497
สารบัญเรียงมาตรา ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ .1 .2 .3 .4 .5 .6 .7 .8 .9 .10 15 20 30 40 50 60 70 80 90 100 110 120 130 140 150 160 170 180 190 193/1 193/5 193/10 193/15 193/20 193/25 193/30 193/35 195200 210 220 230 240 250 260 270 280 290 300 310 320 330 340 350 360 370 380 390 400 410 420 430 440 450 460 470 480 490 500 510 520 530 540 550 560 570 580 590 600 610 620 630 640 650 660 670 680 690 700 710 720 730 740 750 760 770 780 790 800 810 820 830 840 850 860 870 880 890 900 910 920 930 940 950 960 970 980 990 1000 1010 1020 1030 1040 1050 1060 1070 1080 1090 1100 1110 1120 1130 1140 1150 1160 1170 1180 1190 1200 1210 1220 1230 1240 1250 1260 1270 1274-1290 ยกเลิก 1300 1310 1320 1330 1340 1350 1360 1370 1380 1390 1400 1410 1420 1430 1440 1450 1460 1470 1480 1490 1500 1510 1520 1530 1540 1550 1560 1570 1580 1590 1598/11598/51598/101598/151598/201598/251598/301598/351598/401600 1610 1620 1630 1640 1650 1660 1670 1680 1690 1700 1710 1720 1730 1740 1750 1755 * สารบัญ ตั้งแต่มาตรา 20 ไปเป็นสารบัญทีละ 10 มาตรา เพื ่อไม ่ให้รุงรังเกินจําเป็น วิธีใช้งาน : คลิก/กด ที ่เลข เพื ่อไปที ่มาตรานั้น คลิก/กด ที ่คําว ่า มาตรา ในมาตรานั้น เพื ่อกลับสู ่สารบัญ **ข้อมูลกฎหมายคัดลอกจากเวบกฤษฎีกาเพื ่อสะดวกแก ่การใช้ ห้ามนําไปใช้เพื ่อประโยชน์ทางธุรกิจ/การค้า

สารบัญเรียงมาตรา Mai/civil_code...ศ. ๒๕๓๕ ภ ม พลอด ลยเดช ป.ร. ให ไว ณ ว นท ม นาคม พ.ศ

  • Upload
    others

  • View
    8

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • สารบัญเรียงมาตรา ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

    2ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 ม.7 ม.8 ม.9 ม.10

    15 20 30 40 50 60 70 80 90 100

    110 120 130 140 150 160 170 180 190

    193/1 193/5 193/10 193/15 193/20 193/25 193/30 193/35 1952 200

    210 220 230 240 250 260 270 280 290 300

    310 320 330 340 350 360 370 380 390 400

    410 420 430 440 450 460 470 480 490 500

    510 520 530 540 550 560 570 580 590 600

    610 620 630 640 650 660 670 680 690 700

    710 720 730 740 750 760 770 780 790 800

    810 820 830 840 850 860 870 880 890 900

    910 920 930 940 950 960 970 980 990 1000

    1010 1020 1030 1040 1050 1060 1070 1080 1090 1100

    1110 1120 1130 1140 1150 1160 1170 1180 1190 1200

    1210 1220 1230 1240 1250 1260 1270 1274-1290 ยกเลิก 1300

    1310 1320 1330 1340 1350 1360 1370 1380 1390 1400

    1410 1420 1430 1440 1450 1460 1470 1480 1490 1500

    1510 1520 1530 1540 1550 1560 1570 1580 1590

    1598/12 1598/5 2 1598/10 2 1598/15 2 1598/20 2 1598/25 2 1598/30 2 1598/35 2 1598/40 2 1600

    1610 1620 1630 1640 1650 1660 1670 1680 1690 1700

    1710 1720 1730 1740 1750 1755

    * สารบัญ ตัง้แต่มาตรา 20 ไปเป็นสารบัญทีละ 10 มาตรา เพื่อไม่ให้รุงรังเกินจาํเป็น

    วิธีใช้งาน : คลิก/กด ที่เลข เพื่อไปที่มาตรานัน้ คลิก/กด ที่คาํว่า “ มาตรา ” ในมาตรานัน้ เพื่อกลับสู่สารบัญ

    **ข้อมูลกฎหมายคัดลอกจากเวบกฤษฎีกาเพื่อสะดวกแก่การใช้ ห้ามนําไปใช้เพื่อประโยชน์ทางธุรกิจ/การค้า

  • พระราชกฤษฎีกา

    ให้ใช้บทบัญญัตแิห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

    บรรพ ๑ และ ๒ ที่ได้ตรวจชาํระใหม่[๑]

    มีพระบรมราชโองการ ในพระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวธุ

    พระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยู่หวั ให้ประกาศจงทราบทัว่กนัว่า

    จําเดิมแต่ได้ออกประกาศประมวลกฎหมายแพง่และพาณิชย์ บรรพ ๑ และ ๒

    แต่วนัท่ี ๑๑ พฤศจิกายน พระพทุธศกัราช ๒๔๖๖ เปนต้นมา ได้มีความเห็นแนะนํามากหลาย เพ่ือ

    ยงัประมวลกฎหมายนีใ้ห้สมบรูณ์ยิ่งขึน้

    และเม่ือได้พจิารณาโดยถ่องแท้แล้ว เห็นเปนการสมควรให้ตรวจชําระบทบญัญตัิ

    ในบรรพ ๑ และ ๒ แห่งประมวลกฎหมายแพง่และพาณิชย์ท่ีกล่าวมาข้างต้นนัน้ใหม่

    จึง่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สัง่ว่า บทบญัญตัิเดิมในบรรพ ๑ และ ๒ แห่งประมวล

    กฎหมายแพง่และพาณิชย์ท่ีได้ประกาศไว้แต่ ณ วนัท่ี ๑๑ พฤศจิกายน พระพทุธศกัราช ๒๔๖๖ นัน้

    ให้ยกเลิกเสียสิน้ และใช้บทบญัญตัิท่ีได้ตรวจชําระใหม่ต่อท้ายพระราชกฤษฎีกานีแ้ทนสืบไป

    ประกาศมา ณ วนัท่ี ๑๑ พฤศจิกายน พระพทุธศกัราช ๒๔๖๘ เปนปีท่ี ๑๖ ใน

    รัชกาลปัตยบุนันี ้

    http://web.krisdika.go.th/data/law/law4/%bb03/%bb03-20-9999-update.htm#_ftn1

  • พระราชบัญญัต ิ

    ให้ใช้บทบัญญัตบิรรพ ๑

    แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่ได้ตรวจชาํระใหม่

    พ.ศ. ๒๕๓๕

    ภมิูพลอดลุยเดช ป.ร.

    ให้ไว้ ณ วนัท่ี ๓๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๕

    เป็นปีท่ี ๔๗ ในรัชกาลปัจจบุนั

    พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมิูพลอดลุยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า

    ฯ ให้ประกาศว่า

    โดยท่ีเป็นการสมควรปรับปรุงบทบญัญตัิบรรพ ๑ แห่งประมวลกฎหมายแพง่และ

    พาณิชย์ และบทบญัญตัิลกัษณะ ๒๓ สมาคม ของบรรพ ๓ แห่งประมวลกฎหมายแพง่และ

    พาณิชย์

    จงึทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบญัญตัิขึน้ไว้โดยคําแนะนําและ

    ยินยอมของสภานิติบญัญตัิแห่งชาติ ทําหน้าท่ีรัฐสภา ดงัต่อไปนี ้

    มาตรา ๑ พระราชบญัญตัินีเ้รียกว่า “พระราชบญัญตัิให้ใช้บทบญัญตัิบรรพ ๑ แห่ง

    ประมวลกฎหมายแพง่และพาณิชย์ท่ีได้ตรวจชําระใหม่ พ.ศ. ๒๕๓๕”

    มาตรา ๒ [๒] พระราชบญัญตัินีใ้ห้ใช้บงัคบัเม่ือพ้นกําหนดหกสิบวนันบัแต่วนัถดัจาก

    วนัประกาศในราชกิจจานเุบกษาเป็นต้นไป

    http://web.krisdika.go.th/data/law/law4/%bb03/%bb03-20-9999-update.htm#_ftn2

  • มาตรา ๓ ให้แก้ไขเพิม่เติมประมวลกฎหมายแพง่และพาณิชย์บรรพ ๑ และบรรพ

    ๓ ดงัต่อไปนี ้

    (๑) ให้ยกเลิกบทบญัญตัิบรรพ ๑ แห่งประมวลกฎหมายแพง่และพาณิชย์ ซึง่ได้ใช้

    บงัคบัโดยพระราชกฤษฎีกาให้ใช้บทบญัญตัิแห่งประมวลกฎหมายแพง่และพาณิชย์บรรพ ๑ และ

    บรรพ ๒ ท่ีได้ตรวจชําระใหม่ พ.ศ. ๒๔๖๘

    (๒) ให้ยกเลิกลกัษณะ ๒๓ สมาคม ของบรรพ ๓ แห่งประมวลกฎหมายแพง่และ

    พาณิชย์ ซึง่ได้ใช้บงัคบัโดยพระราชกฤษฎีกาให้ใช้บทบญัญตัิแห่งประมวลกฎหมายแพง่และ

    พาณิชย์บรรพ ๓ ท่ีได้ตรวจชําระใหม่ พ.ศ. ๒๔๗๑

    (๓) ให้ใช้บทบญัญตัิท้ายพระราชบญัญตัินีเ้ป็นบรรพ ๑ แห่งประมวลกฎหมายแพง่

    และพาณิชย์ท่ีได้ตรวจชําระใหม่

    มาตรา ๔ เอกสารท่ีมีการใช้ตราประทบัแทนการลงลายมือช่ือตามมาตรา ๙ วรรค

    สอง แห่งประมวลกฎหมายแพง่และพาณิชย์ ก่อนการแก้ไขเพิม่เติมโดยพระราชบญัญตัินี ้ซึง่ได้

    กระทําขึน้ก่อนวนัท่ีพระราชบญัญตัินีใ้ช้บงัคบั ให้มีผลสมบรูณ์เสมือนกบัลงลายมือช่ือต่อไป

    มาตรา ๕ บทบญัญตัิบรรพ ๑ แห่งประมวลกฎหมายแพง่และพาณิชย์ ท่ีได้ตรวจ

    ชําระใหม่ท้ายพระราชบญัญตัินี ้ไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบรูณ์ของการให้กู้ ยืมเงินท่ีผู้

    เสมือนไร้ความสามารถ ได้กระทําขึน้ก่อนวนัท่ีพระราชบญัญตัินีใ้ช้บงัคบั

    มาตรา ๖ ผู้จดัการทรัพย์สินของผู้ ไม่อยู่ท่ีศาลได้ตัง้ขึน้ก่อนวนัท่ีพระราชบญัญตัินี ้

    ใช้บงัคบั หากยงัมิได้จดัทําบญัชีทรัพย์สินของผู้ ไม่อยู่หรือจดัทํายงัไม่แล้วเสร็จ ให้จดัทําให้แล้วเสร็จ

    ภายในสามเดือนนบัแต่วนัท่ีพระราชบญัญตัินีใ้ช้บงัคบั และให้นํามาตรา ๕๒ และมาตรา ๕๓ แห่ง

    ประมวลกฎหมายแพง่และพาณิชย์ท่ีได้ตรวจชําระใหม่ท้ายพระราชบญัญตัินีม้าใช้บงัคบั

  • มาตรา ๗ ให้องค์กรหรือหน่วยงานท่ีกฎหมายบญัญตัิให้เป็นทบวงการเมืองตาม

    ความหมายของมาตรา ๗๒ แห่งประมวลกฎหมายแพง่และพาณิชย์ ซึง่ถกูยกเลิกโดยมาตรา ๓ (๑)

    แห่งพระราชบญัญตัินี ้คงมีฐานะเป็นนิติบคุคลต่อไป

    มาตรา ๘ ให้บรรดาสมาคมท่ีได้จดทะเบียนตามประมวลกฎหมายแพง่และ

    พาณิชย์ก่อนวนัท่ีพระราชบญัญตัินีใ้ช้บงัคบั เป็นสมาคมตามบทบญัญตัิแห่งประมวลกฎหมาย

    แพง่และพาณิชย์ท่ีได้ตรวจชําระใหม่ท้ายพระราชบญัญตัินี ้

    สมาคมใดท่ีได้จดทะเบียนตามประมวลกฎหมายแพง่และพาณิชย์ก่อนวนัท่ี

    พระราชบญัญตัินีใ้ช้บงัคบั มิได้ใช้ช่ือซึง่มีคําว่า “สมาคม” ประกอบกบัช่ือของสมาคมให้ย่ืนคําขอ

    แก้ไขข้อบงัคบัของสมาคมให้ถกูต้องตามมาตรา ๘๐ แห่งประมวลกฎหมายแพง่และพาณิชย์ท่ีได้

    ตรวจชําระใหม่ท้ายพระราชบญัญตัินี ้ภายในสองปีนบัแต่วนัท่ีพระราชบญัญตัินีใ้ช้บงัคบั

    มาตรา ๙ สมาคมตามมาตรา ๘ วรรคหนึง่ สมาคมใด มีวิธีจดัการโดยไม่มี

    คณะกรรมการเป็นผู้ ดําเนินกิจการของสมาคมตามมาตรา ๗๙ (๖) แห่งประมวลกฎหมายแพง่และ

    พาณิชย์ท่ีได้ตรวจชําระใหม่ท้ายพระราชบญัญตัินี ้ถ้าสมาคมนัน้ไม่ดําเนินการย่ืนคําขอแก้ไข

    ข้อบงัคบัของสมาคมและจดัให้มีคณะกรรมการเป็นผู้ ดําเนินกิจการของสมาคมภายในสองปีนบัแต่

    วนัท่ีพระราชบญัญตัินีใ้ช้บงัคบั ให้นายทะเบียนถอนช่ือสมาคมนัน้ออกจากทะเบียน

    มาตรา ๑๐ สมาคมตามมาตรา ๘ วรรคหนึง่ สมาคมใด มีสมาชิกไม่ถึงสิบคน หาก

    สมาคมนัน้ไม่ได้จดัให้มีจํานวนสมาชิกตามมาตรา ๘๑ แห่งประมวลกฎหมายแพง่และพาณิชย์ท่ีได้

    ตรวจชําระใหม่ท้ายพระราชบญัญตัินี ้ภายในสองปีนบัแต่วนัท่ีพระราชบญัญตัินีใ้ช้บงัคบั ให้นาย

    ทะเบียนถอนช่ือสมาคมนัน้ออกจากทะเบียนตามมาตรา ๑๐๒ (๕) แห่งประมวลกฎหมายแพง่และ

    พาณิชย์ท่ีได้ตรวจชําระใหม่ท้ายพระราชบญัญตัินี ้

  • มาตรา ๑๑ ให้บรรดามลูนิธิท่ีได้จดทะเบียนตามประมวลกฎหมายแพง่และ

    พาณิชย์ก่อนวนัท่ีพระราชบญัญตัินีใ้ช้บงัคบั เป็นมลูนิธิตามบทบญัญตัิแห่งประมวลกฎหมายแพง่

    และพาณิชย์ท่ีได้ตรวจชําระใหม่ท้ายพระราชบญัญตัินี ้และให้ถือว่าตราสารก่อตัง้มลูนิธิดงักล่าว

    เป็นข้อบงัคบัของมลูนิธิตามประมวลกฎหมายแพง่และพาณิชย์ท่ีได้ตรวจชําระใหม่ท้าย

    พระราชบญัญตัินี ้

    มลูนิธิใดท่ีได้จดทะเบียนตามประมวลกฎหมายแพง่และพาณิชย์ก่อนวนัท่ี

    พระราชบญัญตัินีใ้ช้บงัคบั มิได้ใช้ช่ือซึง่มีคําว่า “มลูนิธิ” ประกอบกบัช่ือของมลูนิธิ ให้ย่ืนคําขอ

    แก้ไขข้อบงัคบัของมลูนิธิให้ถกูต้องตามมาตรา ๑๑๓ แห่งประมวลกฎหมายแพง่และพาณิชย์ท่ีได้

    ตรวจชําระใหม่ท้ายพระราชบญัญตัินี ้ภายในสองปีนบัแต่วนัท่ีพระราชบญัญตัินีใ้ช้บงัคบั

    มาตรา ๑๒ บรรดามลูนิธิท่ีมีอยู่ก่อนวนัท่ีพระราชบญัญตัินีใ้ช้บงัคบัและมิได้เป็น

    นิติบคุคล ถ้าประสงค์จะจดัตัง้เป็นนิติบคุคลและใช้คําว่า “มลูนิธิ” ประกอบช่ือของตนต่อไป ต้อง

    ย่ืนคําขอจดทะเบียนตามมาตรา ๑๑๔ แห่งประมวลกฎหมายแพง่และพาณิชย์ท่ีได้ตรวจชําระใหม่

    ท้ายพระราชบญัญตัินี ้ภายในหนึง่ร้อยแปดสิบวนันบัแต่วนัท่ีพระราชบญัญตัินีใ้ช้บงัคบั

    มาตรา ๑๓ มลูนิธิตามมาตรา ๑๑ วรรคหนึง่ มลูนิธิใด มีข้อบงัคบัท่ีกําหนดให้มี

    ผู้จดัการของมลูนิธิไม่ถึงสามคนในวนัท่ีพระราชบญัญตัินีใ้ช้บงัคบั ถ้ามลูนิธินัน้ไม่ดําเนินการย่ืนคํา

    ขอแก้ไขข้อบงัคบัของมลูนิธิเพ่ือให้มีคณะกรรมการซึง่ประกอบด้วยบคุคลไม่น้อยกว่าสามคนเป็นผู้

    ดําเนินกิจการของมลูนิธิภายในหนึง่ร้อยแปดสิบวนันบัแต่วนัท่ีพระราชบญัญตัินีใ้ช้บงัคบั ให้นาย

    ทะเบียนดําเนินการตามมาตรา ๑๒๘ แห่งประมวลกฎหมายแพง่และพาณิชย์ท่ีได้ตรวจชําระใหม่

    ท้ายพระราชบญัญตัินีเ้พ่ือสัง่การให้แก้ไขข้อบงัคบัของมลูนิธิให้ถกูต้องตามกฎหมายต่อไป ถ้า

    ปรากฏว่ามลูนิธิใดไม่สามารถดําเนินกิจการต่อไปได้ ก็ให้นายทะเบียนร้องขอต่อศาลให้มีคําสัง่ให้

    เลิกมลูนิธิตามมาตรา ๑๓๑ แห่งประมวลกฎหมายแพง่และพาณิชย์ท่ีได้ตรวจชําระใหม่ท้าย

    พระราชบญัญตัินี ้

  • มาตรา ๑๔ บรรดาระยะเวลาท่ีบญัญตัิไว้ในบรรพ ๑ แห่งประมวลกฎหมายแพง่

    และพาณิชย์และท่ีบญัญตัิไว้ในลกัษณะ ๒๓ สมาคม ของบรรพ ๓ แห่งประมวลกฎหมายแพง่และ

    พาณิชย์ ซึง่ใช้บงัคบัอยู่ก่อนวนัท่ีพระราชบญัญตัินีใ้ช้บงัคบั หากระยะเวลาดงักล่าวยงัไม่สิน้สดุลง

    ในวนัท่ีพระราชบญัญตัินีใ้ช้บงัคบั และระยะเวลาท่ีกําหนดขึน้ตามบทบญัญตัิแห่งประมวล

    กฎหมายแพง่และพาณิชย์ท่ีได้ตรวจชําระใหม่ท้ายพระราชบญัญตัินี ้แตกต่างกบัระยะเวลาท่ี

    กําหนดไว้เดิม ให้นําระยะเวลาท่ียาวกว่ามาใช้บงัคบั

    มาตรา ๑๕ ให้แก้เลขมาตราตามท่ีมีอยู่ในมาตราต่าง ๆ แห่งประมวลกฎหมายแพง่

    และพาณิชย์เป็นเลขมาตราตามบรรพ ๑ แห่งประมวลกฎหมายแพง่และพาณิชย์ท่ีได้ตรวจชําระ

    ใหม่ท้ายพระราชบญัญตัินี ้ดงัต่อไปนี ้

    (๑) “มาตรา ๙ วรรคสองและวรรคสาม ” ในมาตรา ๑๖๖๖ ให้แก้เป็น “มาตรา ๙

    วรรคสอง”

    (๒) “มาตรา ๒๙” ในมาตรา ๑๔๖๔ และมาตรา ๑๕๑๙ ให้แก้เป็น “มาตรา ๒๘”

    (๓) “มาตรา ๓๔” ในมาตรา ๑๖๑๐ และมาตรา ๑๖๑๑ ให้แก้เป็น “มาตรา ๓๒”

    (๔) “มาตรา ๖๐ มาตรา ๖๑ มาตรา ๖๓ ” ในมาตรา ๑๕๗๗ ให้แก้เป็น “มาตรา ๕๖

    มาตรา ๕๗ มาตรา ๖๐”

    (๕) “มาตรา ๖๕” ในมาตรา ๑๖๐๒ ให้แก้เป็น “มาตรา ๖๒”

    (๖) “มาตรา ๖๖” ในมาตรา ๑๖๐๒ ให้แก้เป็น “มาตรา ๖๓”

    (๗) “มาตรา ๘๑” ในมาตรา ๑๖๗๖ ให้แก้เป็น “มาตรา ๑๑๐”

    (๘) “มาตรา ๘๕” ในมาตรา ๑๖๗๗ ให้แก้เป็น “มาตรา ๑๑๔”

    (๙) “มาตรา ๑๓๐ วรรคสอง” ในมาตรา ๓๖๐ ให้แก้เป็น “มาตรา ๑๖๙ วรรคสอง”

    (๑๐) “มาตรา ๑๘๙” ในมาตรา ๒๔๘ และมาตรา ๑๗๕๔ ให้แก้เป็น “มาตรา ๑๙๓/

    ๒๗”

  • มาตรา ๑๖ บทบญัญตัิแห่งกฎหมายอ่ืนท่ีอ้างถึงบทบญัญตัิในบรรพ ๑ หรือ

    ลกัษณะ ๒๓ ในบรรพ ๓ แห่งประมวลกฎหมายแพง่และพาณิชย์ ให้ถือว่าบทบญัญตัิแห่งกฎหมาย

    นัน้อ้างถึงบทบญัญตัิท่ีมีนยัเช่นเดียวกนัในบรรพ ๑ แห่งประมวลกฎหมายแพง่และพาณิชย์ท่ีได้

    ตรวจชําระใหม่ท้ายพระราชบญัญตัินี ้

    มาตรา ๑๗ บรรดากฎกระทรวงท่ีออกตามความในมาตรา ๙๗ และมาตรา ๑๒๙๗

    แห่งประมวลกฎหมายแพง่และพาณิชย์ซึง่ใช้บงัคบัอยู่ก่อนวนัท่ีพระราชบญัญตัินีใ้ช้บงัคบั ให้ยงัคง

    ใช้ได้ต่อไปเท่าท่ีไม่ขดัหรือแย้งกบับทบญัญตัิแห่งประมวลกฎหมายแพง่และพาณิชย์ท่ีได้ตรวจชําระ

    ใหม่ท้ายพระราชบญัญตัินี ้

    มาตรา ๑๘ ให้นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยรักษาการ

    ตามพระราชบญัญตัินี ้

    ผู้ รับสนองพระบรมราชโองการ

    อานนัท์ ปันยารชนุ

    นายกรัฐมนตรี

  • ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

    ข้อความเบือ้งต้น

    2มาตรา2 ๑ กฎหมายนีใ้ห้เรียกว่า ประมวลกฎหมายแพง่และพาณิชย์

    2มาตรา2 ๒ ให้ใช้ประมวลกฎหมายนีต้ัง้แต่วนัท่ี ๑ เดือนมกราคม พระพทุธศกัราช

    ๒๔๖๘ เป็นต้นไป

    2มาตรา2 ๓ ตัง้แต่วนัท่ีใช้ประมวลกฎหมายนีสื้บไป ให้ยกเลิกบรรดากฎหมาย กฎ

    และข้อบงัคบัอ่ืน ๆ ในส่วนท่ีมีบญัญตัิไว้แล้วในประมวลกฎหมายนี ้หรือซึง่แย้งกบับทแห่งประมวล

    กฎหมายนี ้

    บรรพ ๑

    หลักทั่วไป

    ลักษณะ ๑

    บทเบด็เสร็จทั่วไป

    2มาตรา2 ๔ กฎหมายนัน้ ต้องใช้ในบรรดากรณีซึง่ต้องด้วยบทบญัญตัิใด ๆ แห่ง

    กฎหมายตามตวัอกัษร หรือตามความมุ่งหมายของบทบญัญตัินัน้ ๆ

    เม่ือไม่มีบทกฎหมายท่ีจะยกมาปรับคดีได้ ให้วินิจฉยัคดีนัน้ตามจารีตประเพณีแห่ง

    ท้องถ่ิน ถ้าไม่มีจารีตประเพณีเช่นว่านัน้ ให้วินิจฉยัคดีอาศยัเทียบบทกฎหมายท่ีใกล้เคียงอย่างยิ่ง

    และถ้าบทกฎหมายเช่นนัน้ก็ไม่มีด้วย ให้วินิจฉยัตามหลกักฎหมายทัว่ไป

  • 2มาตรา2 ๕ ในการใช้สิทธิแห่งตนก็ดี ในการชําระหนีก็้ดี บคุคลทกุคนต้องกระทําโดย

    สจุริต

    2มาตรา2 ๖ ให้สนันิษฐานไว้ก่อนว่า บคุคลทกุคนกระทําการโดยสจุริต

    2มาตรา2 ๗ ถ้าจะต้องเสียดอกเบีย้แก่กนัและมิได้กําหนดอตัราดอกเบีย้ไว้โดยนิติ

    กรรมหรือโดยบทกฎหมายอนัชดัแจ้ง ให้ใช้อตัราร้อยละเจ็ดคร่ึงต่อปี

    2มาตรา2 ๘ คําว่า “เหตสุดุวิสยั” หมายความว่า เหตใุด ๆ อนัจะเกิดขึน้ก็ดี จะให้ผล

    พบิตัิก็ดี เป็นเหตท่ีุไม่อาจป้องกนัได้แม้ทัง้บคุคลผู้ ต้องประสบหรือใกล้จะต้องประสบเหตนุัน้จะได้

    จดัการระมดัระวงัตามสมควรอนัพงึคาดหมายได้จากบคุคลในฐานะและภาวะเช่นนัน้

    2มาตรา2 ๙ เม่ือมีกิจการอนัใดซึง่กฎหมายบงัคบัให้ทําเป็นหนงัสือ บคุคลผู้จะต้องทํา

    หนงัสือไม่จําเป็นต้องเขียนเอง แต่หนงัสือนัน้ต้องลงลายมือช่ือของบคุคลนัน้

    ลายพมิพ์นิว้มือ แกงได ตราประทบั หรือเคร่ืองหมายอ่ืนทํานองเช่นว่านัน้ท่ีทําลงใน

    เอกสารแทนการลงลายมือช่ือ หากมีพยานลงลายมือช่ือรับรองไว้ด้วยสองคนแล้วให้ถือเสมอกบัลง

    ลายมือช่ือ

    ความในวรรคสองไม่ใช้บงัคบัแก่การลงลายพมิพ์นิว้มือ แกงได ตราประทบั หรือ

    เคร่ืองหมายอ่ืนทํานองเช่นว่านัน้ ซึง่ทําลงในเอกสารท่ีทําต่อหน้าพนกังานเจ้าหน้าท่ี

    2มาตรา2 ๑๐ เม่ือความข้อใดข้อหนึง่ในเอกสารอาจตีความได้สองนยั นยัไหนจะทํา

    ให้เป็นผลบงัคบัได้ ให้ถือเอาตามนยันัน้ดีกว่าท่ีจะถือเอานยัท่ีไร้ผล

  • มาตรา ๑๑ ในกรณีท่ีมีข้อสงสยั ให้ตีความไปในทางท่ีเป็นคณุแก่คู่กรณีฝ่ายซึง่จะ

    เป็นผู้ ต้องเสียในมลูหนีน้ัน้

    มาตรา ๑๒ ในกรณีท่ีจํานวนเงินหรือปริมาณในเอกสารแสดงไว้ทัง้ตวัอกัษรและ

    ตวัเลข ถ้าตวัอกัษรกบัตวัเลขไม่ตรงกนั และมิอาจหยัง่ทราบเจตนาอนัแท้จริงได้ ให้ถือเอาจํานวน

    เงินหรือปริมาณท่ีเป็นตวัอกัษรเป็นประมาณ

    มาตรา ๑๓ ถ้าจํานวนเงินหรือปริมาณในเอกสารแสดงไว้เป็นตวัอกัษรหลายแห่ง

    หรือเป็นตวัเลขหลายแห่ง แต่ท่ีแสดงไว้หลายแห่งนัน้ไม่ตรงกนั และมิอาจหยัง่ทราบเจตนาอนั

    แท้จริงได้ ให้ถือเอาจํานวนเงินหรือปริมาณน้อยท่ีสดุเป็นประมาณ

    มาตรา ๑๔ ในกรณีท่ีเอกสารทําขึน้ไว้หลายภาษา ไม่ว่าจะเป็นฉบบัเดียวกนัหรือ

    หลายฉบบัก็ตามโดยมีภาษาไทยด้วย ถ้าข้อความในหลายภาษานัน้แตกต่างกนั และมิอาจหยัง่

    ทราบเจตนาของคู่กรณีได้ว่าจะใช้ภาษาใดบงัคบั ให้ถือตามภาษาไทย

    ลักษณะ ๒

    บุคคล

    หมวด ๑

    บุคคลธรรมดา

    ส่วนที่ ๑

    สภาพบุคคล

  • 2มาตรา2 ๑๕ สภาพบคุคลย่อมเร่ิมแต่เม่ือคลอดแล้วอยู่รอดเป็นทารกและสิน้สดุลง

    เม่ือตาย

    ทารกในครรภ์มารดาก็สามารถมีสิทธิต่าง ๆ ได้ หากว่าภายหลงัคลอดแล้วอยู่รอด

    เป็นทารก

    มาตรา ๑๖ การนบัอายขุองบคุคล ให้เร่ิมนบัแต่วนัเกิด ในกรณีท่ีรู้ว่าเกิดในเดือนใด

    แต่ไม่รู้วนัเกิด ให้นบัวนัท่ีหนึง่แห่งเดือนนัน้เป็นวนัเกิด แต่ถ้าพ้นวิสยัท่ีจะหยัง่รู้เดือนและวนัเกิดของ

    บคุคลใด ให้นบัอายบุคุคลนัน้ตัง้แต่วนัต้นปีปฏิทิน ซึง่เป็นปีท่ีบคุคลนัน้เกิด

    มาตรา ๑๗ ในกรณีบคุคลหลายคนตายในเหตภุยนัตรายร่วมกนั ถ้าเป็นการพ้น

    วิสยัท่ีจะกําหนดได้ว่าคนไหนตายก่อนหลงั ให้ถือว่าตายพร้อมกนั

    มาตรา ๑๘ สิทธิของบคุคลในการท่ีจะใช้นามอนัชอบท่ีจะใช้ได้นัน้ถ้ามีบคุคลอ่ืน

    โต้แย้งก็ดี หรือบคุคลผู้ เป็นเจ้าของนามนัน้ต้องเส่ือมเสียประโยชน์เพราะการท่ีมีผู้ อ่ืนมาใช้นาม

    เดียวกนัโดยมิได้รับอํานาจให้ใช้ได้ก็ดี บคุคลผู้ เป็นเจ้าของนามจะเรียกให้บคุคลนัน้ระงบัความ

    เสียหายก็ได้ ถ้าและเป็นท่ีพงึวิตกว่าจะต้องเสียหายอยู่สืบไป จะร้องขอต่อศาลให้สัง่ห้ามก็ได้

    ส่วนที่ ๒

    ความสามารถ

    มาตรา ๑๙ บคุคลย่อมพ้นจากภาวะผู้ เยาว์และบรรลนิุติภาวะเม่ือมีอายย่ีุสิบปี

    บริบรูณ์

    2มาตรา2 ๒๐ ผู้ เยาว์ย่อมบรรลนิุติภาวะเม่ือทําการสมรส หากการสมรสนัน้ได้ทําตาม

    บทบญัญตัิมาตรา ๑๔๔๘

  • มาตรา ๒๑ ผู้ เยาว์จะทํานิติกรรมใด ๆ ต้องได้รับความยินยอมของผู้แทนโดยชอบ

    ธรรมก่อน การใด ๆ ท่ีผู้ เยาว์ได้ทําลงปราศจากความยินยอมเช่นว่านัน้เป็นโมฆียะ เว้นแต่จะ

    บญัญตัิไว้เป็นอย่างอ่ืน

    มาตรา ๒๒ ผู้ เยาว์อาจทําการใด ๆ ได้ทัง้สิน้ หากเป็นเพียงเพ่ือจะได้ไปซึง่สิทธิอนั

    ใดอนัหนึง่ หรือเป็นการเพ่ือให้หลดุพ้นจากหน้าท่ีอนัใดอนัหนึง่

    มาตรา ๒๓ ผู้ เยาว์อาจทําการใด ๆ ได้ทัง้สิน้ ซึง่เป็นการต้องทําเองเฉพาะตวั

    มาตรา ๒๔ ผู้ เยาว์อาจทําการใด ๆ ได้ทัง้สิน้ ซึง่เป็นการสมแก่ฐานานรูุปแห่งตน

    และเป็นการอนัจําเป็นในการดํารงชีพตามสมควร

    มาตรา ๒๕ ผู้ เยาว์อาจทําพนิยักรรมได้เม่ืออายสุิบห้าปีบริบรูณ์

    มาตรา ๒๖ ถ้าผู้แทนโดยชอบธรรมอนญุาตให้ผู้ เยาว์จําหน่ายทรัพย์สินเพ่ือการอนั

    ใดอนัหนึง่อนัได้ระบไุว้ ผู้ เยาว์จะจําหน่ายทรัพย์สินนัน้เป็นประการใดภายในขอบของการท่ีระบไุว้

    นัน้ก็ทําได้ตามใจสมคัร อนึง่ ถ้าได้รับอนญุาตให้จําหน่ายทรัพย์สินโดยมิได้ระบวุ่าเพ่ือการอนัใด

    ผู้ เยาว์ก็จําหน่ายได้ตามใจสมคัร

    มาตรา ๒๗ ผู้แทนโดยชอบธรรมอาจให้ความยินยอมแก่ผู้ เยาว์ในการประกอบ

    ธุรกิจทางการค้าหรือธุรกิจอ่ืน หรือในการทําสญัญาเป็นลกูจ้างในสญัญาจ้างแรงงานได้ ในกรณีท่ี

    ผู้แทนโดยชอบธรรมไม่ให้ความยินยอมโดยไม่มีเหตอุนัสมควร ผู้ เยาว์อาจร้องขอต่อศาลให้สัง่

    อนญุาตได้

  • ในความเก่ียวพนักบัการประกอบธุรกิจหรือการจ้างแรงงานตามวรรคหนึง่ให้ผู้ เยาว์

    มีฐานะเสมือนดงับคุคลซึง่บรรลนิุติภาวะแล้ว

    ถ้าการประกอบธุรกิจหรือการทํางานท่ีได้รับความยินยอมหรือท่ีได้รับอนญุาตตาม

    วรรคหนึง่ ก่อให้เกิดความเสียหายถึงขนาดหรือเส่ือมเสียแก่ผู้ เยาว์ ผู้แทนโดยชอบธรรมอาจบอก

    เลิกความยินยอมท่ีได้ให้แก่ผู้ เยาว์เสียได้ หรือในกรณีท่ีศาลอนญุาต ผู้แทนโดยชอบธรรมอาจร้อง

    ขอต่อศาลให้เพกิถอนการอนญุาตท่ีได้ให้แก่ผู้ เยาว์นัน้เสียได้

    ในกรณีท่ีผู้แทนโดยชอบธรรมบอกเลิกความยินยอมโดยไม่มีเหตอุนัสมควร ผู้ เยาว์

    อาจร้องขอต่อศาลให้เพกิถอนการบอกเลิกความยินยอมของผู้แทนโดยชอบธรรมได้

    การบอกเลิกความยินยอมโดยผู้แทนโดยชอบธรรมหรือการเพกิถอนการอนญุาต

    โดยศาล ย่อมทําให้ฐานะเสมือนดงับคุคลซึง่บรรลนิุติภาวะแล้วของผู้ เยาว์สิน้สดุลง แต่ไม่

    กระทบกระเทือนการใด ๆ ท่ีผู้ เยาว์ได้กระทําไปแล้วก่อนมีการบอกเลิกความยินยอมหรือเพกิถอน

    การอนญุาต

    มาตรา ๒๘ บคุคลวิกลจริตผู้ใด ถ้าคู่สมรสก็ดี ผู้บพุการีกล่าวคือ บิดา มารดา ปู่ ย่า

    ตายาย ทวดก็ดี ผู้ สืบสนัดานกล่าวคือ ลกู หลาน เหลน ล่ือก็ดี ผู้ปกครองหรือผู้พทิกัษ์ก็ดี ผู้ซึง่

    ปกครองดแูลบคุคลนัน้อยู่ก็ดี หรือพนกังานอยัการก็ดี ร้องขอต่อศาลให้สัง่ให้บคุคลวิกลจริตผู้นัน้

    เป็นคนไร้ความสามารถ ศาลจะสัง่ให้บคุคลวิกลจริตผู้นัน้เป็นคนไร้ความสามารถก็ได้

    บคุคลซึง่ศาลได้สัง่ให้เป็นคนไร้ความสามารถตามวรรคหนึง่ ต้องจดัให้อยู่ในความ

    อนบุาล การแต่งตัง้ผู้อนบุาล อํานาจหน้าท่ีของผู้อนบุาล และการสิน้สดุของความเป็นผู้อนบุาล ให้

    เป็นไปตามบทบญัญตัิบรรพ ๕ แห่งประมวลกฎหมายนี ้

    คําสัง่ของศาลตามมาตรานี ้ให้ประกาศในราชกิจจานเุบกษา

    มาตรา ๒๙ การใด ๆ อนับคุคลซึง่ศาลสัง่ให้เป็นคนไร้ความสามารถได้กระทําลง

    การนัน้เป็นโมฆียะ

  • 2มาตรา2 ๓๐ การใด ๆ อนับคุคลวิกลจริตซึง่ศาลยงัมิได้สัง่ให้เป็นคนไร้ความสามารถ

    ได้กระทําลง การนัน้จะเป็นโมฆียะต่อเม่ือได้กระทําในขณะท่ีบคุคลนัน้จริตวิกลอยู่ และคู่กรณีอีก

    ฝ่ายหนึง่ได้รู้แล้วด้วยว่าผู้กระทําเป็นคนวิกลจริต

    มาตรา ๓๑ ถ้าเหตท่ีุทําให้เป็นคนไร้ความสามารถได้สิน้สดุไปแล้ว และเม่ือ

    บคุคลผู้นัน้เอง หรือบคุคลใด ๆ ดงักล่าวมาในมาตรา ๒๘ ร้องขอต่อศาลก็ให้ศาลสัง่เพกิถอนคําสัง่

    ท่ีให้เป็นคนไร้ความสามารถนัน้

    คําสัง่ของศาลตามมาตรานี ้ให้ประกาศในราชกิจจานเุบกษา

    มาตรา ๓๒ บคุคลใดมีกายพกิารหรือมีจิตฟ่ันเฟือนไม่สมประกอบ หรือประพฤติ

    สรุุ่ยสรุ่ายเสเพลเป็นอาจิณ หรือติดสรุายาเมา หรือมีเหตอ่ืุนใดทํานองเดียวกนันัน้ จนไม่สามารถจะ

    จดัทําการงานโดยตนเองได้ หรือจดักิจการไปในทางท่ีอาจจะเส่ือมเสียแก่ทรัพย์สินของตนเองหรือ

    ครอบครัว เม่ือบคุคลตามท่ีระบไุว้ในมาตรา ๒๘ ร้องขอต่อศาล ศาลจะสัง่ให้บคุคลนัน้เป็นคน

    เสมือนไร้ความสามารถก็ได้

    บคุคลซึง่ศาลได้สัง่ให้เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถตามวรรคหนึง่ ต้องจดัให้อยู่ใน

    ความพทิกัษ์ การแต่งตัง้ผู้พทิกัษ์ ให้เป็นไปตามบทบญัญตัิบรรพ ๕ แห่งประมวลกฎหมายนี ้

    ให้นําบทบญัญตัิว่าด้วยการสิน้สดุของความเป็นผู้ปกครองในบรรพ ๕ แห่งประมวล

    กฎหมายนี ้มาใช้บงัคบัแก่การสิน้สดุของการเป็นผู้พทิกัษ์โดยอนโุลม

    คําสัง่ของศาลตามมาตรานี ้ให้ประกาศในราชกิจจานเุบกษา

    มาตรา ๓๓ ในคดีท่ีมีการร้องขอให้ศาลสัง่ให้บคุคลใดเป็นคนไร้ความสามารถ

    เพราะวิกลจริต ถ้าทางพจิารณาได้ความว่าบคุคลนัน้ไม่วิกลจริต แต่มีจิตฟ่ันเฟือนไม่สมประกอบ

    เม่ือศาลเห็นสมควรหรือเม่ือมีคําขอของคู่ความหรือของบคุคลตามท่ีระบไุว้ในมาตรา ๒๘ ศาลอาจสัง่

    ให้บคุคลนัน้เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถก็ได้ หรือในคดีท่ีมีการร้องขอให้ศาลสัง่ให้บคุคลใดเป็น

    คนเสมือนไร้ความสามารถเพราะมีจิตฟ่ันเฟือนไม่สมประกอบ ถ้าทางพจิารณาได้ความว่าบคุคล

  • นัน้วิกลจริต เม่ือมีคําขอของคู่ความหรือของบคุคลตามท่ีระบไุว้ในมาตรา ๒๘ ศาลอาจสัง่ให้บคุคล

    นัน้เป็นคนไร้ความสามารถก็ได้

    มาตรา ๓๔ คนเสมือนไร้ความสามารถนัน้ ต้องได้รับความยินยอมของผู้พทิกัษ์

    ก่อนแล้วจงึจะทําการอย่างหนึง่อย่างใดดงัต่อไปนีไ้ด้

    (๑) นําทรัพย์สินไปลงทนุ

    (๒) รับคืนทรัพย์สินท่ีไปลงทนุ ต้นเงินหรือทนุอย่างอ่ืน

    (๓) กู้ ยืมหรือให้กู้ ยืมเงิน ยืมหรือให้ยืมสงัหาริมทรัพย์อนัมีค่า

    (๔) รับประกนัโดยประการใด ๆ อนัมีผลให้ตนต้องถกูบงัคบัชําระหนี ้

    (๕) เช่าหรือให้เช่าสงัหาริมทรัพย์มีกําหนดระยะเวลาเกินกว่าหกเดือน หรือ

    อสงัหาริมทรัพย์มีกําหนดระยะเวลาเกินกว่าสามปี

    (๖) ให้โดยเสน่หา เว้นแต่การให้ท่ีพอควรแก่ฐานานรูุป เพ่ือการกศุล การสงัคม หรือ

    ตามหน้าท่ีธรรมจรรยา

    (๗) รับการให้โดยเสน่หาท่ีมีเง่ือนไขหรือค่าภาระติดพนั หรือไม่รับการให้โดยเสน่หา

    (๘) ทําการอย่างหนึง่อย่างใดเพ่ือจะได้มาหรือปล่อยไปซึง่สิทธิในอสงัหาริมทรัพย์

    หรือในสงัหาริมทรัพย์อนัมีค่า

    (๙) ก่อสร้างหรือดดัแปลงโรงเรือนหรือสิ่งปลกูสร้างอย่างอ่ืน หรือซอ่มแซมอย่าง

    ใหญ่

    (๑๐) เสนอคดีต่อศาลหรือดําเนินกระบวนพจิารณาใด ๆ เว้นแต่การร้องขอตาม

    มาตรา ๓๕ หรือการร้องขอถอนผู้พทิกัษ์

    (๑๑) ประนีประนอมยอมความหรือมอบข้อพพิาทให้อนญุาโตตลุาการวินิจฉยั

    ถ้ามีกรณีอ่ืนใดนอกจากท่ีกล่าวในวรรคหนึง่ ซึง่คนเสมือนไร้ความสามารถอาจ

    จดัการไปในทางเส่ือมเสียแก่ทรัพย์สินของตนเองหรือครอบครัว ในการสัง่ให้บคุคลใดเป็นคน

    เสมือนไร้ความสามารถ หรือเม่ือผู้พทิกัษ์ร้องขอในภายหลงั ศาลมีอํานาจสัง่ให้คนเสมือนไร้

    ความสามารถนัน้ต้องได้รับความยินยอมของผู้พทิกัษ์ก่อนจงึจะทําการนัน้ได้

  • ในกรณีท่ีคนเสมือนไร้ความสามารถไม่สามารถจะทําการอย่างหนึง่อย่างใดท่ีกล่าว

    มาในวรรคหนึง่หรือวรรคสองได้ด้วยตนเอง เพราะเหตมีุกายพกิารหรือมีจิตฟ่ันเฟือนไม่สมประกอบ

    ศาลจะสัง่ให้ผู้พทิกัษ์เป็นผู้ มีอํานาจกระทําการนัน้แทนคนเสมือนไร้ความสามารถก็ได้ ในกรณี

    เช่นนี ้ให้นําบทบญัญตัิท่ีเก่ียวกบัผู้อนบุาลมาใช้บงัคบัแก่ผู้พทิกัษ์โดยอนโุลม

    คําสัง่ของศาลตามมาตรานี ้ให้ประกาศในราชกิจจานเุบกษา

    การใดกระทําลงโดยฝ่าฝืนบทบญัญตัิมาตรานี ้การนัน้เป็นโมฆียะ

    มาตรา ๓๕ ในกรณีท่ีผู้พทิกัษ์ไม่ยินยอมให้คนเสมือนไร้ความสามารถกระทําการ

    อย่างหนึง่อย่างใดตามมาตรา ๓๔ โดยปราศจากเหตผุลอนัสมควร เม่ือคนเสมือนไร้ความสามารถ

    ร้องขอ ศาลจะมีคําสัง่อนญุาตให้กระทําการนัน้โดยไม่ต้องรับความยินยอมจากผู้พทิกัษ์ก็ได้ ถ้า

    การนัน้จะเป็นคณุประโยชน์แก่คนเสมือนไร้ความสามารถ

    มาตรา ๓๖ ถ้าเหตท่ีุศาลได้สัง่ให้เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถได้สิน้สดุไปแล้ว

    ให้นําบทบญัญตัิมาตรา ๓๑ มาใช้บงัคบัโดยอนโุลม

    ส่วนที่ ๓

    ภูมิลาํเนา

    มาตรา ๓๗ ภมิูลําเนาของบคุคลธรรมดา ได้แก่ถ่ินอนับคุคลนัน้มีสถานท่ีอยู่เป็น

    แหล่งสําคญั

    มาตรา ๓๘ ถ้าบคุคลธรรมดามีถ่ินท่ีอยู่หลายแห่งซึง่อยู่สบัเปล่ียนกนัไปหรือมีหลกั

    แหล่งท่ีทําการงานเป็นปกติหลายแห่ง ให้ถือเอาแห่งใดแห่งหนึง่เป็นภมิูลําเนาของบคุคลนัน้

    มาตรา ๓๙ ถ้าภมิูลําเนาไม่ปรากฏ ให้ถือว่าถ่ินท่ีอยู่เป็นภมิูลําเนา

  • 2มาตรา2 ๔๐ บคุคลธรรมดาซึง่เป็นผู้ ไม่มีท่ีอยู่ปกติเป็นหลกัแหล่ง หรือเป็นผู้ครองชีพ

    ในการเดินทางไปมาปราศจากหลกัแหล่งท่ีทําการงาน พบตวัในถ่ินไหนให้ถือว่าถ่ินนัน้เป็น

    ภมิูลําเนาของบคุคลนัน้

    มาตรา ๔๑ ภมิูลําเนาย่อมเปล่ียนไปด้วยการย้ายถ่ินท่ีอยู่ พร้อมด้วยเจตนาปรากฏ

    ชดัแจ้งว่าจะเปล่ียนภมิูลําเนา

    มาตรา ๔๒ ถ้าบคุคลใดได้เลือกเอาถ่ินใด โดยมีเจตนาปรากฏชดัแจ้งว่าจะให้เป็น

    ภมิูลําเนาเฉพาะการเพ่ือทําการใด ให้ถือว่าถ่ินนัน้เป็นภมิูลําเนาเฉพาะการสําหรับการนัน้

    มาตรา ๔๓ ภมิูลําเนาของสามีและภริยา ได้แก่ถ่ินท่ีอยู่ท่ีสามีและภริยาอยู่กิน

    ด้วยกนัฉนัสามีภริยา เว้นแต่สามีหรือภริยาได้แสดงเจตนาให้ปรากฏว่ามีภมิูลําเนาแยกต่างหาก

    จากกนั

    มาตรา ๔๔ ภมิูลําเนาของผู้ เยาว์ ได้แก่ภมิูลําเนาของผู้แทนโดยชอบธรรมซึง่เป็น

    ผู้ใช้อํานาจปกครองหรือผู้ปกครอง

    ในกรณีท่ีผู้ เยาว์อยู่ใต้อํานาจปกครองของบิดามารดา ถ้าบิดาและมารดามี

    ภมิูลําเนาแยกต่างหากจากกนั ภมิูลําเนาของผู้ เยาว์ได้แก่ภมิูลําเนาของบิดาหรือมารดาซึง่ตนอยู่

    ด้วย

    มาตรา ๔๕ ภมิูลําเนาของคนไร้ความสามารถ ได้แก่ภมิูลําเนาของผู้อนบุาล

  • มาตรา ๔๖ ภมิูลําเนาของข้าราชการ ได้แก่ถ่ินอนัเป็นท่ีทําการตามตําแหน่ง

    หน้าท่ี หากมิใช่เป็นตําแหน่งหน้าท่ีชัว่คราวชัว่ระยะเวลาหรือเป็นเพียงแต่งตัง้ไปเฉพาะการครัง้เดียว

    คราวเดียว

    มาตรา ๔๗ ภมิูลําเนาของผู้ ท่ีถกูจําคกุตามคําพพิากษาถึงท่ีสดุของศาลหรือตาม

    คําสัง่โดยชอบด้วยกฎหมาย ได้แก่เรือนจําหรือทณัฑสถานท่ีถกูจําคกุอยู่ จนกว่าจะได้รับการปล่อย

    ตวั

    ส่วนที่ ๔

    สาบสูญ

    มาตรา ๔๘ ถ้าบคุคลใดไปเสียจากภมิูลําเนาหรือถ่ินท่ีอยู่โดยมิได้ตัง้ตวัแทนผู้ รับ

    มอบอํานาจทัว่ไปไว้ และไม่มีใครรู้แน่ว่าบคุคลนัน้ยงัมีชีวิตอยู่หรือไม่ เม่ือผู้ มีส่วนได้เสียหรือ

    พนกังานอยัการร้องขอ ศาลจะสัง่ให้ทําการอย่างหนึง่อย่างใดไปพลางก่อนตามท่ีจําเป็นเพ่ือจดัการ

    ทรัพย์สินของบคุคลผู้ไม่อยู่นัน้ก็ได้

    เม่ือเวลาได้ล่วงเลยไปหนึง่ปีนบัแต่วนัท่ีผู้ ไม่อยู่นัน้ไปเสียจากภมิูลําเนาหรือถ่ินท่ีอยู่

    และไม่มีผู้ใดได้รับข่าวเก่ียวกบับคุคลนัน้ประการใดเลยก็ดี หรือหนึง่ปีนบัแต่วนัมีผู้ ได้พบเห็นหรือได้

    ทราบข่าวมาเป็นครัง้หลงัสดุก็ดี เม่ือบคุคลตามวรรคหนึง่ร้องขอ ศาลจะตัง้ผู้จดัการทรัพย์สินของผู้

    ไม่อยู่ขึน้ก็ได้

    มาตรา ๔๙ ในกรณีท่ีผู้ ไม่อยู่ได้ตัง้ตวัแทนผู้ รับมอบอํานาจทัว่ไปไว้ และสญัญา

    ตวัแทนระงบัสิน้ไป หรือปรากฏว่าตวัแทนผู้ รับมอบอํานาจทัว่ไปได้จดัการทรัพย์สินนัน้ในลกัษณะท่ี

    อาจเสียหายแก่บคุคลดงักล่าว ให้นํามาตรา ๔๘ มาใช้บงัคบัโดยอนโุลม

    2มาตรา2 ๕๐ เม่ือผู้ มีส่วนได้เสียหรือพนกังานอยัการร้องขอ ศาลจะสัง่ให้ตวัแทนผู้ รับ

    มอบอํานาจทัว่ไปจดัทําบญัชีทรัพย์สินของผู้ ไม่อยู่ขึน้ตามท่ีศาลจะมีคําสัง่ก็ได้

  • มาตรา ๕๑ ภายใต้บงัคบัมาตรา ๘๐๒ ถ้าตวัแทนผู้ รับมอบอํานาจทัว่ไปเห็นเป็น

    การจําเป็นจะต้องทําการอนัใดอนัหนึง่เกินขอบอํานาจท่ีได้รับไว้ ต้องขออนญุาตต่อศาล และเม่ือ

    ศาลสัง่อนญุาตแล้วจงึจะกระทําการนัน้ได้

    มาตรา ๕๒ ผู้จดัการทรัพย์สินท่ีศาลได้ตัง้ขึน้ ต้องทําบญัชีทรัพย์สินของผู้ ไม่อยู่ให้

    เสร็จภายในสามเดือนนบัแต่วนัทราบคําสัง่ตัง้ของศาล แต่ผู้จดัการทรัพย์สินจะร้องขอต่อศาลให้

    ขยายเวลาก็ได้

    มาตรา ๕๓ บญัชีทรัพย์สินตามมาตรา ๕๐ และมาตรา ๕๒ ต้องมีพยานลงลายมือ

    ช่ือรับรองความถกูต้องอย่างน้อยสองคน พยานสองคนนัน้ต้องเป็นคู่สมรสหรือญาติของผู้ ไม่อยู่ซึง่

    บรรลนิุติภาวะแล้ว แต่ถ้าไม่มีคู่สมรสหรือหาญาติไม่ได้ หรือคู่สมรสและญาติไม่ยอมเป็นพยาน จะ

    ให้ผู้ อ่ืนซึง่บรรลนิุติภาวะแล้วเป็นพยานก็ได้

    มาตรา ๕๔ ผู้จดัการทรัพย์สินมีอํานาจหน้าท่ีอย่างเดียวกบัตวัแทนผู้ รับมอบ

    อํานาจทัว่ไปตามมาตรา ๘๐๑ และมาตรา ๘๐๒ ถ้าผู้จดัการทรัพย์สินเห็นเป็นการจําเป็นจะต้อง

    ทําการอนัใดอนัหนึง่เกินขอบอํานาจ ต้องขออนญุาตต่อศาล และเม่ือศาลสัง่อนญุาตแล้วจงึจะ

    กระทําการนัน้ได้

    มาตรา ๕๕ ถ้าผู้ ไม่อยู่ได้ตัง้ตวัแทนผู้ รับมอบอํานาจเฉพาะการอนัใดไว้ ผู้จดัการ

    ทรัพย์สินจะเข้าไปเก่ียวข้องกบัการอนัเป็นอํานาจเฉพาะการนัน้ไม่ได้ แต่ถ้าปรากฏว่าการท่ีตวัแทน

    จดัทําอยู่นัน้อาจจะเสียหายแก่ผู้ ไม่อยู่ ผู้จดัการทรัพย์สินจะร้องขอให้ศาลถอดถอนตวัแทนนัน้เสียก็

    ได้

  • มาตรา ๕๖ เม่ือผู้ มีส่วนได้เสียหรือพนกังานอยัการร้องขอ หรือเม่ือศาลเห็นสมควร

    ศาลอาจสัง่อย่างหนึง่อย่างใดดงัต่อไปนี ้

    (๑) ให้ผู้จดัการทรัพย์สินหาประกนัอนัสมควรในการจดัการทรัพย์สินของผู้ ไม่อยู่

    ตลอดจนการมอบคืนทรัพย์สินนัน้

    (๒) ให้ผู้จดัการทรัพย์สินแถลงถึงความเป็นอยู่แห่งทรัพย์สินของผู้ ไม่อยู่

    (๓) ถอดถอนผู้จดัการทรัพย์สิน และตัง้ผู้ อ่ืนให้เป็นผู้จดัการทรัพย์สินแทนต่อไป

    มาตรา ๕๗ ในคําสัง่ตัง้ผู้จดัการทรัพย์สิน ศาลจะกําหนดบําเหน็จให้แก่ผู้จดัการ

    ทรัพย์สินโดยจ่ายจากทรัพย์สินของผู้ ไม่อยู่นัน้ก็ได้ ถ้าศาลมิได้กําหนด ผู้จดัการทรัพย์สินจะร้องขอ

    ต่อศาลให้กําหนดบําเหน็จในภายหลงัก็ได้

    ถ้าผู้จดัการทรัพย์สิน หรือผู้ มีส่วนได้เสีย หรือพนกังานอยัการร้องขอ หรือเม่ือมีกรณี

    ปรากฏแก่ศาลว่า พฤติการณ์เก่ียวกบัการจดัการทรัพย์สินได้เปล่ียนแปลงไป ศาลจะสัง่กําหนด

    บําเหน็จ งด ลด เพิม่ หรือกลบัให้บําเหน็จแก่ผู้จดัการทรัพย์สินอีกก็ได้

    มาตรา ๕๘ ความเป็นผู้จดัการทรัพย์สินย่อมสิน้สดุลงในกรณี ดงัต่อไปนี ้

    (๑) ผู้ไม่อยู่นัน้กลบัมา

    (๒) ผู้ไม่อยู่นัน้มิได้กลบัมาแต่ได้จดัการทรัพย์สินหรือตัง้ตวัแทนเพ่ือจดัการทรัพย์สิน

    ของตนแล้ว

    (๓) ผู้ไม่อยู่ถึงแก่ความตายหรือศาลมีคําสัง่ให้เป็นคนสาบสญู

    (๔) ผู้จดัการทรัพย์สินลาออกหรือถึงแก่ความตาย

    (๕) ผู้จดัการทรัพย์สินเป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ

    (๖) ผู้จดัการทรัพย์สินเป็นบคุคลล้มละลาย

    (๗) ศาลถอดถอนผู้จดัการทรัพย์สิน

  • มาตรา ๕๙ ในกรณีท่ีความเป็นผู้จดัการทรัพย์สินสิน้สดุลงเพราะเหตตุามมาตรา

    ๕๘ (๔) (๕) หรือ (๖) ผู้จดัการทรัพย์สินหรือทายาทของผู้จดัการทรัพย์สิน ผู้จดัการมรดก ผู้อนบุาล

    ผู้พทิกัษ์ เจ้าพนกังานพทิกัษ์ทรัพย์ หรือผู้ มีหน้าท่ีดแูลทรัพย์สินของผู้จดัการทรัพย์สิน แล้วแต่กรณี

    จะต้องแถลงให้ศาลทราบถึงความสิน้สดุนัน้โดยไม่ชกัช้าเพ่ือศาลจะได้มีคําสัง่เก่ียวกบัผู้จดัการ

    ทรัพย์สินต่อไปตามท่ีเห็นสมควร ในระหว่างเวลาดงักล่าวนัน้ บคุคลดงักล่าวจะต้องจดัการตามควร

    แก่พฤติการณ์เพ่ือรักษาประโยชน์ของผู้ ไม่อยู่ จนกว่าจะได้ส่งมอบทรัพย์สินของผู้ ไม่อยู่ให้แก่บคุคล

    หนึง่บคุคลใดตามท่ีศาลจะได้มีคําสัง่

    2มาตรา2 ๖๐ ให้นําบทบญัญตัิว่าด้วยตวัแทนแห่งประมวลกฎหมายนี ้มาใช้บงัคบัแก่

    การจดัการทรัพย์สินของผู้ ไม่อยู่โดยอนโุลม

    มาตรา ๖๑ ถ้าบคุคลใดได้ไปจากภมิูลําเนาหรือถ่ินท่ีอยู่ และไม่มีใครรู้แน่ว่าบคุคล

    นัน้ยงัมีชีวิตอยู่หรือไม่ตลอดระยะเวลาห้าปี เม่ือผู้ มีส่วนได้เสียหรือพนกังานอยัการร้องขอ ศาลจะ

    สัง่ให้บคุคลนัน้เป็นคนสาบสญูก็ได้

    ระยะเวลาตามวรรคหนึง่ให้ลดเหลือสองปี

    (๑) นบัแต่วนัท่ีการรบหรือสงครามสิน้สดุลง ถ้าบคุคลนัน้อยู่ในการรบหรือสงคราม

    และหายไปในการรบหรือสงครามดงักล่าว

    (๒) นบัแต่วนัท่ียานพาหนะท่ีบคุคลนัน้เดินทาง อบัปาง ถกูทําลาย หรือสญูหายไป

    (๓) นบัแต่วนัท่ีเหตอุนัตรายแก่ชีวิตนอกจากท่ีระบไุว้ใน (๑) หรือ (๒) ได้ผ่านพ้นไป

    ถ้าบคุคลนัน้ตกอยู่ในอนัตรายเช่นว่านัน้

    มาตรา ๖๒ บคุคลซึง่ศาลได้มีคําสัง่ให้เป็นคนสาบสญู ให้ถือว่าถึงแก่ความตายเม่ือ

    ครบกําหนดระยะเวลาดงัท่ีระบไุว้ในมาตรา ๖๑

  • มาตรา ๖๓ เม่ือบคุคลผู้ถกูศาลสัง่ให้เป็นคนสาบสญูนัน้เองหรือผู้ มีส่วนได้เสียหรือ

    พนกังานอยัการร้องขอต่อศาล และพสิจูน์ได้ว่าบคุคลผู้ถกูศาลสัง่ให้เป็นคนสาบสญูนัน้ยงัคงมีชีวิต

    อยู่ก็ดี หรือว่าตายในเวลาอ่ืนผิดไปจากเวลาดงัระบไุว้ในมาตรา ๖๒ ก็ดี ให้ศาลสัง่ถอนคําสัง่ให้เป็น

    คนสาบสญูนัน้ แต่การถอนคําสัง่นีย้่อมไม่กระทบกระเทือนถึงความสมบรูณ์แห่งการทัง้หลายอนัได้

    ทําไปโดยสจุริตในระหว่างเวลาตัง้แต่ศาลมีคําสัง่ให้เป็นคนสาบสญูจนถึงเวลาถอนคําสัง่นัน้

    บคุคลผู้ได้ทรัพย์สินมาเน่ืองแต่การท่ีศาลสัง่ให้บคุคลใดเป็นคนสาบสญู แต่ต้องเสีย

    สิทธิของตนไปเพราะศาลสัง่ถอนคําสัง่ให้บคุคลนัน้เป็นคนสาบสญู ให้นําบทบญัญตัิว่าด้วยลาภมิ

    ควรได้แห่งประมวลกฎหมายนีม้าใช้บงัคบัโดยอนโุลม

    มาตรา ๖๔ คําสัง่ศาลให้เป็นคนสาบสญูหรือคําสัง่ถอนคําสัง่ให้เป็นคนสาบสญู

    ให้ประกาศ ในราชกิจจานเุบกษา

    หมวด ๒

    นิตบิุคคล

    ส่วนที่ ๑

    บทเบด็เสร็จทั่วไป

    มาตรา ๖๕ นิติบคุคลจะมีขึน้ได้ก็แต่ด้วยอาศยัอํานาจแห่งประมวลกฎหมายนีห้รือ

    กฎหมายอ่ืน

    มาตรา ๖๖ นิติบคุคลย่อมมีสิทธิและหน้าท่ีตามบทบญัญตัิแห่งประมวลกฎหมายนี ้

    หรือกฎหมายอ่ืน ภายในขอบแห่งอํานาจหน้าท่ีหรือวตัถปุระสงค์ดงัได้บญัญตัิหรือกําหนดไว้ใน

    กฎหมาย ข้อบงัคบั หรือตราสารจดัตัง้

  • มาตรา ๖๗ ภายใต้บงัคบัมาตรา ๖๖ นิติบคุคลย่อมมีสิทธิและหน้าท่ีเช่นเดียวกบั

    บคุคลธรรมดา เว้นแต่สิทธิและหน้าท่ีซึง่โดยสภาพจะพงึมีพงึเป็นได้เฉพาะแก่บคุคลธรรมดาเท่านัน้

    มาตรา ๖๘ ภมิูลําเนาของนิติบคุคลได้แก่ถ่ินอนัเป็นท่ีตัง้สํานกังานใหญ่หรือถ่ินอนั

    เป็นท่ีตัง้ท่ีทําการ หรือถ่ินท่ีได้เลือกเอาเป็นภมิูลําเนาเฉพาะการตามข้อบงัคบัหรือตราสารจดัตัง้

    มาตรา ๖๙ ในกรณีท่ีนิติบคุคลมีท่ีตัง้ท่ีทําการหลายแห่งหรือมีสํานกังานสาขา

    ให้ถือว่าถ่ินอนัเป็นท่ีตัง้ของท่ีทําการหรือของสํานกังานสาขาเป็นภมิูลําเนาในส่วนกิจการอนัได้

    กระทํา ณ ท่ีนัน้ด้วย

    2มาตรา2 ๗๐ นิติบคุคลต้องมีผู้แทนคนหนึง่หรือหลายคน ทัง้นี ้ตามท่ีกฎหมาย

    ข้อบงัคบั หรือตราสารจดัตัง้จะได้กําหนดไว้

    ความประสงค์ของนิติบคุคลย่อมแสดงออกโดยผู้แทนของนิติบคุคล

    มาตรา ๗๑ ในกรณีท่ีนิติบคุคลมีผู้แทนหลายคน การดําเนินกิจการของนิติบคุคล

    ให้เป็นไปตามเสียงข้างมากของผู้แทนของนิติบคุคลนัน้ เว้นแต่จะได้มีข้อกําหนดไว้เป็นประการอ่ืน

    ในกฎหมาย ข้อบงัคบั หรือตราสารจดัตัง้

    มาตรา ๗๒ การเปล่ียนตวัผู้แทนของนิติบคุคล หรือการจํากดัหรือแก้ไข

    เปล่ียนแปลงอํานาจของผู้แทนของนิติบคุคล ให้มีผลต่อเม่ือได้ปฏิบตัิตามกฎหมาย ข้อบงัคบัหรือ

    ตราสารจดัตัง้แล้ว แต่จะยกขึน้เป็นข้อต่อสู้บคุคลภายนอกผู้กระทําการโดยสจุริตมิได้

  • มาตรา ๗๓ ถ้ามีตําแหน่งว่างลงในจํานวนผู้แทนของนิติบคุคล และมีเหตอุนัควร

    เช่ือว่าการปล่อยตําแหน่งว่างไว้น่าจะเกิดความเสียหายขึน้ได้ เม่ือผู้ มีส่วนได้เสียหรือพนกังาน

    อยัการร้องขอศาลจะแต่งตัง้ผู้แทนชัว่คราวขึน้ก็ได้

    มาตรา ๗๔ ถ้าประโยชน์ได้เสียของนิติบคุคลขดักบัประโยชน์ได้เสียของผู้แทนของ

    นิติบคุคลในการอนัใด ผู้แทนของนิติบคุคลนัน้จะเป็นผู้แทนในการอนันัน้ไม่ได้

    มาตรา ๗๕ ถ้ากรณีตามมาตรา ๗๔ เป็นเหตใุห้ไม่มีผู้แทนของนิติบคุคลเหลืออยู่

    หรือผู้แทนของนิติบคุคลท่ีเหลืออยู่มีจํานวนไม่พอจะเป็นองค์ประชมุ หรือไม่พอจะกระทําการอนันัน้

    ได้ หากกฎหมาย ข้อบงัคบั หรือตราสารจดัตัง้ของนิติบคุคลนัน้ มิได้มีข้อกําหนดในเร่ืองนีไ้ว้เป็น

    อย่างอ่ืน ให้นําความในมาตรา ๗๓ มาใช้บงัคบัเพ่ือตัง้ผู้แทนเฉพาะการโดยอนโุลม

    มาตรา ๗๖ ถ้าการกระทําตามหน้าท่ีของผู้แทนของนิติบคุคลหรือผู้ มีอํานาจทําการ

    แทนนิติบคุคล เป็นเหตใุห้เกิดความเสียหายแก่บคุคลอ่ืน นิติบคุคลนัน้ต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหม

    ทดแทนเพ่ือความเสียหายนัน้ แต่ไม่สญูเสียสิทธิท่ีจะไล่เบีย้เอาแก่ผู้ ก่อความเสียหาย

    ถ้าความเสียหายแก่บคุคลอ่ืนเกิดจากการกระทําท่ีไม่อยู่ในขอบวตัถปุระสงค์หรือ

    อํานาจหน้าท่ีของนิติบคุคล บรรดาบคุคลดงักล่าวตามวรรคหนึง่ท่ีได้เห็นชอบให้กระทําการนัน้หรือ

    ได้เป็นผู้กระทําการดงักล่าว ต้องร่วมกนัรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ผู้ ท่ีได้รับความเสียหายนัน้

    มาตรา ๗๗ ให้นําบทบญัญตัิว่าด้วยตวัแทนแห่งประมวลกฎหมายนี ้มาใช้บงัคบัแก่

    ความเก่ียวพนัระหว่างนิติบคุคลกบัผู้แทนของนิติบคุคล และระหว่างนิติบคุคล หรือผู้แทนของนิติ

    บคุคลกบับคุคลภายนอก โดยอนโุลม

  • ส่วนที่ ๒

    สมาคม

    มาตรา ๗๘ การก่อตัง้สมาคมเพ่ือกระทําการใด ๆ อนัมีลกัษณะต่อเน่ืองร่วมกนั

    และมิใช่เป็นการหาผลกําไรหรือรายได้มาแบ่งปันกนั ต้องมีข้อบงัคบัและจดทะเบียนตาม

    บทบญัญตัิแห่งประมวลกฎหมายนี ้

    มาตรา ๗๙ ข้อบงัคบัของสมาคมอย่างน้อยต้องมีรายการ ดงัต่อไปนี ้

    (๑) ช่ือสมาคม

    (๒) วตัถปุระสงค์ของสมาคม

    (๓) ท่ีตัง้สํานกังานใหญ่ และท่ีตัง้สํานกังานสาขาทัง้ปวง

    (๔) วิธีรับสมาชิก และการขาดจากสมาชิกภาพ

    (๕) อตัราค่าบํารุง

    (๖) ข้อกําหนดเก่ียวกบัคณะกรรมการของสมาคม ได้แก่ จํานวนกรรมการ การตัง้

    กรรมการ วาระการดํารงตําแหน่งของกรรมการ การพ้นจากตําแหน่งของกรรมการ และการประชมุ

    ของคณะกรรมการ

    (๗) ข้อกําหนดเก่ียวกบัการจดัการสมาคม การบญัชี และทรัพย์สินของสมาคม

    (๘) ข้อกําหนดเก่ียวกบัการประชมุใหญ่

    2มาตรา2 ๘๐ สมาคมต้องใช้