12
นโยบายข้อ ๑๑ “...เร่งปรับปรุงประมวลกฎหมายหลักของประเทศและกฎหมายอื่น ๆ ที่ล้าสมัย ไม่เป็นธรรม ไม่สอดคล้องกับความตกลงระหว่างประเทศ เป็นอุปสรรคต่อการบริหารราชการแผ่นดิน การประกอบธุรกิจ หรือไม่เอื้อต่อศักยภาพในการแข่งขันกับต่างประเทศ...” การปรับปรุงกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม

นโยบายข้อ ๑๑ - soc.go.thนโยบายข อ ๑๑ 370 รายงานผลการดำาเน นงานของร ฐบาล พลเอก

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: นโยบายข้อ ๑๑ - soc.go.thนโยบายข อ ๑๑ 370 รายงานผลการดำาเน นงานของร ฐบาล พลเอก

นโยบายข้อ ๑๑

“...เร่งปรับปรุงประมวลกฎหมายหลักของประเทศและกฎหมายอื่น ๆ ที่ล้าสมัยไม่เป็นธรรม ไม่สอดคล้องกับความตกลงระหว่างประเทศเป็นอุปสรรคต่อการบริหารราชการแผ่นดิน การประกอบธุรกิจหรือไม่เอื้อต่อศักยภาพในการแข่งขันกับต่างประเทศ...”

การปรับปรุงกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม

Page 2: นโยบายข้อ ๑๑ - soc.go.thนโยบายข อ ๑๑ 370 รายงานผลการดำาเน นงานของร ฐบาล พลเอก

นโยบายข้อ ๑๑

370 รายงานผลการดำาเนินงานของรัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีปีที่ ๒ (๑๒ กันยายน ๒๕๕๘-๑๒ กันยายน ๒๕๕๙)

นโยบายข้อ ๑๑

ในสังคมที่อารยะ การยึดหลักนิติธรรมคือมีกฎหมายเป็นใหญ่ ไม่ใช่ตัวบุคคลหรืออ�าเภอใจ

ของเจ้าหน้าที่ผู้ปกครองย่อมเป็นสาระส�าคัญ แต่หลักนิติธรรมจะเป็นที่ยอมรับนับถือได้มิใช่เพียง

สักแต่ว่ามีกฎหมาย หากกฎหมายเหล่านั้นต้องสอดคล้องกับความเป็นจริงและความต้องการ

ของประชาชน เป็นธรรม คุ้มครองสิทธิมนุษยชน ทั้งต้องมีกระบวนการยุติธรรมที่เข้าถึงได้ง่าย

มีมาตรฐานตามหลักสากล ทันสมัยและเป็นธรรมด้วย มิฉะนั้นจะกลายเป็นสาเหตุแห่งความขัดแย้ง

และการโกรธแค้นชิงชังไม่สิ้นสุด รัฐบาลจึงมีนโยบายในเรื่องดังกล่าวดังนี้

๑๑.๑ ในระยะเฉพาะหน้า จะเร่งปรับปรุงประมวลกฎหมายหลักของประเทศและกฎหมาย

อื่น ๆ ที่ล้าสมัย ไม่เป็นธรรม ไม่สอดคล้องกับความตกลงระหว่างประเทศ เป็นอุปสรรคต่อการบริหาร

ราชการแผ่นดนิ การประกอบธรุกจิ หรอืไม่เอือ้ต่อศกัยภาพในการแข่งขนักบัต่างประเทศ โดยจะใช้กลไก

ของหน่วยงานเดิมที่มีอยู่และระดมผู้ทรงคุณวุฒิมาเป็นคณะกรรมการที่จะจัดตั้งขึ้นเฉพาะกิจเป็นผู้เร่ง

ด�าเนินการ

๑๑.๒ เพิ่มศักยภาพหน่วยงานที่มีหน้าที่ให้ความเห็นทางกฎหมายและจัดท�ากฎหมาย

ให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างรวดเร็ว สามารถให้ความช่วยเหลือแก่ภาคเอกชนและประชาชน

ได้ตามหลักเกณฑ์ที่จะเปิดกว้างขึ้น และให้บุคลากรของหน่วยงานทางกฎหมายมีส่วนให้ความรู้

เสรมิศกัยภาพในทางกฎหมายมหาชน การด�าเนนิคดปีกครอง การยกร่างกฎหมาย และการตคีวามกฎหมาย

แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและเกื้อกูลการปฏิบัติราชการ

เพื่อประชาชน

๑๑.๓ ในระยะต่อไป จะจัดตั้งองค์กรปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมที่ปราศจากการแทรกแซง

ของรัฐ

๑๑.๔ น�าเทคโนโลยีที่ทันสมัยและความรู้ทางนิติวิทยาศาสตร์มาใช้เพื่อเร่งรัดการด�าเนินคด ี

ทุกขั้นตอนให้รวดเร็ว เกิดความเป็นธรรม และมีระบบฐานข้อมูลที่เชื่อมโยงกันสามารถใช้ติดตามผล

และน�าไปใช้ในการปรับปรุงประสิทธิภาพของหน่วยงานและเจ้าหน้าที่ในกระบวนการยุติธรรมได้

๑๑.๕ ปรับปรุงระบบการช่วยเหลือทางกฎหมายและค่าใช้จ่ายแก่ประชาชนที่ไม่ได้รับ

ความเป็นธรรม โดยให้เข้าถึงความเป็นธรรมได้ง่าย รวดเร็ว ส่งเสริมกองทุนยุติธรรมเพื่อคุ้มครอง

ช่วยเหลอืคนจนและผูด้้อยโอกาส คุม้ครองผูถ้กูล่วงละเมดิสทิธเิสรภีาพ และเยยีวยาผูบ้รสิทุธิห์รอืได้รบั

ผลกระทบจากความไม่เป็นธรรม โดยเน้นความสจุรติและความมปีระสทิธภิาพของภาครฐั ความเป็นธรรม

ของผู้ได้รับผลกระทบ และการไม่แอบอ้างฉวยโอกาสโดยทุจริตจากระบบการช่วยเหลือดังกล่าว

๑๑.๖ น�ามาตรการทางการเงิน ภาษี และการป้องกันการฟอกเงินมาใช้ในการป้องกัน

และปราบปรามผู้มีอิทธิพลและเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ทุจริตและประพฤติมิชอบ หรือกระท�าผิดเกี่ยวกับ

การค้ามนุษย์ แรงงานทาส การก่อการร้ายสากล ยาเสพติด และอาชญากรรมข้ามชาติ

การปรับปรุงกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม

Page 3: นโยบายข้อ ๑๑ - soc.go.thนโยบายข อ ๑๑ 370 รายงานผลการดำาเน นงานของร ฐบาล พลเอก

นโยบายข้อ ๑๑

371รายงานผลการดำาเนินงานของรัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี

ปีที่ ๒ (๑๒ กันยายน ๒๕๕๘-๑๒ กันยายน ๒๕๕๙)

๑. การปรับปรุงกฎหมายที่ล้าสมัย ไม่เป็นธรรม ด�าเนินการผลักดันกฎหมาย ปรับปรุง

และจัดท�ากฎหมายที่มีความส�าคัญให้ทันสมัย มีมาตรฐานตามหลักสากล และเป็นธรรม รวมทั้งให้สอดคล้อง

กับแผนการเสนอร่างกฎหมายของทุกส่วนราชการอันจะเป็นประโยชน์แก่การด�าเนินนโยบายของรัฐบาล

และแผนการปฏริปูประเทศของรฐับาล (Road Map) ทัง้นี ้เพือ่ให้การขบัเคลือ่นและพฒันาประเทศตามนโยบาย

ส�าคัญของรัฐบาลส�าเร็จลุล่วงไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยแบ่งออกเป็นกลุ่มกฎหมายดังต่อไปนี้

๑.๑ กฎหมายด้านเศรษฐกิจ

ชื่อกฎหมาย สาระสำาคัญ สถานะ

• พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติม

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิย์

(ฉบับที่ ๒๐) พ.ศ. ๒๕๕๗

• พระราชบัญญัติหลักประกัน

ทางธุรกิจ พ.ศ. ๒๕๕๘

• พระราชบัญญัติกองทุนพัฒนา

ระบบสถาบันการเงินเฉพาะกิจ

พ.ศ. ๒๕๕๘

• พระราชบัญญัติล้มละลาย

(ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๕๙

• พระราชบัญญัติประกัน

วนิาศภยั (ฉบบัที ่๓) พ.ศ. ๒๕๕๘

• พระราชบัญญัติประกันชีวิต

(ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๘

• แก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์เพื่อคุ้มครอง

สทิธแิละให้ความเป็นธรรมแก่ผูค้�า้ประกนั และผูจ้�านอง

ซึง่มใิช่ลกูหนีช้ัน้ต้น ไม่ต้องกลายเป็นผูถ้กูฟ้องล้มละลาย

• ให้มีกฎหมายเพื่อรองรับการน�าทรัพย์สินที่มีมูลค่า

ทางเศรษฐกิจ เช่น สังหาริมทรัพย์ที่ผู้ให้หลักประกัน

ใช้ในการประกอบธุรกิจ สินค้าคงคลัง วัตถุดิบที่ใช ้

ในการผลิตสินค้า หรือทรัพย์สินทางปัญญา มาใช้

เป็นประกันการช�าระหนี้ในลักษณะที่ไม่ต้องส่งมอบ

การครอบครองแก่เจ้าหนี้และสร้างระบบการบังคับ

หลักประกันที่มีความรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ

และเป็นธรรมอนัจะเป็นประโยชน์แก่การประกอบธรุกจิ

• ให้มีกองทุนพัฒนาระบบสถาบันการเงินเฉพาะกิจ

เพื่อใช้ส�าหรับการฟื้นฟูและพัฒนาระบบการเงิน

ให้มีความมั่นคงและมีเสถียรภาพ รวมทั้งการให ้

ความช่วยเหลือหรือสนับสนุนทางการเงิน

แก่สถาบันการเงินของรัฐที่มีกฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้น

และเสรมิสร้างความมัน่คงทางเศรษฐกจิและทางการเงนิ

ของประเทศ

• ก�าหนดกระบวนพิจารณาเกี่ยวกับการฟื้นฟูกิจการ

ของลูกหนี้ที่เป็นวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

เพื่อให้ลูกหนี้ซึ่งไม่อยู่ในสถานะที่จะช�าระหนี้ได ้

มีโอกาสได้รับการฟื้นฟูกิจการและไม่ต้องตกเป็น

บุคคลล้มละลาย

• ปรับปรุงบทบัญญัติเกี่ยวกับโครงสร้างผู้ถือหุ้น

และกรรมการของบริษัทและกองทุนประกันวินาศภัย

ให้เหมาะสมยิ่งขึ้น

• ปรับปรุงบทบัญญัติเกี่ยวกับโครงสร้างผู้ถือหุ้น

และกรรมการของบริษัทและกองทุนประกันชีวิต

ให้เหมาะสมยิ่งขึ้น

• ประกาศในราชกจิจานเุบกษา

ฉบับกฤษฎีกา เล่ม ๑๓๑

ตอน ๗๗ ก

วนัที ่๑๓ พฤศจกิายน ๒๕๕๗

• ประกาศในราชกจิจานเุบกษา

ฉบับกฤษฎีกา เล่ม ๑๓๒

ตอน ๑๐๔ ก

วันที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๘

• ประกาศในราชกจิจานเุบกษา

ฉบับกฤษฎีกา เล่ม ๑๓๒

ตอน ๒๑ ก

วันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๘

• ประกาศในราชกจิจานเุบกษา

ฉบับกฤษฎีกา เล่ม ๑๓๓

ตอน ๔๖ ก

วนัที ่๒๔ พฤษภาคม ๒๕๕๙

• ประกาศในราชกจิจานเุบกษา

ฉบับกฤษฎีกา เล่ม ๑๓๒

ตอน ๑๕ ก

วันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๕๘

• ประกาศในราชกจิจานเุบกษา

ฉบับกฤษฎีกา เล่ม ๑๓๒

ตอน ๑๕ ก

วันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๕๘

Page 4: นโยบายข้อ ๑๑ - soc.go.thนโยบายข อ ๑๑ 370 รายงานผลการดำาเน นงานของร ฐบาล พลเอก

นโยบายข้อ ๑๑

372 รายงานผลการดำาเนินงานของรัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีปีที่ ๒ (๑๒ กันยายน ๒๕๕๘-๑๒ กันยายน ๒๕๕๙)

๑.๒ กฎหมายที่ออกตามพันธกรณีระหว่างประเทศ

ชื่อกฎหมาย สาระสำาคัญ สถานะ

• พระราชบัญญัติสงวน

และคุ้มครองสัตว์ป่า (ฉบับที่ ๓)

พ.ศ. ๒๕๕๗

• พระราชบัญญัติงาช้าง

พ.ศ. ๒๕๕๘

• พระราชบัญญัติป้องกัน

และปราบปรามการฟอกเงิน

(ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๘

• พระราชบัญญัติศุลกากร

(ฉบับที่ ๒๒) พ.ศ. ๒๕๕๗

• พระราชบัญญัติป้องกัน

และปราบปรามการค้ามนุษย์

(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๘

• ก�าหนดให้การน�าเข้า ส่งออก หรอืน�าผ่าน ให้ครอบคลมุ

ถึงผลิตภัณฑ์ที่ท�าจากซากของสัตว์ป่าสงวนหรือซาก

ของสัตว์ป่าคุ้มครองนั้นด้วย เพื่อให้สอดคล้องกับ

อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดของ

สัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ (CITES) รวมทั้งแก้ไข

เพิ่มเติมบทก�าหนดโทษและอัตราค่าธรรมเนียม

ให้สอดคล้องกัน

• ก�าหนดมาตรการควบคุมการค้าการครอบครอง

การน�าเข้า การส่งออก และการน�าผ่านซึ่งงาช้าง

หรือผลิตภัณฑ์ที่ได้มาจากการแปรรูปงาช้าง เพื่อให้

สอดคล้องกับอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศ

ซึ่งชนิดของสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ (CITES)

• ปรับปรุงบทบัญญัติในส่วนที่เกี่ยวกับความผิดมูลฐาน

สถาบันการเงิน ทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระท�า

ความผิดและลักษณะการกระท�าความผิดฐานฟอกเงิน

ให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากล

• ก�าหนดหลักเกณฑ์ในการด�าเนินพิธีการศุลกากร

ในพื้นที่ควบคุมร่วมกัน เพื่อเป็นการส่งเสริมการค้า

ระหว่างประเทศ อ�านวยความสะดวกในการขนส่ง

ข้ามพรมแดน และเป็นการปฏิบัติตามพันธกรณ ี

ตามความตกลงระหว่างประเทศเกี่ยวกับการอ�านวย

ความสะดวกในการขนส่งข้ามพรมแดน

• แก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการป้องกัน

และปราบปรามการค้ามนุษย์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ

ในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์

โดยก�าหนดให้มีมาตรการสร้างแรงจูงใจให้ผู้พบเห็น

เหตุการค้ามนุษย์แจ้งข้อมูลต่อเจ้าหน้าที่ของรัฐ

และก�าหนดมาตรการเพิ่มอ�านาจทางปกครอง

ให้แก่เจ้าหน้าที่ รวมทั้งปรับปรุงบทก�าหนดโทษ

ที่เกี่ยวข้องให้เหมาะสมยิ่งขึ้น

• ประกาศในราชกจิจานเุบกษา

ฉบับกฤษฎีกา เล่ม ๑๓๑

ตอน ๘๙ ก

วันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๗

• ประกาศในราชกจิจานเุบกษา

ฉบับกฤษฎีกา เล่ม ๑๓๒

ตอน ๓ ก

เมือ่วนัที ่๒๑ มกราคม ๒๕๕๘

• ประกาศในราชกจิจานเุบกษา

ฉบับกฤษฎีกา เล่ม ๑๓๒

ตอน ๙๘ ก

วันที่ ๘ ตุลาคม ๒๕๕๘

• ประกาศในราชกจิจานเุบกษา

ฉบับกฤษฎีกา เล่ม ๑๓๑

ตอน ๘๒ ก

วันที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๕๗

• ประกาศในราชกจิจานเุบกษา

ฉบับกฤษฎีกา เล่ม ๑๓๒

ตอน ๓๔ ก

วันที่ ๒๘ เมษายน ๒๕๕๘

Page 5: นโยบายข้อ ๑๑ - soc.go.thนโยบายข อ ๑๑ 370 รายงานผลการดำาเน นงานของร ฐบาล พลเอก

นโยบายข้อ ๑๑

373รายงานผลการดำาเนินงานของรัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี

ปีที่ ๒ (๑๒ กันยายน ๒๕๕๘-๑๒ กันยายน ๒๕๕๙)

ชื่อกฎหมาย สาระสำาคัญ สถานะ

• พระราชบญัญตัว่ิาด้วยความผดิ

บางประการต่อการเดินอากาศ

พ.ศ. ๒๕๕๘

• พระราชก�าหนดการบนิพลเรอืน

แห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๘

• พระราชบัญญัติเครื่องหมาย

การค้า (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๙

• ก�าหนดอ�านาจหน้าที่ของผู้ควบคุมอากาศยานไทย

และของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวกับความผิดในอากาศยาน

ให้ชัดเจน ก�าหนดเกี่ยวกับความผิดบางประการ

ที่ผู้โดยสารได้กระท�าในอากาศยาน ก�าหนดบทบัญญัติ

ว่าด้วยเจ้าหน้าที่ผู้รักษาความปลอดภัยในอากาศยาน

ในระหว่างการบิน รวมทั้งก�าหนดบทบัญญัต ิ

ให้ครอบคลุมถึงการกระท�าความผิดที่ก�าหนด

ในอนุสัญญาที่ประเทศไทยเป็นภาคี

• ปรับปรุงรูปแบบ โครงสร้าง และอ�านาจหน้าที ่

ของหน่วยงานด้านการบินพลเรือนของประเทศไทย

ให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากล รวมทั้งให้เป็นไป

ตามข้อก�าหนดและข้อเสนอแนะขององค์การ

การบินพลเรือนระหว่างประเทศ (ICAO)

• ขยายขอบเขตการให้ความคุ้มครองเครื่องหมาย

การค้าและแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติที่เกี่ยวข้อง

ให้สอดคล้องกับพิธีสารที่เกี่ยวกับความตกลงมาดริด

เรื่องการจดทะเบียนระหว่างประเทศของเครื่องหมาย

(พิธีสารมาดริด)

• ประกาศในราชกจิจานเุบกษา

ฉบับกฤษฎีกา เล่ม ๑๓๒

ตอน ๑๐ ก

วันที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘

• ประกาศในราชกจิจานเุบกษา

ฉบับกฤษฎีกา เล่ม ๑๓๒

ตอน ๙๕ ก

วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๘

• ประกาศในราชกจิจานเุบกษา

ฉบับกฤษฎีกา เล่ม ๑๓๓

ตอน ๓๘ ก

วันที่ ๒๙ เมษายน ๒๕๕๙

๑.๓ กฎหมายที่ลดความเหลื่อมลำ้า

ชื่อกฎหมาย สาระสำาคัญ สถานะ

• พระราชบัญญัติการคุ้มครอง

คนไร้ที่พึ่ง พ.ศ. ๒๕๕๗

• พระราชบัญญัติภาษี

การรับมรดก พ.ศ. ๒๕๕๘

• ก�าหนดวธิกีารคุม้ครองให้คนไร้ทีพ่ึง่สามารถด�ารงชวีติ

อยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข มีปัจจัยพื้นฐาน

ในการด�ารงชีวิต และมีสภาพร่างกาย และจิตใจ

เช่นเดียวกับบุคคลทั่วไป

• ก�าหนดให้มีการจัดเก็บภาษีตามสมควรจากการรับ

มรดกที่มีมูลค่าจ�านวนมากเพื่อน�าไปพัฒนาประเทศ

และยกระดับการด�ารงชีวิตของประชาชนที่ยากไร ้

ให้ดีขึ้น ทั้งนี้ โดยมิให้กระทบถึงผู้ที่ได้รับมรดก

พอสมควรแก่การด�ารงชีพ

• ประกาศในราชกจิจนเุบกษา

ฉบับกฤษฎีกา เล่ม ๑๓๑

ตอน ๘๓ ก

วันที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๕๗

• ประกาศในราชกจิจนเุบกษา

ฉบบักฤษฎกีา เล่ม ๑๓๒

ตอน ๗๒ ก

วนัที ่๕ สงิหาคม ๒๕๕๘

Page 6: นโยบายข้อ ๑๑ - soc.go.thนโยบายข อ ๑๑ 370 รายงานผลการดำาเน นงานของร ฐบาล พลเอก

นโยบายข้อ ๑๑

374 รายงานผลการดำาเนินงานของรัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีปีที่ ๒ (๑๒ กันยายน ๒๕๕๘-๑๒ กันยายน ๒๕๕๙)

ชื่อกฎหมาย สาระสำาคัญ สถานะ

• พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติม

ประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๔๐)

พ.ศ. ๒๕๕๘ (ภาษีเงินได้จาก

การรับให้)

• พระราชบญัญตักิารทวงถามหนี ้

พ.ศ. ๒๕๕๘

• พระราชบัญญัติความเท่าเทียม

ระหว่างเพศ พ.ศ. ๒๕๕๘

• พระราชบัญญัติกองทุน

ยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๕๘

• พระราชบัญญัติการเช่าที่ดิน

เพื่อเกษตรกรรม (ฉบับที่ ๒)

พ.ศ. ๒๕๕๙

• ปรับปรุงบทบัญญัติในการจัดเก็บภาษีเงินได้ส�าหรับ

เงินได้ที่ได้รับจากการอุปการะโดยหน้าที่ธรรมจรรยา

หรือจากการให้โดยเสน่หาเนื่องในพิธีหรือตามโอกาส

แห่งขนบธรรมเนียมประเพณี และเงินได้จากการโอน

กรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย ์

โดยไม่มีค่าตอบแทนให้แก่บุตรชอบด้วยกฎหมาย

ซึ่งไม่รวมถึงบุตรบุญธรรม เพื่อให้สอดคล้องกับ

กฎหมายเพื่อจัดเก็บภาษีจากการรับมรดก

• ก�าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการ

ทวงถามหนี้และการควบคุมการทวงถามหนี้เพื่อไม่ให ้

มีการกระท�าที่ไม่เหมาะสมต่อลูกหนี้ไม่ว่าจะเป็น

การใช้ถ้อยค�าที่เป็นการละเมิดสิทธิส่วนบุคคล

อย่างรุนแรง การคุกคาม โดยขู่เข็ญ การใช้ก�าลัง

ประทุษร้าย หรือการท�าให้เสียชื่อเสียง รวมถึงการให้

ข้อมูลเท็จและการสร้างความเดือดร้อนร�าคาญ

ให้แก่บุคคลอื่น

• ก�าหนดมาตรการคุ้มครองผู้ถูกเลือกปฏิบัต ิ

โดยไม่เป็นธรรมระหว่างเพศ และป้องกันมิให ้

มีการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมระหว่างเพศ

ซึ่งสอดคล้องกับหลักการสิทธิมนุษยชนสากล

ตามพันธกรณีระหว่างประเทศที่ประเทศไทย

เข้าเป็นภาคี

• ก�าหนดให้มีกองทุนเพื่อเป็นแหล่งเงินทุนส�าหรับ

ช่วยเหลือประชาชนในการด�าเนินคดี การขอปล่อย

ชั่วคราว ผู้ต้องหาหรือจ�าเลย การถูกละเมิดสิทธ ิ

มนุษยชนและการให้ความรู้ทางกฎหมายแก่ประชาชน

เพื่อให้การคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน

เป็นไปอย่างทั่วถึง เสมอภาค และเป็นธรรม

• ก�าหนดมิให้น�าพระราชบัญญัตินี้มาใช้บังคับกับ

การเช่าที่ผู้เช่าเป็นนิติบุคคล และก�าหนดระยะเวลา

การเช่านาและค่าเช่านาเพื่อให้เกิดความเป็นธรรม

แก่ทั้งผู้เช่าและผู้ให้เช่า รวมทั้งห้ามคนต่างด้าว

เช่าที่ดินเพื่อประกอบเกษตรกรรมและก�าหนดหน้าที่

ของนายอ�าเภอในการส�ารวจนาที่ทิ้งว่างโดยไม่ได ้

ให้เช่าเพื่อให้เกษตรกรสามารถใช้ประโยชน์จากที่ดิน

ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

• ประกาศในราชกจิจานเุบกษา

ฉบับกฤษฎีกา เล่ม ๑๓๒

ตอน ๗๒ ก

วันที่ ๕ สิงหาคม ๒๕๕๘

• ประกาศในราชกจิจานเุบกษา

ฉบับกฤษฎีกา เล่ม ๑๓๒

ตอน ๑๖ ก

วันที่ ๖ มีนาคม ๒๕๕๘

• ประกาศในราชกจิจานเุบกษา

ฉบับกฤษฎีกา เล่ม ๑๓๒

ตอน ๑๘ ก

วันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๘

• ประกาศในราชกจิจานเุบกษา

ฉบับกฤษฎีกา เล่ม ๑๓๒

ตอน ๑๐๒ ก

วันที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๕๘

• ประกาศในราชกจิจานเุบกษา

ฉบับกฤษฎีกา เล่ม ๑๓๓

ตอน ๓๘ ก

วันที่ ๒๙ เมษายน ๒๕๕๙

Page 7: นโยบายข้อ ๑๑ - soc.go.thนโยบายข อ ๑๑ 370 รายงานผลการดำาเน นงานของร ฐบาล พลเอก

นโยบายข้อ ๑๑

375รายงานผลการดำาเนินงานของรัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี

ปีที่ ๒ (๑๒ กันยายน ๒๕๕๘-๑๒ กันยายน ๒๕๕๙)

๑.๔ กฎหมายเกี่ยวกับสวัสดิการและมนุษยธรรม

ชื่อกฎหมาย สาระสำาคัญ สถานะ

• พระราชบัญญัติการให้สิทธ ิ

แก่ผูส้มคัรเป็นสมาชกิของกองทนุ

การออมแห่งชาติบางกรณีและ

การโอนเงินจากกองทุนประกัน

สังคมในกรณีชราภาพไปยัง

กองทุนการออมแห่งชาติ

พ.ศ. ๒๕๕๘

• พระราชบัญญัติกองทุนพัฒนา

สื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์

พ.ศ. ๒๕๕๘

• พระราชบัญญัติหอพัก

พ.ศ. ๒๕๕๘

• พระราชบัญญัติป้องกัน

การทารุณกรรมและจัด

สวัสดิภาพสัตว์ พ.ศ. ๒๕๕๗

• พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก

ที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยี

ช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์

พ.ศ. ๒๕๕๘

• พระราชบัญญัติสัตว์เพื่องาน

ทางวิทยาศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๕๘

• ปรับปรุงระบบการออมเพื่อการด�ารงชีพยามชราภาพ

ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยให้อยู่ภายใต้การก�ากับ

ดูแลของหน่วยงานเดียวกัน และเปิดโอกาสให้ผู้สมัคร

เป็นสมาชิกของกองทุนการออมแห่งชาติที่มีอายุ

ห้าสิบปีบริบูรณ์ขึ้นไปในวันที่สมัครเป็นสมาชิกมีสิทธิ

เป็นสมาชิกต่อไปได้อีกสิบปีนับแต่วันดังกล่าว

• จัดตั้งกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ขึ้น

เพื่อเป็นแหล่งเงินทุนในการผลิต การพัฒนา

และการเผยแพร่สื่อที่มีคุณภาพ

• ก�าหนดแนวทางและวิธีการในการก�ากับดูแล

การประกอบกิจการหอพักให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้น

เพื่อคุ้มครองสวัสดิภาพของเด็กและเยาวชนที่อยู่

ระหว่างการศึกษา และก�าหนดให้โอนอ�านาจการ

ก�ากับดูแลการประกอบกิจการหอพักให้แก่องค์กร

ปกครองส่วนท้องถิ่น

• ก�าหนดหลักเกณฑ์ในการป้องกันการทารุณกรรม

และการจดัสวสัดภิาพสตัว์เพือ่ให้สตัว์ได้รบัการคุม้ครอง

ตามธรรมชาติของสัตว์อย่างเหมาะสม ทั้งในระหว่าง

การเลี้ยงดู การขนส่ง การน�าสัตว์ไปใช้งาน

หรือใช้ในการแสดง

• ก�าหนดสถานะความเป็นบิดามารดาที่ชอบด้วย

กฎหมายของเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลย ี

ช่วยการเจรญิพนัธุท์างการแพทย์ให้เหมาะสม ตลอดจน

ควบคุมการศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร์การแพทย ์

เกี่ยวกับตัวอ่อนและเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ ์

ทางการแพทย์มิให้มีการน�าไปใช้ในทางที่ไม่ถูกต้อง

• ก�ากับดูแลและส่งเสริมการด�าเนินการต่อสัตว ์

เพื่องานทางวิทยาศาสตร์ของประเทศไทย

ให้สอดคล้องกับหลักจรรยาบรรณและมาตรฐาน

ของสากล เพื่อคุ้มครองชีวิตและสวัสดิภาพของสัตว์

ส่งเสริมความก้าวหน้าทางวิชาการของประเทศ

ตลอดจนส่งเสริมนักวิจัยให้มีผลงานอันเป็นที่ยอมรับ

ของนานาประเทศต่อไป

• ประกาศในราชกจิจานเุบกษา

ฉบับกฤษฎีกา เล่ม ๑๓๒

ตอน ๙๒ ก

วันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๕๘

• ประกาศในราชกจิจานเุบกษา

ฉบับกฤษฎีกา เล่ม ๑๓๒

ตอน ๒๑ ก

วันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๘

• ประกาศในราชกจิจานเุบกษา

ฉบับกฤษฎีกา เล่ม ๑๓๒

ตอน ๓๒ ก

วันที่ ๒๒ เมษายน ๒๕๕๘

• ประกาศในราชกจิจานเุบกษา

ฉบับกฤษฎีกา เล่ม ๑๓๑

ตอน ๘๗ ก

วันที่ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๕๗

• ประกาศในราชกจิจานเุบกษา

ฉบับกฤษฎีกา เล่ม ๑๓๒

ตอน ๓๘ ก วันที่ ๑

พฤษภาคม ๒๕๕๘

• ประกาศในราชกจิจานเุบกษา

ฉบับกฤษฎีกา เล่ม ๑๓๒

ตอน ๑๘ ก

วันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๘

Page 8: นโยบายข้อ ๑๑ - soc.go.thนโยบายข อ ๑๑ 370 รายงานผลการดำาเน นงานของร ฐบาล พลเอก

นโยบายข้อ ๑๑

376 รายงานผลการดำาเนินงานของรัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีปีที่ ๒ (๑๒ กันยายน ๒๕๕๘-๑๒ กันยายน ๒๕๕๙)

๑.๕ กฎหมายเพื่อแก้ปัญหาสังคมและกฎหมายเกี่ยวกับการรักษาความสงบเรียบร้อย

ชื่อกฎหมาย สาระสำาคัญ สถานะ

• พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติม

ประมวลกฎหมายอาญา

(ฉบับที่ ๒๔) พ.ศ. ๒๕๕๘

(ความผิดเกี่ยวกับสื่อลามก

อนาจารเด็ก)

• พระราชบัญญัติควบคุม

การขอทาน พ.ศ. ๒๕๕๙

• พระราชบัญญัติการป้องกัน

และแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์

ในวัยรุ่น พ.ศ. ๒๕๕๙

• พระราชบัญญัติการชุมนุม

สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๕๘

• ก�าหนดให้ความผดิเกีย่วกบัการค้าหรอืท�าให้แพร่หลาย

ซึ่งวัตถุหรือสิ่งลามกที่เป็นสื่อลามกอนาจารเด็ก

เป็นความผิดที่ผู้กระท�าต้องได้รับโทษหนักขึ้น

รวมทั้งก�าหนดให้การครอบครองและส่งต่อซึ่งสื่อลามก

อนาจารเด็กเป็นความผิด เพื่อให้เด็กได้รับการคุ้มครอง

และป้องกันจากการถูกล่วงละเมิดทางเพศมากขึ้น

• ก�าหนดให้มีการจัดระเบียบเกี่ยวกับการคุ้มครอง

และพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ท�าการขอทาน การควบคุม

การขอทาน และแยกผู้แสดงความสามารถออกจาก

การเป็นผู้ท�าการขอทาน ทั้งนี้ เพื่อเป็นการแก้ปัญหา

สังคมและคุ้มครองสวัสดิภาพของบุคคลให้เหมาะสม

ยิ่งขึ้น อีกทั้งก�าหนดความผิดทางอาญาแก่ผู้ซึ่ง

หาประโยชน์จากความไม่สมประกอบทางร่างกาย

ความอ่อนด้อยทางสติปัญญาหรือสภาพจิตใจ

ของบุคคลอื่น

• ก�าหนดให้มีกลไกในการก�าหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์

และการด�าเนินการร่วมกันของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ทั้งหน่วยงานของรัฐ หน่วยงานของเอกชน

และประชาสังคม เพื่อบูรณาการให้การป้องกัน

และแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเป็นรูปธรรม

มีความเป็นเอกภาพและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

• ก�าหนดหลักเกณฑ์การใช้สิทธิชุมนุมสาธารณะ

ให้ชัดเจนและโดยสอดคล้องกับกติการะหว่างประเทศ

ว่าด้วยสทิธพิลเมอืงและสทิธทิางการเมอืงทปีระเทศไทย

เป็นภาคี ทั้งนี้ เพื่อให้การชุมนุมสาธารณะเป็นไปด้วย

ความสงบเรียบร้อย ไม่กระทบกระเทือนต่อความมั่นคง

ของชาติ ความปลอดภัยสาธารณะ ความสงบเรียบร้อย

หรือศีลธรรมอันดี ตลอดจนสุขอนามัยของประชาชน

หรือความสะดวกของประชาชนที่จะใช้ที่สาธารณะ

และไม่กระทบกระเทือนสิทธิและเสรีภาพและศักดิ์ศรี

ความเป็นมนุษย์ของผู้อื่น

• ประกาศในราชกจิจานเุบกษา

ฉบับกฤษฎีกา เล่ม ๑๓๒

ตอน ๘๖ ก

เมือ่วนัที ่๘ กนัยายน ๒๕๕๘

• ประกาศในราชกจิจานเุบกษา

ฉบับกฤษฎีกา เล่ม ๑๓๓

ตอน ๓๘ ก

วันที่ ๒๙ เมษายน ๒๕๕๙

• ประกาศในราชกจิจานเุบกษา

ฉบับกฤษฎีกา เล่ม ๑๓๓

ตอน ๓๐ ก

วันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๙

• ประกาศในราชกจิจานเุบกษา

ฉบับกฤษฎีกา เล่ม ๑๓๒

ตอน ๖๓ ก

วันที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๕๘

Page 9: นโยบายข้อ ๑๑ - soc.go.thนโยบายข อ ๑๑ 370 รายงานผลการดำาเน นงานของร ฐบาล พลเอก

นโยบายข้อ ๑๑

377รายงานผลการดำาเนินงานของรัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี

ปีที่ ๒ (๑๒ กันยายน ๒๕๕๘-๑๒ กันยายน ๒๕๕๙)

๒. การเพิ่มศักยภาพหน่วยงานที่มีหน้าที่ให้ความเห็นทางกฎหมายและจัดท�า

กฎหมายและพัฒนาบุคลากรของหน่วยงานทางกฎหมาย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ

และ เกื้อกูลการปฏิบัติร าชการเพื่อประชาชน มีการพัฒนาบุคลากรทางกฎหมาย

และเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานภาครัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อเสริมสร้างความรู้ด้านการร่างกฎหมาย

การปฏิบัติราชการตามกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง และกฎหมายว่าด้วยความรับผิด

ทางละเมิดของเจ ้าหน ้าที่ ชี้แจงแนวทางการทบทวนกฎหมายตามพระราชกฤษฎีกาการทบทวน

ความเหมาะสมของกฎหมาย และประเด็นส�าคัญต่าง ๆ เกี่ยวกับกฎหมาย โดยได้จัดอบรมให้ความรู ้

ด้านกฎหมายบรูณาการร่วมกบัส�านกังานคณะกรรมการกฤษฎกีา ส�านกังานศาลปกครอง จฬุาลงกรณ์มหาวทิยาลยั

มหาวทิยาลยัเกษตรศาสตร์ มหาวทิยาลยัเชยีงใหม่ มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์ และมหาวทิยาลยัสโุขทยัธรรมาธริาช

รวมจ�านวน ๑๔ หลักสูตร มีผู้เข้ารับการอบรม จ�านวน ๑,๒๐๙ คน

๓. การน�าเทคโนโลยทีีท่นัสมยัและความรูท้างนติวิทิยาศาสตร์มาใช้และมรีะบบฐานข้อมลู

ที่เชื่อมโยงกัน เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพของหน่วยงานและเจ้าหน้าที่ในกระบวนการ

ยตุธิรรม โดยมกีารด�าเนนิการสนบัสนนุการอ�านวยความยตุธิรรม ได้แก่ ๑) ตรวจสารพนัธกุรรมเพือ่แก้ไขปัญหา

สถานะบคุคล โดยด�าเนนิการตรวจสารพนัธกุรรมบคุคลตามรายชือ่ทีผ่่านการพจิารณาจากกรมการปกครองในพืน้ที่

จังหวัดประจวบคีรีขันธ์และระนอง พบว่าเป็นบุคคลตกหล่น จ�านวน ๓๔๙ ราย บุคคลอ้างอิง จ�านวน ๑๕๕ ราย

รวมทั้งสิ้น จ�านวน ๕๐๔ ราย ๒) ตรวจพิสูจน์และจัดการข้อมูลด้านนิติวิทยาศาสตร์ในจังหวัดชายแดนภาคใต้

จ�านวน ๒๓๑ ครัง้ ประกอบด้วย จงัหวดัปัตตาน ีจ�านวน ๑๔๕ ครัง้ ยะลา จ�านวน ๑๔ ครัง้ นราธวิาส จ�านวน ๖๓ ครัง้

และสงขลา จ�านวน ๙ ครั้ง ๓) จัดเก็บสารพันธุกรรม (DNA) ผู้ต้องโทษเพื่อจัดท�าฐานข้อมูลของสถาบัน

นิติวิทยาศาสตร์แล้ว จ�านวน ๓,๙๑๗ รายการ และ ๔) สนับสนุนการตรวจพิสูจน์สารเสพติดในเส้นผม

ของผู้ถูกคุมประพฤติ ผู้ต้องขัง เด็กและเยาวชน จ�านวน ๑๐๖ ราย

๔. การปรับปรุงระบบการช่วยเหลือทางกฎหมายโดยให้เข้าถึงความเป็นธรรม

ได้โดยง่าย

๔.๑ การช่วยเหลือประชาชนให้เข้าถึงความเป็นธรรม ช่วยเหลือเยียวยาผู้เสียหายและจ�าเลย

ในคดีอาญาตามพระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จ�าเลยในคดีอาญา

พ.ศ. ๒๕๔๔ แล้ว จ�านวน ๑๒,๗๘๙ ราย เป็นเงนิ จ�านวน ๕๙๕ ล้านบาท โดยเป็นผูเ้สยีหาย จ�านวน ๑๒,๖๙๘ ราย

เป็นเงิน ๕๗๗,๕๑๖,๘๓๙.๔๖ บาท และจ�าเลย จ�านวน ๙๑ ราย เป็นเงิน ๑๗,๔๘๓,๑๖๐.๕๔ บาท

(ข้อมลู ณ วนัที ่๑๔ กนัยายน ๒๕๕๙) ประชาชนยืน่ขอรบัการสนบัสนนุจากกองทนุยตุธิรรม จ�านวน ๓,๖๗๓ ราย

จ่ายเงนิช่วยเหลอื จ�านวน ๑๑๙,๔๓๓,๗๐๙.๕๐ บาท (ข้อมลู ณ วนัที ่๓๑ กรกฎาคม ๒๕๕๙) และให้ค�าปรกึษาทาง

กฎหมายแก่ประชาชน จ�านวน ๒๖,๗๓๒ ราย (ข้อมูลสะสมระหว่างวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๘-๒ กันยายน ๒๕๕๙)

ท�าให้ประชาชนได้รับการช่วยเหลือเยียวยาจากภาครัฐและมีความรู้ความเข้าใจกับกฎหมายและกระบวนการ

ยุติธรรมอันเป็นการป้องกันมิให้ท�าผิดกฎหมาย

Page 10: นโยบายข้อ ๑๑ - soc.go.thนโยบายข อ ๑๑ 370 รายงานผลการดำาเน นงานของร ฐบาล พลเอก

นโยบายข้อ ๑๑

378 รายงานผลการดำาเนินงานของรัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีปีที่ ๒ (๑๒ กันยายน ๒๕๕๘-๑๒ กันยายน ๒๕๕๙)

๔.๒ การคุม้ครองพยาน มผีูย้ืน่ค�าร้อง จ�านวน ๓๐๒ ราย อยูร่ะหว่างตรวจสอบข้อเทจ็จรงิ จ�านวน ๒๐ ราย

ยกค�าร้อง จ�านวน ๖๗ ราย เข้าโปรแกรมคุม้ครองพยาน จ�านวน ๒๑๕ ราย สิน้สดุการคุม้ครองพยาน จ�านวน ๒๐ ราย

และอยู่ระหว่างการคุ้มครองพยาน จ�านวน ๓๑๖ ราย

Page 11: นโยบายข้อ ๑๑ - soc.go.thนโยบายข อ ๑๑ 370 รายงานผลการดำาเน นงานของร ฐบาล พลเอก

นโยบายข้อ ๑๑

379รายงานผลการดำาเนินงานของรัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี

ปีที่ ๒ (๑๒ กันยายน ๒๕๕๘-๑๒ กันยายน ๒๕๕๙)

๔.๓ การพัฒนาระบบการบังคับคดีแพ่ง คดีล้มละลาย และการฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้

๔.๓.๑ ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทชั้นบังคับคดี เพื่อยุติข้อพิพาทในชั้นบังคับคดีและเพิ่มปริมาณเงิน

เข้าสู่ระบบเศรษฐกิจของประเทศ โดยให้ความส�าคัญแก่หนี้รายย่อย หนี้ครัวเรือน หนี้วิสาหกิจขนาดกลาง

และขนาดย่อม และหนีก้องทนุให้กูย้มืเพือ่การศกึษา (กยศ.) ด�าเนนิกจิกรรมการไกล่เกลีย่ข้อพพิาทในชัน้บงัคบัคด ี

เพื่อลดปริมาณคดีที่เข้าสู ่กระบวนการไกล่เกลี่ย เรื่องเข้าสู ่กระบวนการไกล่เกลี่ย จ�านวน ๙,๗๒๖ เรื่อง

ทุนทรัพย์ จ�านวน ๔,๒๕๕,๒๖๒,๒๑๗.๙๒ บาท ไกล่เกลี่ยส�าเร็จ จ�านวน ๘,๐๑๙ เรื่อง ทุนทรัพย์

จ�านวน ๒,๙๖๕,๒๙๔,๖๕๘.๑๒ บาท แก้ไขปัญหาหนีส้นิครแูละบคุลากรทางการศกึษาโดยการไกล่เกลีย่ข้อพพิาท

ในชั้นบังคับคดีมาเป็นแนวทางการให้ความช่วยเหลือ เรื่องเข้าสู่กระบวนการไกล่เกลี่ย จ�านวน ๑๐๒ เรื่อง

ทนุทรพัย์ จ�านวน ๔๑,๗๑๓,๗๙๗.๗๒ บาท ไกล่เกลีย่ส�าเรจ็ จ�านวน ๗๘ เรือ่ง ทนุทรพัย์ จ�านวน ๒๖,๗๔๖,๓๖๖.๕๙ บาท

และร่วมมอืกบัธนาคารเพือ่การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) ตรวจสอบหนีเ้กษตรกรทีม่อียูใ่นชัน้บงัคบัคด ี

ซึง่มเีกษตรกรในชัน้บงัคบัคด ีจ�านวน ๒,๒๙๒ ราย ไกล่เกลีย่ส�าเรจ็ จ�านวน ๑๒๕ เรือ่ง ไม่ส�าเรจ็ จ�านวน ๔๗๗ เรือ่ง

อยู่ระหว่างด�าเนินการ จ�านวน ๓๒๒ เรื่อง ยังไม่ได้ตั้งเรื่องยึดทรัพย์ จ�านวน ๓๙๒ เรื่อง ด�าเนินการอื่น ๆ

จ�านวน ๙๗๖ เรื่อง การขายทอดตลาดทรัพย์สินสามารถผลักดันทรัพย์สินเข้าสู ่ระบบเศรษฐกิจ จ�านวน

๗๓,๖๒๓,๖๐๓,๕๓๒ บาท

๔.๓.๒ ให้ความรู ้แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่ โดยจัดอบรมให้ความรู ้ด้านกฎหมายแพ่ง

และพาณิชย์ กฎหมายด้านการบังคับคดี การไกล่เกลี่ยข้อพิพาท และขั้นตอนกระบวนงานตามภารกิจ

ของกรมบังคับคดีให้แก่ประชาชนทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค จ�านวน ๑,๔๙๔ คน ให้ความรู้ ความเข้าใจ

เรื่องวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) แก่บุคลากรของกรมบังคับคดี จ�านวน ๒๔๘ คน ให้ความรู ้

กฎหมายแก ่ผู ้ประกอบการ SMEs ในหัวข ้อกฎหมายหลักประกันทางธุรกิจ กฎหมายค�้าประกัน

และการจ�านอง จ�านวน ๑,๓๐๘ คน จัดโครงการให้ความรู้กฎหมายฟื้นฟูกิจการของธุรกิจ SMEs ในส่วนกลาง

และส่วนภูมิภาค จ�านวน ๔,๕๘๐ คน และจัดอบรมให้ความรู ้กระบวนการขั้นตอนการบังคับคด ี

ที่มีการเปลี่ยนแปลงให้แก่ผู้เป็นเครือข่ายบังคับคดี จ�านวน ๑๗๔ คน

๔.๔ การพัฒนารูปแบบการให้บริการแก่

คู ่ความและประชาชน เพื่อให้ประหยัดค่าใช้จ่าย

ในการเดินทาง โดยเพิ่มช่องทางการเปิดให้บริการ

ข้อมูลผ่านทางสายด่วนกรมบังคับคดี ๑๑๑๑ กด ๗๙

เพือ่สอบถามข้อมลูผลการขายทอดตลาด ความคบืหน้า

ของคดีและการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท มีผู ้ใช้บริการ

จ�านวน ๑๓,๕๘๙ ราย โดยเป็นกรณีสอบถามผลคดี

มากที่สุด จ�านวน ๘,๔๓๖ ราย การเปิดให้บริการ

ข้อมลูผ่านทางระบบแอปพลเิคชนับนโทรศพัท์เคลือ่นที่

“LED PROPERTY” เพื่อค้นหารายละเอียดทรัพย์สิน

ที่ขายทอดตลาด เป็นการอ�านวยความสะดวกให้แก่ผู้สนใจซื้อทรัพย์จากการขายทอดตลาดให้เข้าถึงข้อมูล

ได้ง่ายขึ้น มีผู้ดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน จ�านวน ๔,๘๕๐ ครั้ง และการเปิดให้บริการข้อมูลผ่านทางระบบ

แอปพลิเคชันบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ “LED Property Plus” เพื่อค้นหาทรัพย์สินขายทอดตลาดใกล้แนวรถไฟฟ้า

จ�านวน ๑,๐๘๖ ครั้ง

“ให้บริการข้อมูลความคืบหน้า

ของคดีและการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท

ผ่านทางสายด่วนกรมบังคับคดี

๑๑๑๑ กด ๗๙”

Page 12: นโยบายข้อ ๑๑ - soc.go.thนโยบายข อ ๑๑ 370 รายงานผลการดำาเน นงานของร ฐบาล พลเอก

นโยบายข้อ ๑๑

380 รายงานผลการดำาเนินงานของรัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีปีที่ ๒ (๑๒ กันยายน ๒๕๕๘-๑๒ กันยายน ๒๕๕๙)

๔.๕ การแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำาความผิด

๔.๕.๑ แก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำาความผิด

ในเรอืนจำา ด�าเนนิการฝึกอบรมและทดสอบมาตรฐาน

ฝีมือแรงงาน โดยมีผู้ต้องขังผ่านการทดสอบ จ�านวน

๒,๕๕๑ คน ด�าเนินโครงการการพัฒนาจิตใจ

หลักสูตร “สัคคสาสมาธิ” มีผู ้ เข ้าร ่วมโครงการ

จ�านวน ๙๒,๑๑๓ คน ฝึกวิชาชีพผู ้ต ้องขังหญิง

ตามแผนปฏิบัติต่อผู้ต้องขังหญิงในเรือนจ�า มีผู้ต้องขัง

ผ่านการอบรม จ�านวน ๖,๙๑๑ คน ด�าเนินโครงการ

ก�าลังใจ มีผู้เข้าร่วม จ�านวน ๓๐๐ คน และจัดระบบเรือนจ�าเฉพาะทางการศึกษา มีผู้เรียน จ�านวน ๓๔๖ คน

แบ่งเป็น สายสามัญ จ�านวน ๑๘๑ คน สายอาชีพ จ�านวน ๑๖๕ คน การบริหารความจุผู้ต้องขัง โดยการเกลี่ย

ย้ายระบายผู้ต้องขังไปยังเรือนจ�าหรือทัณฑสถานภายในเขต จ�านวน ๑๔,๔๕๓ คน ย้ายระบายผู้ต้องขังหญิง

ในเรือนจ�าชายไปทัณฑสถานหญิงหรือปรับปรุงแดนหญิงให้เหมาะสม จ�านวน ๑,๑๔๒ ราย การบริหารโทษ

ปล่อยพักการลงโทษปกติ จ�านวน ๙,๗๕๒ คน พักการลงโทษกรณีพิเศษ จ�านวน ๑,๐๙๘ คน พักการลงโทษ

เฉพาะราย จ�านวน ๑ คน ลดวันต้องโทษ จ�านวน ๒๙,๑๑๔ คน เพื่อลดความแออัดของเรือนจ�าหรือทัณฑสถาน

๔.๕.๒ แก้ไขฟื้นฟูเด็กและเยาวชน เด็กและเยาวชนที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติดได้รับการบ�าบัด

และฟื้นฟูสมรรถภาพ จ�านวน ๑๓,๔๘๘ ราย เด็กและเยาวชนในคดีอาญาได้รับการสืบเสาะและจัดท�ารายงาน

ข้อเทจ็จรงิ จ�านวน ๑๘,๙๕๗ ราย เดก็และเยาวชนในคดคีรอบครวัได้รบัการสบืเสาะและจดัท�ารายงานข้อเทจ็จรงิ

จ�านวน ๖,๕๕๓ ราย ผู้เยาว์ได้รับการก�ากับการปกครองตามค�าสั่งศาล จ�านวน ๔,๑๓๕ ราย เด็กและเยาวชน

ที่ได้รับการควบคุมและฝึกอบรม จ�านวน ๑๓,๔๘๑ ราย

๔.๖ การสร้างโอกาสการเข้าถึงบริการของรัฐ เปิดคลินิกให้ค�าปรึกษาเด็กและครอบครัวอบอุ่น

เพื่อให้ค�าปรึกษาด้านพฤติกรรมเด็กและเยาวชน ปัญหาด้านครอบครัวและปัญหากฎหมายที่เกี่ยวข้อง

กับเด็ก เยาวชน และผู้เยาว์ แก่บิดามารดาหรือผู้ปกครองเด็กและเยาวชน รวมทั้งประชาชนทั่วไป ซึ่งได้เปิด

ด�าเนินการในสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนทั่วประเทศ จ�านวน ๗๗ แห่ง ศูนย์ฝึกและอบรม

จ�านวน ๑๘ แห่ง โดยมีผู ้มาขอรับบริการทั้งสิ้น ๗๐๘ ราย แบ่งเป็นขอรับบริการด้วยตนเองที่คลินิก

จ�านวน ๕๓๔ ราย ขอรับบริการทางโทรศัพท์ จ�านวน ๕๐ ราย และอื่น ๆ จ�านวน ๑๒๔ ราย