียนที่

เปนประโยชนตอการสอนของคณะอาจารย และ การเรียนรูของนักเรียน เพื่อใหการศึกษา

ทัดเทียมกับระดับสากล

ทีมบรรณาธิการ ซัคเซส มีเดีย

มกราคม ๒๕๕๗

Page 3: คํานําacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/... · บทที่ 9 ผลกระทบเทคโนโลยีสารสนเทศ 185 9.1 ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศทางบวก

บทที่ 1 ข�อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ 11.1 ขอมูลและรูปแบบของขอมูล 2

1.2 ระดับของขอมูล 5

1.3 แฟมขอมูล 6

1.4 การประมวลผลขอมูล 8

1.5 ระบบฐานขอมูล 10

1.6 องคประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ 11

1.7 ระบบสารสนเทศในปจจุบันและอนาคต 12

กิจกรรมทายบทท่ี 1 14

บทที่ 2 ระบบสารสนเทศ 172.1 ความหมายของระบบสารสนเทศ 18

2.2 ลักษณะสารสนเทศที่ดี 19

2.3 เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) 19

2.4 ประเภทของระบบสารสนเทศ 23

2.5 ลักษณะการใชงานระบบสารสนเทศในองคกร 24

2.6 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 26

2.7 การพัฒนาระบบสารสนเทศ 27

2.8 ขอบขายของงานอาชีพคอมพิวเตอร 28

2.9 บุุคลากรทางคอมพิวเตอร 29

กิจกรรมทายบทท่ี 2 33

บทที่ 3 การทํางานของคอมพิวเตอร�และอุปกรณ�อินพุตเอาต�พุต 353.1 ขั้นตอนการทํางานของคอมพิวเตอร 36

3.2 ซีพียู (CPU) และการประมวลผลขอมูล 37

3.3 หนวยความจําของคอมพิวเตอร 41

3.4 อุปกรณอินพุตเอาตพุตของคอมพิวเตอร 42

กิจกรรมทายบทท่ี 3 53

บทที่ 4 การเลือกซื้ออุปกรณ�คอมพิวเตอร� 554.1 การกําหนดสเปคเครื่องคอมพิวเตอร 56

4.2 ลักษณะการซื้อเครื่องคอมพิวเตอร 58

4.3 ตัวอยางการดูสเปคเครื่องจากใบโบรชัวรสินคา 60

4.4 การเลือกซื้ออุปกรณ 61

กิจกรรมทายบทท่ี 4 70

สารบัญ

Page 4: คํานําacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/... · บทที่ 9 ผลกระทบเทคโนโลยีสารสนเทศ 185 9.1 ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศทางบวก

บทที่ 5 การดูแล บํารุงรักษา และการปรับปรุงระบบ 735.1 การบํารุง รักษา เครื่องคอมพิวเตอร 74

5.2 การปรับปรุงระบบ 76

5.3 ระบบจัดการพลังงานของ Windows 86

กิจกรรมทายบทท่ี 5 89

บทที่ 6 การสื่อสารข�อมูลและระบบเครือข�าย 936.1 ความหมายของเครือขาย 94

6.2 วัตถุประสงคของระบบเครือขายคอมพิวเตอร 99

6.3 การทํางานของคอมพิวเตอรในเครือขาย 100

6.4 สื่อและอุปกรณเครือขาย 102

6.5 เทคโนโลยี Ethernet LAN 111

6.6 อินเทอรเน็ตความเร็วสูง ADSL 112

6.7 เทคโนโลยี Wireless LAN 113

6.8 ระบบเครือขายไรสาย 116

6.9 เทคโนโลยีโทรศัพทเคลื่อนที่ 117

6.10 เทคโนโลยี WiMAX 120

กิจกรรมทายบทท่ี 6 123

บทที่ 7 ระบบอินเทอร�เน็ต 1277.1 การทํางานของเครือขายอินเทอรเน็ต 128

7.2 เชื่อมตอกับเครือขายอินเทอรเน็ต 130

7.3 เชื่อมตออินเทอรเน็ตความเร็วสูง (ADSL) 131

7.4 สรางเครือขายภายในบานดวย HomeGroup 139

7.5 บริการตางๆ บนอินเทอรเน็ต 145

กิจกรรมทายบทท่ี 7 153

บทที่ 8 ตรวจและกําจัดไวรัส 1578.1 ไวรัสคอมพิวเตอรคืออะไร 158

8.2 ระบบการแจงเตือนของ Windows 161

8.3 ศูนยรวมขอมูลระบบรักษาความปลอดภัย 162

8.4 ทําความรูจักโปรแกรม Antivirus 163

8.5 จัดการสปายแวรที่มากับอินเทอรเน็ต 173

8.6 ปองกันการบุกรุกดวย Windows Firewall 178

กิจกรรมทายบทท่ี 8 182

สารบัญ

Page 5: คํานําacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/... · บทที่ 9 ผลกระทบเทคโนโลยีสารสนเทศ 185 9.1 ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศทางบวก

บทที่ 9 ผลกระทบเทคโนโลยีสารสนเทศ 1859.1 ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศทางบวก 186

9.2 ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศทางลบ 194

9.3 ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศดานตางๆ 198

กิจกรรมทายบทท่ี 9 201

บทที่ 10 ภาษาสําหรับพัฒนาโปรแกรม 20510.1 ภาษาคอมพิวเตอร 206

10.2 ชนิดของภาษาคอมพิวเตอร 206

10.3 การโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-oriented Programming) 210

10.4 ภาษาคอมพิวเตอรที่ใชในการพัฒนาโปรแกรม 211

10.5 การเลือกใชภาษาคอมพิวเตอรในการพัฒนาโปรแกรม 217

กิจกรรมทายบทท่ี 10 219

บทที่ 11 วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม 22111.1 คุณลักษณะของโปรแกรมที่ดี 222

11.2 วงจรการพัฒนาโปรแกรม 223

11.3 ขอพิจารณาในการออกแบบการทํางานสําหรับพัฒนาโปรแกรม 235

11.4 รูปแบบการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร 235

11.5 ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมดวยเทอรโบซี 237

กิจกรรมทายบทท่ี 11 244

บทที่ 12 การวิเคราะห�ป�ญหาสําหรับออกแบบโปรแกรม 24712.1 ความหมายของการวิเคราะหปญหา 248

12.2 หลักเกณฑการวิเคราะหงาน 250

12.3 ตัวอยางการวิเคราะหวิธีการประมวลผล 262

12.4 การทดสอบขั้นตอนวิธีการแกปญหา 267

กิจกรรมทายบทท่ี 12 271

สารบัญ

Page 6: คํานําacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/... · บทที่ 9 ผลกระทบเทคโนโลยีสารสนเทศ 185 9.1 ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศทางบวก

เม่ือโลกมีการพัฒนาข้ึนและมนุษยตองทําความเขาใจกับระบบงานตางๆ ตองมีการติดตอส่ือสารกัน

จึงมีระบบสารสนเทศเกิดขึ้น ตอมาเมื่อมีการพัฒนาอุปกรณอิเล็กทรอนิกสตางๆ ก็มีการนําอุปกรณเหลา

นั้นมาใชในการประมวลผลขอมูล ทําใหการประมวลผลทําไดถูกตอง รวดเร็ว และแมนยํามากขึ้น เมื่อ

เทคโนโลยีการสื่อสารพัฒนาไปมากขึ้นก็ทําใหเทคโนโลยีสารสนเทศพัฒนาไปมากขึ้นตามไปดวย

บทท่ี ข�อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ

1. มีความเขาใจความหมายเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ

2. มีความเขาใจความหมายเกี่ยวกับขอมูลและรูปแบบของขอมูล

3. มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการประมวลผลขอมูล

4. มีความเขาใจเกี่ยวกับการจัดการแฟมขอมูล

1

วัตถุประสงค�

สาระสําคัญ

Page 7: คํานําacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/... · บทที่ 9 ผลกระทบเทคโนโลยีสารสนเทศ 185 9.1 ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศทางบวก

2 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ม.4 - 6

ในสังคมปจจุบัน ขอมูล ขาวสาร และสารสนเทศ ถือวาเปนสิ่งที่มีคามากในการดําเนินชีวิตในปจจุบัน

และเนื่องจากเทคโนโลยีตางๆ ในปจจุบันไดพัฒนาไปมากและราคาไมแพง ทําใหการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

ใชไดงายขึ้น และทุกคนสามารถหานํามาใชได ระบบสารสนเทศนั้นอาจมองงายๆ วาเปนการนําขอมูลตางๆ

มาประมวลผลใหเปนประโยชนตอผูใช และเทคโนโลยีที่ชวยในการประมวลผลขอมูลก็หนีไมพนเทคโนโลยี

คอมพิวเตอร เมื่อคอมพิวเตอรพัฒนาไปมากขึ้นก็ทําใหระบบสารสนเทศตางๆ พัฒนามากขึ้นไปดวย

1.1 ข�อมูลและรูปแบบของข�อมูลขอมูล (data) เปนขอมูลตางๆ หรือขอเท็จจริงที่ยังไมไดผานการประมวลผล เชน ระบบการตัดเกรด

ของนักศึกษา ขอมูลจะเปนคะแนนตางๆ ของนักเรียนแตละคน จากนั้นระบบจะนําคะแนนไปหาคะแนนรวม

และตัดเกรดตามเงื่อนไขที่กําหนด แลวใหเอาตพุตออกมาเปนขอมูลที่ประมวลผลแลว เรียกวา สารสนเทศ

ถาหากพิจารณาการประมวลผลขอมูลในองคกร เราอาจแบงแหลงที่มาของขอมูลได 2 ประเภทคือ

1. ขอมูลภายใน เปนขอเทจ็จรงิตาง ๆ ทีเ่กดิขึน้ภายในองคกรนัน้ ซึง่อาจเปนสิง่ทีเ่กดิจากการปฏบิตังิาน

ของสมาชิกในองคกร เชน ขอมูลบุคคลากร ขอมูลกิจกรรมตางๆ ขอมูลธุรการ ขอมูลการเงินตางๆ

2. ขอมูลภายนอก เปนขอมูลหรือขอเท็จจริงที่เกิดขึ้นจากหนวยงานอื่นๆ นอกองคกรที่เกี่ยวของ

สาํหรับขอมูลท่ีเก็บรวบรวมไดในครัง้แรก ยงัไมไดคดัเลือกหรือกลัน่กรองขอมูลจะเรยีกวา ขอมูลปฐมภูมิ

(primary data) สวนขอมูลที่ผานการคัดเลือกหรือกลั่นกรองมาแลว ซึ่งไมใชขอมูลที่ไดมาครั้งแรกจะเรียกวา

ขอมูลทุติยภูมิ (secondary data)

ขอมูลทัว่ๆ ไปทีม่นุษยใชสือ่สารกนัเชน เสยีง รปูภาพ เปนปรมิาณทีม่คีาตอเนือ่งเรยีกวาปรมิาณ อนาลอก

(analog) หากตองการใหคอมพิวเตอรเขาใจปริมาณเหลาน้ีไดจะตองเปล่ียนปริมาณอนาลอกใหเปนปริมาณ

ดิจิตอล (digital) ซึ่งเปนปริมาณที่ไมตอเน่ือง สําหรับเครื่องคอมพิวเตอรเปนอุปกรณทางอิเล็กทรอนิกส

ที่ประมวลผลดวยสัญญาณดิจิตอล สัญญาณนี้จะมีแรงดันไฟฟาสองระดับ โดยแทนดวยลอจิกสูง หรือ “1”

และแทนดวยลอจิกตํ่าหรือ “0” ขอมูลลอจิกแตละคานี้เรียกวาบิต การที่จะใหคอมพิวเตอรเขาใจขอมูลตางๆ

ไดนั้นจะตองนําขอมูลหลายๆ บิตมาตอรวมกันใหเปนขอมูล เรียกวา รหัส (code) ไมวาเราจะเก็บขอมูลใดๆ

ลงไปในระบบคอมพิวเตอรขอมูลตางๆ จะตองเปลี่ยนใหอยูในรูปรหัสเลขฐานสองเสมอ

Page 8: คํานําacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/... · บทที่ 9 ผลกระทบเทคโนโลยีสารสนเทศ 185 9.1 ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศทางบวก

1

3ขอมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ

ขอมูลขนาด 1 บิตสามารถแทนคาขอมูลไดสองคา หากนําขอมูลมาตอกันหลายๆ บิตจะทําใหแทนคา

ขอมูลไดมากขึน้ ถาหากนาํบติขอมลูมาตอกนัเปนกลุมขนาด 8 บติจะเรยีกวา ไบต (byte) ขอมลูขนาดหนึง่ไบต

นี ้จะสือ่ความหมายท่ีแตกตางกนัไดถงึ 256 แบบ ในระบบคอมพิวเตอรนัน้แตละไบตจะใชเปนรหสัแทนตัวเลข

ตัวอักษร หรือสัญลักษณได 1 ตัว ซึ่งมีระบบมาตรฐานสําหรับกําหนดรหัสขอมูลที่นิยมใชกันอยูสองระบบคือ

รหัส ASCII และรหัส EBCDIC รหัส ASCII (อานวา แอส-กี) มาจากคําวา American Standard Code for

Information Interchange เปนรหัสที่ใชในเครื่องไมโครคอมพิวเตอรทั่วไป ตัวอยางเชนถาเปนตัวเลข 4 จะมี

รหัสเปน 00110100 ถาเปนตัวเลข 6 จะมีรหัสเปน 00110110 หรือถาเปนตัวอักขระตัว E จะมีรหัสเปน

01000101

สําหรับรหัส EBCDIC (อาน เอบ ซี ดิก) มาจากคําวา Extended Binary Coded Decimal Interchange

เปนรหัสที่นิยมใชในเครื่องคอมพิวเตอรแบบเมนเฟรม หรือคอมพิวเตอรระดับสูง

รหัส ASCII และรหัส EBCDIC สามารถใชแทนตัวอักษรภาษาอังกฤษ และภาษาทางยุโรปได แตสําหรับ

ภาษาบางภาษารหัสขนาด 8 บิตนี้ไมเพียงพอที่จะใชแทนตัวอักขระได จึงไดมีการออกแบบรหัสขนาด 16 บิต

ขึ้นมา เรียกวา Unicode ทําใหสามารถแสดงตัวอักขระและสัญลักษณตางๆ ไดมากถึง 65,000 ตัว รหัสแบบ

Unicode นี้ไดถูกใชในระบบปฏิบัติการตางๆ เชน Windows Vista, Windows XP, Mac OS X และ Linux

เม่ือคอมพิวเตอรตองการติดตอกับมนุษย สัญญาณทางไฟฟาที่เกิดขึ้นไมวาจะอยูรูปแบบใด สัญญาณ

เหลานัน้จะตองถกูแปลงเปนรหสัทีค่อมพวิเตอรเขาใจ ตวัอยางเชนถาหากมกีารกดคยีบนแปนพมิพ คยีแตละคีย

ตัวอย�าง

ถาหากตองการใหคอมพิวเตอรเขาใจตัวอักขระ ‘A’ ระบบคอมพิวเตอรจะเขาใจเปนตัวเลขฐานสองคือ

01000001

ระบบตัวเลขที่มนุษยใชในการนับทั่วไปจะเปนระบบเลขฐานสิบ คือมีการนับตั้งแต 0 ถึง 9 แตในระบบ

คอมพิวเตอรคาขอมูลแตละหนวยจะมีสองสถานะเทานั้นคือ 0 และ 1 ดังนั้นในเครื่องคอมพิวเตอรจะใชระบบ

เลขฐานสอง (binary system) ในการประมวลผล โดยหนวยที่เล็กที่สุดของคอมพิวเตอรเรียกวา บิต (bit) ซึ่ง

มาจากคําวา binary digit

กดคีย� A

0100 0001

Page 9: คํานําacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/... · บทที่ 9 ผลกระทบเทคโนโลยีสารสนเทศ 185 9.1 ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศทางบวก

4 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ม.4 - 6

ASCII SYMBOL EBCDIC

00110000 0 11110000

00110001 1 11110001

00110010 2 11110010

00110011 3 11110011

00110100 4 11110100

00110101 5 11110101

00110110 6 11110110

00110111 7 11110111

00111000 8 11111000

00111001 9 11111001

01000001 A 11000001

01000010 B 11000010

01000011 C 11000011

01000100 D 11000100

01000101 E 11000101

01000110 F 11000110

01000111 G 11000111

01001000 H 11001000

01001001 I 11001001

01001010 J 11010001

01001011 K 11010010

01001100 L 11010011

01001101 M 11010100

ASCII SYMBOL EBCDIC

01001110 N 11010101

01001111 O 11010110

01010000 P 11010111

01010001 Q 11011000

01010010 R 11011001

01010011 S 11100010

01010100 T 11100011

01010101 U 11100100

01010110 V 11100101

01010111 W 11100110

01011000 X 11100111

01011001 Y 11101000

01011010 Z 11101001

00100001 ! 01011010

00100010 “ 01111111

00100011 # 01111011

00100100 $ 01011011

00100101 % 01101100

00100110 & 01010000

00101000 ( 01001101

00101001 ) 01011101

00101010 * 01011100

00101011 + 01001110

ตัวอย�างรหัส ASCII และ EBCDIC

จะสงสญัญาณไฟฟาท่ีเปนรหัสพเิศษออกมาทีเ่รยีกวา รหสัสแกน (scancode) เม่ือหนวยประมวลผลไดรบัรหัส

นั้น หนวยประมวลผลจะเปลี่ยนใหเปนรหัส ASCII แลวเก็บไวในหนวยความจํา ก็จะทําใหคอมพิวเตอรทราบ

ไดวากดคียใด

Page 10: คํานําacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/... · บทที่ 9 ผลกระทบเทคโนโลยีสารสนเทศ 185 9.1 ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศทางบวก

1

5ขอมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ

หน�วยสําหรับวัดขนาดหน�วยความจําขอมลูแตละคาทีเ่กดิขึน้ในระบบคอมพวิเตอรจะถกูเกบ็ลงหนวยความจาํ ถาหากมขีอมลูหลายๆ ไบต จะใช

หนวยความจาํในการเกบ็ขอมลูมากขึน้ สาํหรบัการวดัขนาดหนวยความจาํจะบอกดวย เคไบต (k Byte) หรือกโิล

ไบต โดยทีข่อมลูหนึง่กโิลไบตจะมจีาํนวน 1,024 ไบต ซึง่คานีม้คีาใกลเคยีงกบั 1,000 ไบตจงึเรียกวาหนึง่กโิลไบต

ถาหากหนวยความจําของระบบมคีา 100 kB จะสามารถเก็บขอมลูไดประมาณ 100,000 ไบต หรอืเกบ็ตวัอกัขระ

ไดประมาณ 100,000 ตวั สาํหรบัหนวยวดัที่ใหญขึน้จะเปน เมกะไบต (MB) ซึง่มีประมาณ หนึง่ลานไบต สวน

กกิะไบต (GB) จะมคีาประมาณพนัลานไบต และหนวยเทราไบต (TB) จะมคีาประมาณลานลานไบต

ชื่อ สัญลักษณ จํานวนไบต จํานวนหนาของหนังสือ

Kilobyte kB หรือ k 1,024 ½

Megabyte MB 1,048,576 500

Gigabyte GB 1,073,741,824 500,000

Terabyte TB 1,099,511,627,776 500,000,000

1.2 ระดับของข�อมูลจากท่ีกลาวไวแลววาคอมพวิเตอรจะเขาใจขอมลูไดเฉพาะขอมลูทีเ่ปนเลขฐานสอง หากตองการใหระบบ

ประมวลผลขอมลูนัน้จะตองมีการจัดเก็บขอมลูไวในรปูแบบท่ีสมัพนัธกนัเพ่ือใหสามารถประมวลผลขอมลูตางๆ

ไดถูกตอง โดยสามารถแบงระดับของขอมูลไดดังนี้

• บิต (bit หรือ binary digit) เปนหนวยที่เล็กที่สุดของขอมูล จะแทนดวยสัญญาณ “0” หรือ “1”

โดยระบบจะนําบิตตางๆ มาตอกันจึงสามารถประมวลผลไดดีขึ้น

• ตวัอักขระ (characters) เปนกลุมของบติขอมลูที่ใชแทนตวัอกัขระทีค่อมพวิเตอรสามารถเขาใจได

โดยนําบติมาอานรวมกันเปนไบตใหอยูในรปูของรหสั ASCII รหสั EBCDIC หรอืรหสั Unicode ที่

มขีนาดสองไบต

• ฟลด (field) เปนกลุมของไบตขอมูลท่ีนํามาเรียงตอกันใหมีความหมายเปนอยางใดอยางหน่ึง

ตามท่ีระบบตองการ โดยจะมีชือ่เรียกฟลด (field name) กาํกบัอยู ในการใชงานผูใชจะตองกาํหนด

ชนิดของขอมูลที่อยูในฟลดดวย ฟลดแตละฟลดอาจใชประเภทของขอมูลที่ตางกัน มีขนาดตาง

กัน เชนฟลดที่เก็บช่ือจะเก็บขอมูลประเภทตัวอักขระ ฟลดที่เก็บเงินเดือนจะเปนขอมูลท่ีเปน

เลขจํานวนเต็ม เปนตน

• เรคอรด (record) เปนกลุมของฟลดขอมลูทีม่คีวามสมัพนัธกนัมารวมกนั เพือ่แทนขอมลูสาํหรบั

สิง่ใดส่ิงหนึง่ โดยแตละเรคอรดตองมีอยางนอยหนึง่ฟลดทีบ่อกความแตกตางระหวางเรคอรดนัน้

Page 11: คํานําacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/... · บทที่ 9 ผลกระทบเทคโนโลยีสารสนเทศ 185 9.1 ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศทางบวก

6 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ม.4 - 6

เรียกวากุญแจหลัก หรือคียหลัก (primary key) ตัวอยางเชนเรคอรดที่เก็บขอมูลพนักงานแตละ

บุคคล โดยแตละเรคอรดประกอบดวยฟลดที่เปนชื่อ รหัสประจําตัว เงินเดือน อายุ ที่อยู ซึ่งอาจ

ใชฟลดที่เปนรหัสประจําตัวเปนคียหลักก็ได

• ไฟล (file) หรือแฟมขอมูล เปนกลุมของเรคอรดท่ีนํามารวมกันใหอยูในโครงสรางเดียวกัน

สามารถคนหาขอมูลไดงาย และเก็บไวในหนวยความจําหรือสื่อบันทึกตางๆ เชน ฮารดดิสก CD

หรือ DVD เชน ไฟลขอมูลการส่ังช้ือสินคา ไฟลขอมูลพนกังาน เปนตน สาํหรับตัวอยางของไฟล

ตอไปน้ีจะประกอบดวยเรคอรทีเ่ก็บขอมูลพนักงาน โดยประกอบดวยฟลดทีเ่ก็บขอมูลรหัสสมาชิก

ชือ่ นามสกุล ตาํแหนง อาย ุรปูภาพ และใชฟลดทีเ่ก็บขอมูลรหสัสมาชกิเปนคียหลักในการคนหา

ขอมูล

รหัสสมาชิก ชื่อ นามสกุล ตําแหน่ง อายุ รูป 5112671 สุรพล สมบัติม ี นักวิจัย 35 srp1.jpg 5112456 สมปอง ทองน้อย นักวิทยาศาสตร์ 35 Sop1.jpg 5113432 สมจิตร รักการด ี นักวิจัย 27 soj1.jpg 5113534 สมใจ ยิ่งยง เจ้าหน้าท่ีบริหาร 32 sji1.jpg

เรคอร�ด

File: ข�อมูลทํางาน

primary key ฟ�ลด�

1.3 แฟ�มข�อมูลแฟมขอมูลหรือไฟลจะเกิดจากการนําเรคอรดของขอมูลหลายๆ เรคอรดมาเก็บรวมกัน ตัวอยางเชน

แฟมขอมูลของนักศึกษาจะนําเรคอรดขอมูลของนักศึกษาแตละคนมารวมกัน โดยในเรคอรดนั้นอาจประกอบ

ดวย ฟลดที่เก็บรหัสประจําตัวนักศึกษา เก็บช่ือนักศึกษา เก็บอายุนักศึกษา เก็บคะแนนนักศึกษา เปนตน

ขอมูลในแตละเรคอรดจะถูกแยกแยะดวย ฟลดหลัก (key field) ซึ่งเปนตัวที่ใชบอกความแตกตางของเรคอรด

อยางเชน การเก็บขอมูลนักศึกษาอาจใชฟลดทีเ่ปนรหสัประจําตัวนักศึกษาเปนฟลดหลัก เพ่ือใชอางถงึนักศึกษา

คนนัน้ๆ และจะใชฟลดหลักนี้ในการอางถงึในระบบตอไป เชนระบบตดัเกรด ระบบการลงทะเบียนเรียน เปนตน

สําหรับแฟมขอมูลแบงออกเปนสองประเภทใหญๆ คือ แฟมหลัก (master files) และแฟมที่มีการ

เปล่ียนแปลง (transaction files) โดยแฟมหลักเปนแฟมขอมูลท่ีไมมกีารเปล่ียนแปลงขอมูลมากนัก เชน แฟม

ประวัตินักศึกษา แฟมประวัติบุคคล แฟมรายการสินคา โดยทั่วไปแลวแฟมหลักนี้มักจะทํางานรวมกับแฟมที่

มีการเปล่ียนแปลงดวย อยางเชน แฟมรายการสินคา จะอาศัยแฟมที่มีการเปล่ียนแปลงสําหรับเก็บจํานวน

สินคาและราคาสินคาเปนตน สําหรับแฟมท่ีมีการเปลี่ยนแปลงจะใชเก็บขอมูลที่มีการเปล่ียนแปลงบอยๆ

ตัวอยางเชน ระบบบัญชีธนาคารจะเก็บขอมูลลูกคาไวในแฟมหลักสวนจํานวนเงินจะเก็บไวในแฟมที่มีการ

Page 12: คํานําacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/... · บทที่ 9 ผลกระทบเทคโนโลยีสารสนเทศ 185 9.1 ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศทางบวก

1

7ขอมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ

เปลี่ยนแปลงเมื่อมีการฝาก-ถอนเงินก็จะมีการปรับปรุงแฟมขอมูลในแฟมท่ีมีการเปลี่ยนแปลงนี้ เพ่ือปรับ

รายการขอมูลของลูกคาใหถูกตอง

ในระบบคอมพวิเตอรแฟมขอมูลจะถกูเก็บเอาไวในหนวยความจาํสาํรองเชน ฮารดดสิก ซดี ีเปนตน โดย

โครงสรางของแฟมขอมูลที่นิยมใชจะแบงออกเปน 3 ประเภทดังนี้

แฟ�มข�อมูลแบบลําดับ (Sequential File)

แฟมขอมูลแบบนี้เหมาะสําหรับขอมูลที่ไมมีการแกไขบอยๆ โดยการเก็บขอมูลจะเก็บเรียงกันไปตั้งแต

เรคอรดแรกจนถงึเรคอรดสดุทาย การอานขอมูลท่ีเรคอรดใดๆ จะตองเริม่ต้ังแตเรคอรดแรกไปจนถงึเรคอรด

ที่ตองการ หากมีการเพิ่มเติมขอมูลมักจะเปนการเติมขอมูลตอทายแฟมขอมูลที่มีอยูเดิม การประมวลผลกับ

ขอมูลท่ีเก็บเปนแฟมขอมูลลกัษณะนีเ้หมาะสําหรับงานท่ีสะสมขอมูลไวชวงเวลาหนึง่ เม่ือถึงเวลาท่ีกําหนดจงึ

ประมวลผลขอมูล

ขอเสียของแฟมขอมูลลักษณะน้ีก็คือ การเขาถึงขอมูลตองเขาถึงแบบลําดับ ตัวอยางเชนหากมีแฟม

ขอมูลเก็บขอมูลนักเรียน การเขาถึงขอมูลนักเรียนคนที่ 220 จะตองผานนักเรียนคนที่ 118, 119 ไปดวย ซึ่ง

จะทําใหเวลาในการเขาถึงขอมูลเรคอรดที่ตองการทําไดชา

2035 สมชาย กรุงเทพมหานคร 2037 ยุพิน เลย 2042 สมใจ ตาก 2048 ประมุก เชียงใหม่

จากตัวอยางดานบนเปนการเก็บขอมูลชื่อและจังหวัดท่ีอยู โดยแตละเรคอรดมีหมายเลขเปนฟลดหลัก

การเขาถึงขอมูลใดๆ จะตองเขาถึงขอมูลตามลําดับ และหากขอมูลแตละเรคอรดใชหนวยความจําไมเทากัน

การแกไขขอมูลบางเรคอรดจะทําไดยากอีกดวย

แฟ�มข�อมูลแบบสุ�ม (Randon File)

เปนลักษณะของแฟมขอมูลที่แกไขความลาชาของแฟมที่ใชการเขาถึงขอมูลแบบลําดับ แฟมแบบนี้

สามารถเขาถึงเรคอรดของขอมูลไดโดยตรง โดยไมตองเปนไปตามลําดับท่ีเรคอรดเรียงกันอยู ซึ่งทําใหเกิด

ความรวดเร็วในการเขาถึงขอมูล

การเขาถึงเรคอรดขอมูลของแฟมที่เก็บขอมูลลักษณะนี้จะใชอัลกอริทึมที่ชื่อวา แฮชชิ่ง (hashing) โดย

จะนาํคาคยีฟลดไปคาํนวณหาตําแหนงของเรคอรดทีเ่กบ็ขอมลู จากนัน้จงึไปอานขอมลูจากตาํแหนงของเรคอรด

ที่เก็บขอมูลจริงๆ ออกมา

หากมกีารเพิม่เรคอรดของขอมลู หรอืเปลีย่นแปลงขอมลูในเรคอรดใดๆ ขอมลูของเรคอรด นัน้ไมจาํเปน

ตองเก็บอยูในตําแหนงเดิมของหนวยความจําที่เก็บ เนื่องจากฟงกชันแอช สามารถที่จะคํานวณหาตําแหนงที่

Page 13: คํานําacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/... · บทที่ 9 ผลกระทบเทคโนโลยีสารสนเทศ 185 9.1 ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศทางบวก

8 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ม.4 - 6

เก็บขอมูลนั้นออกมาได ทําใหการอานเขียนขอมูลของแฟมขอมูลลักษณะน้ีสามารถทําไดเร็วหากขอมูลนั้น

มีการเปลี่ยนแปลงบอยๆ

แฟ�มข�อมูลแบบลําดับดรรชนี (Index Sequential File)

เปนการนําวิธีการของแฟมขอมูลทั้งสองแบบที่กลาวมานํามารวมกัน โดยเรคอรดของขอมูลจะถูกเก็บ

แบบเรียงลําดับไวในหนวยความจําท่ีเก็บขอมูล และมีแฟมท่ีเรียงลําดับดรรชนีอีกแฟมหน่ึงซึ่งแฟมนี้จะ

ทําหนาท่ีชี้วาเรคอรดขอมูลท่ีสนใจเก็บอยูตําแหนงใดในหนวยความจําท่ีใชเก็บขอมูล ถาหากตองการคนหา

ขอมูลใดระบบจะหาในแฟมที่เรียงลําดับดรรชนี กอนทําใหทราบวาขอมูลนั้นอยูตําแหนงใด จากนั้นจึงไปหา

ขอมูลจากตําแหนงที่เก็บขอมูลจริงๆ แฟมขอมูลชนิดนี้มีขอเสยีตรงที่การเขียนโปรแกรมจะซับซอน

1.4 การประมวลผลข�อมูลในการใชงานท่ัวเคร่ืองไมโครคอมพิวเตอรสามารถประมวลผลขอมลูบนคอมพิวเตอรเคร่ืองเดียวได โดย

การอานและเกบ็ขอมลูจะเปนการตดิตอกบัหนวยความจาํทีอ่ยูในเครือ่งคอมพิวเตอรทีก่าํลงัประมวลผลอยู ใน

ปจจุบนัไดมกีารนาํการส่ือสารขอมูลมาใชกบัระบบคอมพิวเตอรทาํใหในองคการตางๆ ทีต่องการนาํขอมูลจาก

หลายๆ สวนมาประมวลผลสามารถทําไดงายขึน้ องคการขนาดใหญมกีารนําเคร่ืองคอมพวิเตอรชนิดเมนเฟรม

คอมพวิเตอรเขามาประมวลผล ทาํใหเกดิการประมวลผลแบบรวมศนูย (Centralized Computing) ขึน้มา วธิกีาร

ประมวลผลขอมูลลักษณะนี้ในระบบคอมพิวเตอรจะมี 2 ประเภทใหญๆ คือ การประมวลผลแบบกลุม และการ

ประมวลผลแบบทันทีทันใด

การประมวลผลแบบกลุ�ม (Batch Processing)

เปนการประมวลผลท่ีรวบรวมรายการทัง้หมดแลวประมวลผลในครัง้เดยีว โดยขอมูลตางๆ จะเก็บสะสม

เอาไวแลวนํามาประมวลผลพรอมกัน เชน การประมวลผลคาใชจายโทรศัพทแบบรายเดือน โดยคิดคาโทร

เดือนละครั้ง การประมวลผลคาใชจากบัตรเครดิต ที่จะประมวลผลคาใชจายเดือนละครั้ง เปนตน

Page 14: คํานําacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/... · บทที่ 9 ผลกระทบเทคโนโลยีสารสนเทศ 185 9.1 ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศทางบวก

1

9ขอมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ

ใช�บัตรเครดิตกดเงินสด

บริษัทบัตรเครดิตบันทึกค�าใช�จ�าย บริษัทบัตรเครดิตทําใบแจ�งยอดค�า

ใช�จ�ายเดือนละครั้ง

ใช�บัตรเครดิตซื้อสินค�า

ฐานข�อมูล

การประมวลผลแบบทันที (Real-time Processing)

เปนการประมวลผลทีท่าํงานทันทเีมือ่มขีอมลูเขาสูระบบ ทาํงานทีละรายการท่ีเกดิขึน้กบัระบบ เชน การ

จองตั๋วโดยสารเครื่องบิน คาใชจายโทรศัพทแบบเติมเงิน การถอนเงินผานระบบ ATM เปนตน

ตัวอยางเชน หากมีการถอนเงินจากเครื่อง ATM จํานวน 1500 บาท เครื่อง ATM จะสงขอมูลรองขอไป

ยังธนาคาร จากนั้นธนาคารจะตรวจสอบในบัญชีเงินฝากวามีเงินตามที่ผูถอนเงินตองการหรือไม เมื่อประมวล

ผลแลวพบวามีจํานวนเงินเพียงพอ ก็จะสงผลการอนุมัติกลับมาและตัดบัญชีเงินฝากทันที และเครื่อง ATM ก็

จายเงินใหผูถอนเงิน

1. ถอนเงิน 1,500 บาท จากตู�

5. เครื่อง ATM จ�ายเงิน 1,500 บาท

2. เครื่อง ATM ส�งคําร�องไปยังธนาคาร

4. ธนาคารส�งผลการอนุมัติ

และตัดยอดเงินในบัญชี

3. ธนาคารตรวจสอบการขอถอน

เงินและประมวลผลตามคําร�อง

Page 15: คํานําacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/... · บทที่ 9 ผลกระทบเทคโนโลยีสารสนเทศ 185 9.1 ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศทางบวก

10 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ม.4 - 6

1.5 ระบบฐานข�อมูลในระบบทางธุรกิจหรือระบบงานขนาดใหญจะประกอบดวยฝายตางๆ จํานวนมาก และมีการเก็บขอมูล

จํานวนมากหากแตละฝายมีแฟมขอมูลของตัวเองก็จะทําใหขอมูลเกิดความซํ้าซอนกันได ตัวอยางเชน

มหาวทิยาลัยแหงหนึง่มรีะบบของฝายทะเบียน มรีะบบของฝายหองสมดุ หากนักศกึษาคนหน่ึงลาออกไปแลว

และระบบมีแฟมขอมูลแยกกันก็จะทําใหฝายทะเบียนไมมีชื่อของนักเรียนคนนั้น แตฝายหองสมุดยังมีชื่อของ

นักเรียนคนน้ันอยู ดังนั้น ในระบบงานลักษณะน้ีจึงมีการรวบรวมแฟมขอมูลที่มีความสัมพันธกันมารวมกัน

ใหมใหเปนฐานขอมูลกลาง เรียกวาระบบฐานขอมูล

การใชระบบฐานขอมูลนี้จะชวยลดความซํ้าซอนของขอมูลได สามารถนําขอมูลมาใชรวมกันได ในการ

สรางฐานขอมูลนั้นจะตองมีโปรแกรมพิเศษมาชวยในการจัดการฐานขอมูล โปรแกรมนี้เรียกวา ระบบจัดการ

ฐานขอมูล (database management system) หรือที่เรียกสั้นๆ วา DBMS ผูที่ใชระบบนี้สามารถเพิ่มขอมูล

แกไขขอมูล เรียกขอมูลไดเหมือนกับโปรแกรมที่ดําเนินการกับแฟมขอมูลนั้นๆ นอกจากนี้ยังสามารถทํางาน

กับแฟมขอมูลหลายๆ แฟมได และมีความปลอดภัยมากขึ้นอีกดวย

นอกจากนี้ในปจจบุนัยงัมกีารรวบรวมขอมูลจากหนวยงานตางๆ หลายๆ แหลงเขาดวยกัน โดยนาํขอมูล

ตางๆ มาปรับแกไขใหอยูในรูปมาตรฐานเดียวกัน เพื่อใหเปนฐานขอมูลขนาดใหญ โดยฐานขอมูลแบบพิเศษ

นี้เรียกวา คลังขอมูล (data warehouse)

หากนําคลงัขอมลูตางๆ มาคนหาขอมลูทีม่คีวามสัมพนัธกนัใหไดขอมลูทีเ่ปนลกัษณะเฉพาะและสามารถ

นําไปใชประโยชนตามรูปแบบที่ตองการไดก็จะใชเทคนิคที่เรียกวา เหมืองขอมูล (data mining)

Page 16: คํานําacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/... · บทที่ 9 ผลกระทบเทคโนโลยีสารสนเทศ 185 9.1 ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศทางบวก

1

11ขอมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ

1.6 องค�ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศจากที่กลาวไวแลววาสารสนเทศจะเกิดจากการนําขอมูลดิบ (data) มาประมวลผลใหไดขอมูลที่สามารถ

นํามาใชประโยชนได เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology: IT) หรือเทคโนโลยีสารสนเทศและการ

สื่อสาร (Information and Communication Technology: ICT) จะเปนการนําเทคโนโลยีทางดานคอมพิวเตอร

และการสื่อสารมารวมกัน เพื่อใหการประมวลผลตางๆ ทําไดรวดเร็ว ถูกตองและแมนยํามากขึ้น เทคโนโลยี

ดานน้ีจึงถอืวาเปนสิง่จาํเปนในการพฒันากจิกรรมตางๆ ของมนุษย ดงันัน้จงึกลาวไดวาเทคโนโลยสีารสนเทศ

นั้นประกอบดวย 2 เทคโนโลยีใหญๆ คือ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสื่อสารคมนาคม

ข�อมูลต�นแบบ การประมวลผลข�อมูล สารสนเทศ

สารสนเทศจะนําข�อมูลมาประมวลผลเพื่อนํามาใช�ประโยชน�

เทคโนโลยีคอมพิวเตอรจะทําหนาที่ประมวลผลขอมูลใหไดสารสนเทศออกมา สวนเทคโนโลยีคมนาคม

จะใชในการสื่อสารขอมูลระหวางเคร่ืองคอมพิวเตอร ติดตอรับสงขอมูลจากท่ีไกลๆ และเผยแพรขอมูล

สารสนเทศใหไปไดถูกตองและทั่วถึง โดยขอมูลนั้นอาจเปนตัวเลข ตัวอักษร ภาพ หรือเสียง เปนตน

การสื่อสารขอมูลนั้นจะมีองคประกอบอยูสามสวนคือ แหลงกําเนิดขอมูลหรือผูสง (source/ sender) สื่อ

กลางสําหรับรับสงขอมูล (medium) และสวนรับขอความ (sink) สําหรับสื่อกลางในการรับสงขอมูลในปจจุบัน

มีทั้งแบบใชสายและแบบไรสายโดยใชคลื่นแมเหล็กไฟฟาในการรับสงขอมูล

หากแบงเทคโนโลยีสารสนเทศตามรูปแบบการใชงานแลว อาจแบงไดดังนี้

• เทคโนโลยีการเก็บขอมูล เชน กลองถายภาพดิจิตอล กลองถายวิดีโอ เครื่องบันทึกเสียง เปนตน

• เทคโนโลยกีารบนัทึกขอมูล เชน การเกบ็ขอมูลลงหนวยความจําสารกึง่ตัวนํา การเกบ็ขอมูลแบบ

แถบแมเหล็ก การเก็บขอมูลแบบจานแมเหล็ก การเก็บขอมูลบนแผน CD เปนตน

• เทคโนโลยีในการประมวลผลขอมูล เชน การประมวลผลดวยคอมพิวเตอร เปนตน

• เทคโนโลยีการแสดงขอมูล เชน แสดงทางจอภาพ แสดงทางเครื่องพิมพ เปนตน

• เทคโนโลยีในการถายทอดขอมูล เชน วิทยุ โทรทัศน เครือขายอินเทอรเน็ต เปนตน

Page 17: คํานําacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/... · บทที่ 9 ผลกระทบเทคโนโลยีสารสนเทศ 185 9.1 ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศทางบวก

12 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ม.4 - 6

1.7 ระบบสารสนเทศในป�จจุบันและอนาคตขบวนการทํางานของระบบสารสนเทศนั้นจะประกอบดวย 3 สวนคือ การนําขอมูลเขาสูระบบ (input)

ประมวลผล (processing) และใหขอมูลผลลัพธออกมาทางเอาตพุต (output) โดยในระหวางการประมวลผล

ของระบบสารสนเทศน้ันอาจมีการรับสงขอมูลระหวางอินพุตเอาตพุตอยูตลอดเวลา ขอมูลที่เปนผลลัพธทาง

เอาตพุตอาจมีการนํากลับไปปรับปรุงขอมูลท่ีเขามาทางอินพุต เรียกวาวงจรการประมวลผลสารสนเทศ

(information processing cycle) ซึ่งขั้นตอนการทํางานตาง ๆ จะถูกโปรแกรมอยูในเครื่องคอมพิวเตอร

ตวัเคร่ืองคอมพวิเตอรทีป่ระกอบดวยวงจรทางไฟฟาอเิลก็ทรอนกิสจะเรียกวาฮารดแวร (hardware) โดย

มสีวนประกอบท่ีสาํคญัไดแก อปุกรณอนิพตุ อปุกรณเอาตพตุ ระบบประมวลผล หนวยเก็บขอมลู และอุปกรณ

สื่อสารตางๆ หรือพอรตตางๆ สําหรับรายละเอียดจะกลาวถึงในบทที่ 3

ในการใชงานคอมพวิเตอรในระบบสารสนเทศน้ันผูใชงานจะตองทราบวาตองการประมวลผลขอมูลอะไร

และเลือกใชโปรแกรมหรอืซอฟแวรทีเ่หมาะสมในการประมวลผลงานนัน้ๆ โดยผูใชงานจะตองปอนขอมูลเขาไป

ในเครื่องคอมพิวเตอร หลังจากประมวลผลก็จะไดผลลัพธออกมาทางเอาตพุต

ในปจจุบันคอมพิวเตอรมีความเร็วสูงขึ้น ทําใหมีการพัฒนาโปรแกรมตางๆ ออกมาที่มีประสิทธิภาพสูง

กวาในอดีส ประมวลผลขอมูลไดดีกวา และใชงานไดงายข้ึน เคร่ืองคอมพิวเตอรที่หามาใชหลายปแลวอาจ

ไมเหมาะสาํหรับโปรแกรมบางตวัในปจจบุนั แตถาหากเลอืกโปรแกรมทีเ่หมาะสมคอมพวิเตอรที่ใชงานมานาน

ก็ยังสามารถทํางานไดดีสําหรับโปรแกรมนั้นๆ

Page 18: คํานําacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/... · บทที่ 9 ผลกระทบเทคโนโลยีสารสนเทศ 185 9.1 ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศทางบวก

1

13ขอมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ

ในปจจบุนัหนวยความจาํถือวาเปนสิง่หนึง่ท่ีผูใชคอมพิวเตอรทกุคนจะตองมตีดิตวั ปจจบุนัหนวยความจํา

มีราคาถูกลงและมีความจุมากข้ึนทํางานไดเร็วขึ้น ในอดีตผูใชคอมพิวเตอรจะใชแผนดิสกเก็บขอมูล แตใน

ปจจุบันหนวยความจําแบบ USB Flash drive ที่ตอทางพอรต USB มีราคาถูกลงทําใหผูคนเลิกใชหนวยความ

จําแบบดิสกแลวหันมาใชหนวยความจําแบบนี้แทน

ในอนาคตคอมพิวเตอรจะมีราคาถูกลงเมื่อเทียบกับประสิทธิภาพท่ีสูงข้ึนทําใหผู คนสามารถหา

คอมพวิเตอรชนดิตางๆ มาใชไดไมยาก ระบบทางธรุกจิทีน่าํคอมพวิเตอรประเภทตางๆ มาใชกจ็ะเปนการเพ่ิม

ภาพลักษณ เพิ่มความสามารถในการแขงขัน และทําใหธุรกิจนั้นดําเนินไปไดรวดเร็วมากขึ้น บริษัทใหญๆ ที่

มีบริษัทลูกหลายๆ ที่สามารถใชระบบบัญชีระบบเดียวกันได ใชฐานขอมูลเดียวกันได โดยอาศัยการส่ือสาร

ขอมูลผานทางเครือขายที่สรางขึ้น ก็ทําใหธุรกิจดําเนินไปไดสะดวกขึ้น รานอาหารหากนําระบบคอมพิวเตอร

และเครือขายแบบไรสายมาใช โดยใหพนักงานตอนรับใชเครื่องคอมพิวเตอรแบบ PDA ในการรับรายการ

อาหารที่ลูกคาสั่ง และในหองครัวก็มีคอมพิวเตอรอยูดวย ก็ทําใหการสั่งอาหารทําไดเร็วขึ้น คิดเงินคาอาหาร

เร็วขึ้น ซึ่งก็ทําใหลูกคาใหมเขารานไดเร็วขึ้น ทําใหรานอาหารมีรายไดมากขึ้นตามไปดวย

เม่ือเวลาผานไปชีวิตมนุษยก็ดําเนินตอไประบบเทคโนโลยีสารสนเทศก็เขามามีอิทธิพลมากขึ้นทําให

คอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศเปนปจจัยหนึ่งของการดํารงชีวิตของมนุษยเรา