22
บทที5 จิตวิทยาการแนะแนว อาจารย์กุสุมา ยกชู สภาพสังคมในปัจจุบันมีความเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ทั ้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง เทคโนโลยีต่างๆ ซึ ่งสิ่งเหล่านี ้ล ้วนแล้วแต่ส่งผลต่อบุคคลในสังคมทั ้งสิ้น ไม่ว่าจะอยู่ในช่วงวัยใดก็ตาม ซึ ่ง การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ ้นนี ้ มักส่งผลกระทบต่อบุคคลที่ขาดทักษะในด้านการปรับตัว โดยเฉพาะ วัยรุ่นซึ ่ง อยู่ในช่วงวัยที่กาลังมีการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ มีประสบการณ์ในชีวิตน้อย หากขาดการได้รับข้อมูล ข่าวสารที่ถูกต้องและเหมาะสม ย่อมจะก่อให้เกิดปัญหากับการดาเนินชีวิตต่อไปในอนาคต ดังนั ้นใน สถาบันการศึกษาต่างๆจึงจาเป็นต้องมีการจัดบริการแนะแนว เพื่อช่วยให้บุคคลได้รู้จัก เข้าใจสามารถ ตัดสินใจแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง ตลอดจนสามารถวางแผนและปรับตัวอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ความหมายของการแนะแนว คาว่า “Guidance” มาจากรากศัพท์ว่า “Guide” ซึ ่งหมายความว่าการชี ้ช่องทางหรือการบอกทางให้คา จากัดความที่นักวิทยาการหลายๆท่านได้อธิบายความหมายของการแนะแนวไว้มีดังนี สถิต วงศ์สวรรค์ (2525) กล่าวว่าการแนะแนวหมายถึง กระบวนการที่ผู้มีความรู้ทางด้านการแนะ แนวให้บริการช่วยเหลือแก่บุคคล โดยไม่จากัดเพศ วัย ชั ้น วรรณะ อาจจะเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มแล ้วแต่ กรณี ให้เขาเข้าใจสภาพที่แท้จริงของตนเองว่ามีความสามารถ ความถนัดตามธรรมชาติ สติปัญญา เจตคติ ศักยภาพอย่างไร เพื่อนาตนหรือช่วยตนได้อย่างมีประสิทธิภาพ กล่าวคือสามารถป้ องกันแก้ไขปัญหาและ พัฒนาตนเองไม่ว่าจะเป็นทางกาย อารมณ์หรือสังคมได้อย่างถูกต้อง อุษณีษ์ เย็นสบาย (2533) กล่าวว่า การแนะแนวหมายถึง การชี ้ช่องทาง หรือแนะแนวทางเพื่อให้ผู้ทีได้รับการบอกชี ้ช่องทางและแนะแนวได้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับตนเองและแก้ปัญหาที่เกิดขึ ้นของตนเองไดอย่างเหมาะสม คลิฟฟอร์ด ดี โฟรชลิค (Clifford D. Frochlich. : 1958) กล่าวว่า การแนะแนวเป็นบริการที่จัดขึ ้นเพื่อ ช่วยเหลือบุคคลให้สามารถเลือกและตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยทุกคนมีสิทธิที่จะเลือกทางชีวิต ของตนเองบนพื ้นฐานแห่งวิถีประชาธิปไตย จากความหมายที่มีนักวิชาการหลายท่านได้ให้ไว้สรุปได้ว่า การแนะแนว หมายถึง การแนะ แนว หมายถึง กระบวนการทางการศึกษาที่ช่วยให้ บุคคลรู้จัก และเข้าใจตนเองและสิ่งแวดล้อม สามารถนา ตนเองได้ แก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง และพัฒนาตนเองได้ตามศักยภาพ มีความรับผิดชอบต่อการตัดสินใจของ ตนเองและปฏิบัติตนให้เป็นสมาชิกที่ดีของสังคม การแนะแนวไม่ใช่การแนะนา อาจกล่าวได้ว่า การแนะแนวเป็นการช่วยเหลือ ให้เขาสามารถช่วยตนเองได้

จิตวิทยาการแนะแนวelearning.psru.ac.th/courses/47/บทที่ 5.pdf · จิตวิทยาการแนะแนว อาจารย์กุสุมา

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • บทที่ 5 จติวทิยาการแนะแนว

    อาจารย์กุสุมา ยกชู

    สภาพสังคมในปัจจุบนัมีความเปล่ียนแปลงไปอยา่งรวดเร็ว ทั้งทางดา้นเศรษฐกิจ สังคม การเมือง เทคโนโลยต่ีางๆ ซ่ึงส่ิงเหล่าน้ีลว้นแลว้แต่ส่งผลต่อบุคคลในสังคมทั้งส้ิน ไม่วา่จะอยูใ่นช่วงวยัใดก็ตาม ซ่ึงการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดข้ึนน้ี มกัส่งผลกระทบต่อบุคคลท่ีขาดทกัษะในดา้นการปรับตวั โดยเฉพาะ”วยัรุ่น” ซ่ึงอยูใ่นช่วงวยัท่ีก าลงัมีการเปล่ียนแปลงในดา้นต่างๆ มีประสบการณ์ในชีวตินอ้ย หากขาดการไดรั้บขอ้มูลข่าวสารท่ีถูกตอ้งและเหมาะสม ยอ่มจะก่อใหเ้กิดปัญหากบัการด าเนินชีวติต่อไปในอนาคต ดงันั้นในสถาบนัการศึกษาต่างๆจึงจ าเป็นตอ้งมีการจดับริการแนะแนว เพื่อช่วยใหบุ้คคลไดรู้้จกั เขา้ใจสามารถตดัสินใจแกไ้ขปัญหาไดด้ว้ยตนเอง ตลอดจนสามารถวางแผนและปรับตวัอยูใ่นสังคมไดอ้ยา่งมีความสุข

    ความหมายของการแนะแนว ค าวา่ “Guidance” มาจากรากศพัทว์า่ “Guide” ซ่ึงหมายความวา่การช้ีช่องทางหรือการบอกทางใหค้ าจ ากดัความท่ีนกัวทิยาการหลายๆท่านไดอ้ธิบายความหมายของการแนะแนวไวมี้ดงัน้ี สถิต วงศส์วรรค ์(2525) กล่าววา่การแนะแนวหมายถึง กระบวนการท่ีผูมี้ความรู้ทางดา้นการแนะแนวใหบ้ริการช่วยเหลือแก่บุคคล โดยไม่จ ากดัเพศ วยั ชั้น วรรณะ อาจจะเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มแลว้แต่กรณี ใหเ้ขาเขา้ใจสภาพท่ีแทจ้ริงของตนเองวา่มีความสามารถ ความถนดัตามธรรมชาติ สติปัญญา เจตคติ ศกัยภาพอยา่งไร เพื่อน าตนหรือช่วยตนไดอ้ยา่งมีประสิทธิภาพ กล่าวคือสามารถป้องกนัแกไ้ขปัญหาและพฒันาตนเองไม่วา่จะเป็นทางกาย อารมณ์หรือสังคมไดอ้ยา่งถูกตอ้ง อุษณีษ ์ เยน็สบาย (2533) กล่าววา่ การแนะแนวหมายถึง การช้ีช่องทาง หรือแนะแนวทางเพื่อใหผู้ท่ี้ไดรั้บการบอกช้ีช่องทางและแนะแนวไดเ้กิดความเขา้ใจเก่ียวกบัตนเองและแกปั้ญหาท่ีเกิดข้ึนของตนเองได้อยา่งเหมาะสม คลิฟฟอร์ด ดี โฟรชลิค (Clifford D. Frochlich. : 1958) กล่าววา่ การแนะแนวเป็นบริการท่ีจดัข้ึนเพื่อช่วยเหลือบุคคลใหส้ามารถเลือกและตดัสินใจไดอ้ยา่งมีประสิทธิภาพ โดยทุกคนมีสิทธิท่ีจะเลือกทางชีวติของตนเองบนพื้นฐานแห่งวถีิประชาธิปไตย

    จากความหมายท่ีมีนกัวชิาการหลายท่านไดใ้หไ้วส้รุปไดว้า่ การแนะแนว หมายถึง การแนะแนว หมายถึง กระบวนการทางการศึกษาท่ีช่วยให ้บุคคลรู้จกั และเขา้ใจตนเองและส่ิงแวดลอ้ม สามารถน าตนเองได ้แกปั้ญหาไดด้ว้ยตนเอง และพฒันาตนเองไดต้ามศกัยภาพ มีความรับผดิชอบต่อการตดัสินใจของตนเองและปฏิบติัตนใหเ้ป็นสมาชิกท่ีดีของสังคม การแนะแนวไม่ใช่การแนะน า อาจกล่าวไดว้า่ การแนะแนวเป็นการช่วยเหลือ ใหเ้ขาสามารถช่วยตนเองได้

  • ปรัชญาของการแนะแนว สถิต วงศส์วรรค ์(2531) ไดก้ล่าวถึงปรัชญาการแนะแนวโดยสรุปมาได ้6 ประการดงัน้ี

    1. บุคคลแต่ละคนยอ่มมีความแตกต่างกนัทั้งทางร่างกาย สังคม อารมณ์และสติปัญญา 2. บุคคลแต่ละคนยอ่มมีความตอ้งการท่ีจะไดรั้บความช่วยเหลือและพึ่งพาอาศยักนั 3. บุคคลมีการเปล่ียนแปลงในทุกดา้นการเปล่ียนแปลงจะเป็นไปดว้ยดีหรือไม่ดีข้ึนอยูก่บัปัจจยัและสาเหตุของการเปล่ียนแปลงนั้นๆ 4. พฤติกรรมทุกอยา่งของบุคคลยอ่มมีสาเหตุ 5. บุคลิกแต่ละคนยอ่มมีศกัด์ิศรีและรับผดิชอบในการด าเนินชีวติของตนเองได้ 6. มนุษยเ์ป็นส่ิงท่ีมีคุณค่าและมีศกัยภาพประจ าตวั หากไดรั้บการช่วยเหลือทุกคนมีโอกาสพฒันาทุกดา้นอยา่งเตม็ท่ี

    ความส าคญัของการแนะแนว การแนะแนวมีบทบาทและมีความส าคญัเป็นอยา่งมากในสังคมปัจจุบนั จนเป็นท่ีเขา้ใจและยอมรับกนัโดยทัว่ไป ทั้งในวงการแพทย ์ดา้นสังคมสงเคราะห์ วงการอุตสาหกรรมและธุรกิจเอกชนต่างๆ ในวงการศึกษาเองและมีการจดับริการแนะแนวข้ึนในสถาบนัการศึกษาต่างๆตั้งแต่ระดบัอนุบาลจนถึงระดบัอุดมศึกษาและมีการแต่งตั้งมอบหมายผูรั้บผดิชอบทางดา้นน้ีโดยเฉพาะเพื่อท าหนา้ท่ีในดา้นการป้องกนัปัญหาต่างๆท่ีอาจเกิดข้ึน ช่วยเหลือแกไ้ขปัญหาท่ีเกิดข้ึนและใหก้ารส่งเสริมพฒันา เพื่อใหน้กัเรียนนิสิตนกัศึกษามีพฒันาการดา้นต่างๆอยา่งเหมาะสม ความจ าเป็นและความส าคญัของการแนะแนวมีหลายประการ พอสรุปไดด้งัน้ี (นิรันดร์ จุลทรัพย์ : 2549) 1. ความเปล่ียนแปลงและความเจริญทางดา้นการศึกษา การศึกษาในสภาพปัจจุบนัมีการแข่งขนักนัมากยิง่ข้ึน ผูป้กครองและนกัเรียนมองเห็นความส าคญัของการศึกษามากข้ึนกวา่แต่ก่อนและการเรียนมกัจะมุ่งในทางสาขาวชิาท่ีมีโอกาสในการระบายอาชีพ และไดค้่าตอบแทนมากกวา่ เพราะฉะนั้น การเลือกคณะสาขาการเรียน และวชิาเรียนเป็นส่ิงส าคญั ครูแนะแนวจึงมีบทบาทท่ีจะช่วยใหน้กัเรียนไดเ้ลือกเรียนตามความสนใจ ความถนดั และความสามารถของตนเองไดอ้ยา่งแทจ้ริงเพื่อออกไปประกอบอาชีพท่ีเหมาสมในอนาคต 2. ความจ าเป็นทางดา้นการเลือกอาชีพ ในสังคมปัจจุบนัมีอาชีพเกิดข้ึนมากมายจนยากท่ีจะระบุออกมาเป็นจ านวนท่ีแน่นอนได ้จึงมีความจ าเป็นท่ีนกัเรียนควรจะไดรั้บการช่วยเหลือแนะแนวทางในการเลือกอาชีพไดอ้ยา่งถูกตอ้งเหมาะสม โดยครูแนะแนวจะตอ้งใหน้กัเรียนไดรู้้จกัโลกของอาชีพต่างๆรอบตวัและอยูใ่นสังคมทัว่ไปวา่ อาชีพแต่ละชนิดตอ้งการผูท่ี้มีคุณสมบตัรอยา่งไร ตวัเขาเองมีความเหมาะสมกบัอาชีพชนิดใด มีความสนใจ มีความถนดัและมีความสามารถอยา่งไรต่อการเลือกประกอบอาชีพเพื่อด าเนินชีวติต่อไปในภายหนา้ ซ่ึงการเลือกอาชีพท่ีเหมาะสมของนกัเรียนถือวา่ มีความส าคญัต่อการพฒันาประเทศดว้ย

  • 3. ความเจริญกา้วหนา้ทางดา้นเทคโนโลยแีละวทิยาการใหม่ๆมีผลท าใหเ้กิดการเปล่ียนโฉมหนา้ของสังคมไทยอยา่งรวดเร็ว ซ่ึงมีการบญัญติัศพัทท่ี์ใชโ้ดยทัว่ไปวา่ “Globalization” “โลกาภิวตัน์” โดยท่ีประชุมราชบญัฑิตไดอ้ธิบายความหมายของค าน้ีวา่ หมายถึง “การแผถึ่งกนัทัว่โลก การเขา้ถึงโลกและการเอาชนะโลก” ท าใหก้ารถ่ายทอดไปอยา่งกวา้งขวาง และทัว่ถึงท าใหเ้กิดผลตามมา 3 ประการใหญ่คือ 3.1 ความตอ้งการก าลงัคนท่ีมีทกัษะทางดา้นภาษาเพื่อการส่ือสารอยา่งนอ้ยคนละสองภาษาคือ ภาษาประจ าชาติและภาษาท่ีเป็นสากล 3.2 ความตอ้งการก าลงัคนท่ีมีทกัษะในการใชเ้ทคโนโลยขีั้นพื้นฐานท่ีเห็นไดช้ดัคือ ทกัษะดา้นคอมพิวเตอร์ และทกัษะในดา้นการใชเ้คร่ืองมือส่ือสารต่างๆ 3.3 อาชีพต่างๆท่ีเคยใชแ้รงงาน หรือช่างฝีมือ ดงัเช่น ท่ีเคยปฏิบติักนัมาก็เปล่ียนมาใช้เคร่ืองมือ เคร่ืองจกัรกลต่างๆ แทน และมีความสลบัซบัซอ้นมากยิง่ข้ึน 4. ความเปล่ียนแปลงทางดา้นเศรษฐกิจและสังคมซ่ึงเป็นไปอยา่งรวดเร็ว สภาพเศรษฐกิจแบบในน ้ามีปลา ในนามีขา้ว (Subsistent Economy) ค่อยๆหมดส้ินไป สภาพสังคมเกษตรกรรมเปล่ียนมาเป็นอุตสาหกรรม จากสภาพชนบทมาเป็นสภาพเมือง ซ่ึงการเปล่ียนแปลงเหล่าน้ีมีผลกระทบต่อการด าเนินชีวติของประชาชนมาก เพราะตอ้งด้ินรนต่อสู้กบัภาวะค่าครองชีพท่ีสูงข้ึนเร่ือยๆ รายไดจ้ากงานประจ าไม่เพียงพอต่อรายจ่ายมีภาระหน้ีสินจึงตอ้งแสวงหารายไดเ้สริม โดยท านอกเวลาจากงานปกติ ท าใหพ้อ่แม่ไม่ค่อยมีเวลาใกลชิ้ดแลอบรมสั่งสอนลูก เด็กจะเกิดความวา้เหว ่และเม่ือเกิดปัญหาไม่รู้จะปรึกษาใครจึงออกไปคบเพื่อนและใหค้วามส าคญักบัเพื่อนมากกวา่พอ่แม่ 5. การอบรมเล้ียงดูของพอ่แม่ ผูป้กครองตารมสภาพแวดลอ้มในสังคมปัจจุบนั วธีิการอบรมเล้ียงดูท่ีไม่เหมาะสมบางประการท าใหเ้ด็กเกิดพฤติกรรมท่ีเป็นปัญหา เช่น พอ่แม่ท่ีเล้ียงดูเอาใจใส่ลูกมากเกินไปคอยช่วยเหลือลูกทุกอยา่งอยูต่ลอดเวลาจะท าใหเ้ด็กกลายเป็นคนท่ีช่วยตวัเองไม่ได ้เม่ือโตข้ึนเป็นผูใ้หญ่จะท าตวัเป็นเด็กท่ีจะตอ้งพึ่งพิงผูอ่ื้นอยูต่ลอดเวลา หรือการอบรมเล้ียงดูของพอ่แม่แบบเผด็จการจะท าใหเ้ด็กไม่มีความเป็นตวัของตวัเอง และเม่ือเกิดการเปรียบเทียบกบัเด็กคนอ่ืนในสภาพท่ีเด็กคนอ่ืนไดรั้บจะท าใหเ้ด็กเกิดความคบัขอ้งในใจ พอ่แม่บางคนจะตามใจลูกมากเกินไป เม่ือโตข้ึนจะกลายเป็นคนท่ีขาดความรับผดิชอบท าอะไรเอาแต่ใจตนเองเด็กบางคนท่ีขาดพอ่หรือแม่ หรือขาดทั้งพอ่และแม่ หรือมีพอ่แม่ แต่พอ่แม่ทะเลาะววิาทกนัเป็นประจ าท่ีเรียกวา่ สภาพรักร้าว (Broken Love) หรือพอ่แม่แยกกนัไปคนละทางท่ีเรียกวา่สภาพบา้นแตก (Broken Home) ส่ิงเหล่าน้ีจะท าใหเ้ด็กขาดความอบอุ่น ขาดความมัน่คงทางจิต ซ่ึงมีผลต่อการปรับตวัของเด็ก เด็กมกัจะแสดงพฤติกรรมแปลกๆ อกมาเพื่อเป็นการระบายอารมณ์หรือเพื่อเป็นการชดเชยบางส่ิงบางอยา่งท่ีขาดไป หรือเพื่อเรียกร้องความสนใจ เช่น การแสดงพฤติกรรมกา้วร้าว เจา้อารมณ์ ใจร้อนวูว่าม เห็นแก่ตวั ซึมเศร้า ไม่สดช่ืนร่าเริงเท่าท่ีควร แยกตวัเองออกจากสังคม หนีบา้น หนีโรงเรียน ลกัขโมย ประพฤติตนเป็นอนัธพาล สุขภาพไม่ดี แสดงการทอ้แทเ้บ่ือหน่าย เรียนรู้ชา้ สอบตก ซ ้ าชั้น มีความขดัแยง้กบัครูอยูเ่สมอ

  • ปัญหาทางพฤติกรรมเหล่าน้ีเกิดข้ึนกบัเด็ก จ าเป็นตอ้งไดรั้บการช่วยเหลือเอาใจใส่ดูแลเป็นพิเศษจากครูแนะแนว เพื่อใหก้ารช่วยเหลือแกไ้ขปรับปรุงพฤติกรรมเหล่าน้ีใหดี้ข้ึน 6. ความเปล่ียนแปลงทางดา้นวฒันธรรมและความเช่ือทางศาสนา โดยเฉพาะการรับวฒันธรรมจากต่างชาติเขา้มา โดยไม่มีการแยกแยะความเขา้ใจจึงท าใหเ้อกลกัษณ์ ค่านิยมและวธีิชีวติของคนไทยเปล่ียนไป ท าใหเ้ด็กเกิดความลงัเล ไขวเ้ขว ไม่แน่ใจวา่ส่ิงใดเป็นส่ิงท่ีถูกตอ้งเหมาะสมและบางคร้ังก็จะแสดงพฤติกรรมเลียนแบบผูใ้หญ่ในทางท่ีไม่ถูกไม่ควร เป็นค ากล่าวท่ีพดูกนัอยูเ่สมอในปัจจุบนัวา่โลกเราทุกวนัน้ีมีความเจริญทางดา้นวตัถุรวดเร็วมาก ตนความเจริญทางดา้นจิตใจของคนเราตามไม่ทนั ค าอบรมสั่งสอนกบัการกระท าของบุคคลในสังคมไม่สอดคลอ้งกนั ผูใ้หญ่บางคนมกัจะพดูอยา่งหน่ึงแต่เวลากระท า ก็จะกระท าไปอีกอยา่งหน่ึงท าใหเ้ด็กเกิดความเคลือบแคลงใจ เช่น การสอนไม่ใหเ้ด็กพดูปดแต่ตวัเองพดูเสียเองหรือหา้มไม่ใหเ้ด็กเท่ียวเตร่ สูบุหร่ี ด่ืมเหลา้ แต่ตวัเองประพฤติเสียเอง เน่ืองจากการศึกษาในปัจจุบนัมีจุดมุ่งหมายใหน้กัเรียนไดรั้บการพฒันาไปทุกๆดา้นเพื่อใหเ้ป็น พลเมืองดี มีความรู้ มีศีลธรรม มีอาชีพสุจริต มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตท่ีดี ส าหรับความขดัแยง้จนก่อใหเ้กิดความแคบแคลงใจเหล่าน้ี บริการแนะแนวสามารถท่ีจะช่วยใหน้กัเรียนเกิดความกระจ่างสามารถรู้จกัแยกแยะไดว้า่อะไรชัว่ อะไรดี อะไรควร อะไรไม่ควร โดยอาจจดัใหค้ าปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่มหรือจดัใหมี้บรรยากาศ การอภิปราย โดยผูรู้้เก่ียวกบัเร่ืองเหล่าน้ี 7. ความตอ้งการในการรู้จกัใชเ้วลาวา่งใหเ้ป็นประโยชน์ นกัเรียนเป็นจ านวนมากยงัไม่สามารถแบ่งเวลาใหเ้หมาะสมวา่เวลาใดควรท าอะไร บางคนใชเ้วลาในการเล่นเท่ียวเตร่ พกัผอ่นหรือ ร่วมในกิจกรรมนกัเรียนมากเกินไปจนท าใหผ้ลการเรียนเสียลง บางคนก็มุ่งเรียนอยา่งเดียวจนกลายเป็นคนเคร่งเครียดท าให้สังคมเสียไป ตามสถานการณ์จริงต่างๆท าใหแ้นวทางชีวติเปล่ียนไปอยา่งน่าเสียดาย

    ประโยชน์ของการแนะแนว 1. ประโยชน์ต่อนกัเรียน การแนะแนวช่วยใหน้กัเรียนเกิดความเขา้ใจตนเองอยา่งถูกตอ้ง รู้ถึงขอ้บกพร่องและความสามารถพิเศษของตน มีความรู้ความเขา้ใจในเร่ืองราวต่างๆท่ีเป็นประโยชน์ ซ่ึงจะช่วยใหน้กัเรียนสามารถพิจารณาตดัสินใจไดอ้ยา่งถูกตอ้ง สามารถปรับตวัไดอ้ยา่งเหมาะสมและด าเนินชีวติในสังคมไดอ้ยา่งมีความสุข 2. ประโยชน์ต่อครู อาจารย ์และโรงเรียน บริการต่างๆ ในงานแนะแนวจะช่วยใหค้รู อาจารยเ์ขา้ใจนกัเรียนไดดี้ข้ึนทุกดา้น สามารถปรับปรุงการเรียนการสอนและการปกครองใหเ้หมาะสม สามารถจดัแบ่งนกัเรียนอกตามความสามารถ และจดับทเรียนไดอ้ยา่งมีประสิทธิภาพ และจะช่วยใหโ้รงเรียนสามารถจดักิจกรรมและบริการต่างๆ ไดเ้หมาะสมกบัความตอ้งการของนกัเรียน ซ่ึงจะเป็นการช่วยลดปัญหาเร่ืองความประพฤติของนกัเรียน 3. ประโยชน์ต่อผูป้กครอง การแนะแนวจะช่วยใหผู้ป้กครองมีความเขา้ใจเด็กของตนเองดีข้ึน เขา้ใจถึงแนวทางและโอกาสในการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพ ซ่ึงจะช่วยใหผู้ป้กครองสามารถช้ีแนะช่องทางแก่เด็กของตนไดดี้ข้ึน

  • ประเภทของการแนะแนว ประเภทของการแนะแนวแบ่งเป็น 3 ดา้นดงัน้ี (นงลกัษณ์ ประเสริฐ และจรินทร วนิทะไชย ์ : 2548) 1. การแนะแนวการศึกษา (Education Guidance) เป็นกระบวนการช่วยเหลือนกัเรียน นกัศึกษาใหรู้้และเขา้ใจความตอ้งกการ ความสนใจ ความสามารถและความสนใจของตนเอง รู้โอกาสทางการศึกษาในปัจจุบนัและอนาคต การตดัสินใจเลือกกลุ่มวชิาเรียน สถานท่ีเรียน วธีิเรียน การแบ่งเวลา การท ากิจกรรมต่างๆ การวางแผนขอ้มูลการศึกษาต่อ การปรับตวัใหเ้ขา้กบัการเรียนการสอนและชีวติในโรงเรียน 2. การแนะแนวอาชีพ (Vocational Guidance) เป็นกระบวนการต่อเน่ืองท่ีมุ่งช่วยเหลือใหผู้เ้รียนไดรู้้จกัโลกอาชีพ การเลือกอาชีพให้เหมาะสมกบัความสนใจ ความตอ้งการ ความสามารถและความถนดัของตน มีเจตคติทางบวกต่ออาชีพ มีการเตรียมพร้อมในการประกอบอาชีพ และพฒันาอาชีพของตนใหเ้จริญกา้วหนา้ 3. การแนะแนวส่วนตวัและสังคม (Personal and Social Guidance) เป็นกระบวนการช่วยเหลือบุคคลใหเ้ขา้ใจตนเอง เขา้ใจส่ิงแวดลอ้มรักและเห็นคุณค่าในตนเองและผูอ่ื้น พฒันาตนใหมี้บุคลิกภาพท่ีเหมาะสม อารมณ์มัน่คง รู้จกัสิทธิหนา้ท่ีของตน สามารถอยู่ร่วมกบัผูอ่ื้นไดอ้ยา่งมีความสุข และมีแผนชีวติในอนาคตท่ีเป็นส่วนสร้างเสริมสังคมใหเ้จริญกา้วหนา้

    การจัดบริการแนะแนว 5 ด้าน งานบริการแนะแนว มีขอบข่าย 5 บริการ ซ่ึงมีความสัมพนัธ์เก่ียวขอ้งกนัอยา่งเป็นกระบวนการต่อเน่ือง ซ่ึงในการจดับริการแนะแนวในโรงเรียนใหส้ัมฤทธ์ิผลนั้นตอ้งมีการจดับริการใหค้รบถว้นทั้ง 5 ดา้น ดงัน้ี 1. บริการส ารวจนักเรียนเป็นรายบุคคล (Individual Inventory) เป็นบริการส ารวจขอ้มูลเป็นรายบุคคล มีจุดมุ่งหมายของบริการส ารวจนกัเรียนเป็นรายบุคคล เป็นบริการท่ีรวบรวมรายละเอียดต่างๆ เก่ียวกบัตวันกัเรียนในทุกๆดา้น แลว้น ามาเก็บรวบรวมเอาไวอ้ยา่งเป็นระเบียบ เพื่อประโยชน์ในการน าไปใช ้ ทั้งน้ีเพื่อใหเ้กิดความเขา้ใจอยา่งดีพอและมีความถูกตอ้ง เช่ือถือได ้ วตัถุประสงค์ของการส ารวจนักเรียนเป็นรายบุคคลมี 3 ประการดังนี้ 1. เพื่อใหค้รูอาจารยห์รือผูท่ี้เก่ียวขอ้งกบันกัเรียนไดรู้้จกัและเขา้ใจนกัเรียนมากข้ึน 2. เพื่อใหน้กัเรียนไดมี้โอกาสส ารวจตนเองเพื่อท าความรู้จกัและเขา้ใจตนเองในดา้นต่างๆมากข้ึน 3. เพื่อหาทางป้องกนัและแกไ้ขปัญหาใหน้กัเรียน เพื่อใหน้กัเรียนไดพ้ฒันาตนเองอยา่งเตม็ท่ี ประเภทของข้อมูลทีจ่ าเป็นในการเกบ็รวบรวมข้อมูล 1. ขอ้มูลทัว่ไป

  • เป็นขอ้มูลท่ีเก่ียวกบัรายละเอียดเก่ียวกบัตวันกัเรียน เช่น ช่ือ-นามสกุล ท่ีอยู ่วนัเดือนปีเกิด รวมถึงขอ้มูลท่ีเก่ียวกบัครอบครัว เช่นช่ือผูป้กครอง ช่ือบิดา มารดา อาชีพ วฒิุทางการศึกษา สถานภาพในการสมรส เช้ือชาติ ศาสนา ฐานะทางเศรษฐกิจ ฯลฯ ซ่ึงขอ้มูลเหล่าน้ีจะช่วยใหเ้ขา้ใจในตวัของนกัเรียนมากข้ึน 2. ขอ้มูลทางดา้นสุขภาพ เป็นขอ้มูลเก่ียวกบัสุขภาพและความเจริญเติบโตทางร่างกาย หมู่เลือด โรคประจ าตวั การฉีดวคัซีนต่างๆ ตลอดจนประวติัเก่ียวกบัการเจบ็ป่วย อุบติัเหตุท่ีเคยไดรั้บ เป็นตน้ 3. ขอ้มูลทางดา้นการศึกษา เป็นขอ้มูลท่ีเก่ียวกบัประวติัการศึกษา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบนั ผลการเรียนในรายวชิาต่างๆ รวมถึงผลการเรียนเฉล่ียสะสม ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนจากการใชแ้บบทดสอบมาตรฐาน และการเขา้ร่วมกิจกรรมทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนของนกัเรียน 4. ขอ้มูลดา้นความถนดั และความสามารถพิเศษต่างๆ เป็นขอ้มูลท่ีไดจ้ากการแสดงออกทางกิจกรรมต่างๆ การประเมินจากอาจารยห์รือผูเ้ช่ียวชาญ ตลอดจนขอ้มูลความถนดัท่ีไดจ้ากการทดสอบพรสวรรค ์และทกัษะพิเศษต่างๆ 5. ขอ้มูลดา้นความสนใจ เป็นขอ้มูลเก่ียวกบัเจตคติ ค่านิยม ความชอบ ท่ีไดจ้ากการทดสอบความสนใจ งานอดิเรก และการเลือกเขา้ร่วมกิจกรรมต่างๆท่ีสนใจ 6. ขอ้มูลขอ้มูลดา้นบุคลิกภาพและการปรับตวัทางสังคม เป็นขอ้มูลท่ีไดจ้ากการท าแบบทดสอบ แบบวดัทางบุคลิกภาพ การท าสังคมมิติ การคบเพื่อน การสังเกตการณ์ท างานร่วมกนั ตลอดจนแบบบนัทึกการรายงานพฤติกรรมดา้นต่างๆ 7. ขอ้มูลดา้นการวางแผนในอนาคตของนกัเรียน เป็นขอ้มูลเก่ียวกบัการวางแผนในอนาคตของนกัเรียนในเร่ืองการศึกษาต่อเพื่อน าไปใชใ้นการประกอบอาชีพในอนาคต ข้อควรค านึงถึงในการรวบรวมข้อมูลเป็นรายบุคคล 1. ความถูกตอ้งแม่นย า (Reliability) ขอ้มูลท่ีเก็บรวบรวมไดต้อ้งมีความเช่ือถือได ้ถูกตอ้งแม่นย า ตรงต่อความเป็นจริง 2. ความเท่ียงตรง ( Validity) ขอ้มูลท่ีเก็บรวบรวมไวส้ามารถพยากรณ์ไดอ้ยา่งถูกตอ้งเช่น เด็กชาย ก. มีคะแนนสะสม 4.00 แต่ครูแนะแนวมีขอ้มูลเก่ียวกบัระดบัปัญญา ( I.Q.) อยูใ่นระดบั 80 ซ่ึงแสดงใหเ้ห็นวา่ขอ้มูลเก่ียวกบัระดบัสติปัญญาของเด็กชาย ก. ขาดความเท่ียงตรง

  • วธีิการเกบ็รวบรวมข้อมูล ในการเก็บรวบรวมขอ้มูลนกัเรียนเป็นรายบุคคลนั้น ครูแนะแนวควรเลือกใชเ้คร่ืองมือ เทคนิคหรือวธีิการหลายๆอยา่ง ทั้งน้ีเป็นเพราะเคร่ืองมือแต่ละชนิดมีคุณสมบติัท่ีมีความแตกต่างกนั การเลือกใชเ้คร่ืองมือและวธีิการท่ีหลากหลาย จะช่วยใหค้รูแนะแนวรู้จกัผูเ้รียนมากข้ึนดว้ย เคร่ืองมือ เทคนิค วธีิการทีใ่ช้ในการเกบ็รวบรวมข้อมูล 1. การสังเกต (Observation) 2. การสัมภาษณ์ (Interview) 3. แบบสอบถาม ( Questionnaire) 4. ระเบียนสะสม (Cumulative Record) 5. การเยีย่มบา้น ( Home Visitation) 6. สังคมมิติ ( Sociometry Technique) 7. อตัชีวประวติั และบนัทึกประจ าวนั (Autobiography and Diary) 8. การศึกษารายกรณี (Case Study) 9. การใชแ้บบทดสอบต่างๆ ( Testing) 2.บริการสนเทศ (Information Service) เป็นบริการท่ีจดัหารวบรวมข่าวสารทางดา้นการศึกษา อาชีพ ส่วนตวัและสังคมโดยอาศยัเคร่ืองมือและวธีิการต่างๆแลว้น าขอ้มูลเหล่านนั้นมาวเิคราะห์แจกแจงเพื่อใหเ้ป็นขอ้สนเทศและพร้อมท่ีจะน าเสนอใหแ้ก่นกัเรียนหรือผูรั้บบริการดว้ยเทคนิค วธีิการต่างๆตามความเหมาะสม เพื่อท่ีนกัเรียนหรือผู ้บริการสามารถท่ีจะน ามาประกอบการตดัสินใจไดด้ว้ยตนเอง วตัถุประสงค์ของบริการสนเทศ การจดับริการสนเทศมีวตัถุประสงคท่ี์ส าคญัหลายประการ นอรีสและคณะ (Norris, Zerran and Hatch: 1960) 1. เพื่อพฒันาความเขา้ใจตนเองและการยอมรับตนเองของบุคคลอ่ืน 2. เพื่อช่วยพฒันากระบวนการตดัสินใจของบุคคล 3.เพื่อแสดงใหเ้ห็นวา่บุคคลมีคุณค่า 4. เพื่อใหท้ราบวา่บุคคลแต่ละคนมีความแตกต่างกนั 5. เพื่อใหบุ้คคลทราบถึงความช านาญงานแต่ละอาชีพท่ีมีความแตกต่างไปตามอาชีพ 6. เพื่อใหบุ้คคลตระหนกัถึงความสัมพนัธ์บุคคล และสภาพแวดลอ้มท่ีมีอิทธิพลต่อพฒันาการดา้นอาชีพ 7. เพื่อใหบุ้คคลไดท้ราบถึงโอกาส และปัญหาท่ีจะเกิดข้ึนในการศึกษาและการพฒันาอาชีพทุกระดบั

  • 8. เพื่อใหบุ้คคลตระหนกัถึงความจ าเป็นท่ีตอ้งทราบขอ้สนเทศทางดา้นอาชีพ การศึกษา ส่วนตวัและสังคมท่ีถูกกตอ้ง 9. เพื่อใหบุ้คคลไดท้ราบและเขา้ใจถึงความสัมพนัธ์ของกิจการต่างๆอยา่งกวา้งขวางทั้งทางดา้นอาชีพ การศึกษา ส่วนตวัและสังคม 10. เพื่อช่วยใหบุ้คคลสามารถน าเทคนิคมาใชตี้ความ แปลความหมายของขอ้มูลต่างๆมาใช้ประกอบการตดัสินใจ 11. เพื่อเสริมสร้างเจตคติ และนิสัยท่ีจะช่วยในการตดัสินใจ 12. เพื่อใหบุ้คคลสามารถตดัสินใจในการท ากิจกรรมตามขอบเขตท่ีเหมาะสมกบัความถนดัและความสามารถของตนได ้ 13. เพื่อพฒันาความสนใจในการประกอบอาชีพ ประเภทของข้อสนเทศ นอรีสและคณะ (Norris, Zerran and Hatch: 1960) ไดแ้บ่งขอ้สนเทศออกเป็น 3 ประเภท ดงัน้ีคือ 1. ขอ้สนเทศทางดา้นอาชีพ ( Occupational Information) ขอ้สนเทศทางดา้นอาชีพหมายถึง ขอ้มูลท่ีถูกตอ้ง เท่ียงตรง และกอใหเ้กิดประโยชน์เก่ียวกบัต าแหน่งหนา้ท่ีการงาน การหาแหล่งงาน การเขา้สู่อาชีพ ลกัษณะและชนิดของอาชีพ รวมทั้งสถานภาพของงาน ค่าตอบแทน ความกา้วหนา้ ตลอดจนความตอ้งการของตลาดแรงงานในปัจจุบนัและอนาคต ซ่ึงการจดักิจกรรมเพื่อเสนอขอ้สนเทศทางอาชีพควรประกอบดว้ยรายละเอียดดงัต่อไปน้ี 1.1 ลกัษณะโดยทัว่ไปของงาน 1.2 สภาพแวดลอ้มในการท างาน 1.3 คุณสมบติัของผูท่ี้จะประกอบอาชีพนั้นๆ 1.4 โอกาสการขยายตวัของงาน 1.5 มีกฎหมายคุม้ครองแรงงานหรือไม่ 1.6 การเตรียมตวัเขา้สู่งาน 1.7 เกณฑใ์นการคดัเลือกเขา้ท างาน 1.8 โอกาสและความกา้วหนา้ของผูป้ฏิบติังาน 1.9 รายได ้ค่าตอบแทน 1.10 สวสัดิการต่างๆท่ีจะไดรั้บ 1.11 จ านวนผูร่้วมงานทั้งหมดทั้งภายในและภายนอกส านกังาน 1.12 องคก์รท่ีเป็นตวัแทนของหน่วยงาน 2. ขอ้สนเทศทางดา้นการศึกษา ( Educational Information)

  • หมายถึง ขอ้มูลท่ีถูกตอ้งเท่ียงตรงและก่อใหเ้กิดประโยชน์เก่ียวกบัโอกาสทางการศึกษาและการฝึกฝนอบรมทั้งในปัจจุบนัและอนาคต ในดา้นการเตรียมตวัเขา้ศึกษาต่อ หลกัสูตรการเรียนและปัญหาต่างๆ ของชีวติการเป็นนกัเรียน นกัศึกษา ซ่ึงการจดักิจกรรมน าเสนอขอ้สนเทศทางการศึกษา สามารถจดับริการใหแ้ก่ผูเ้รียนเพื่อใหก้ารช่วยเหลือในปัญหาการเรียนในปัจจุบนัและการเตรียมศึกษาต่อในอนาคตดงัน้ี 2.1 การจดับริการใหก้ารช่วยเหลือในปัญหาการเรียนของนกัเรียนปัจจุบนั เช่น แนะแนววธีิการเรียนท่ีดี หลกัสูตร การวดัผล การเลือกวชิาเรียน การเขา้ร่วมกิจกรรมนกัเรียนในโอกาสต่างๆ ค่าใชจ่้ายส าหรับการศึกษา ระเบียบวนิยั กฎเกณฑข์อ้บงัคบัของโรงเรียนเป็นตน้ 2.2 การจดับริการใหก้ารช่วยเหลือส าหรับการเตรียมตวัศึกษาต่อแก่นกัเรียนดงัน้ี 2.2.1 ช่ือและสถานท่ีตั้งของสถาบนัการศึกษาต่างท่ีนกัเรียนสามารถไปศึกษาต่อได ้ 2.2.2 หลกัสูตรท่ีเปิดสอน ระยะเวลาศึกษาของแต่ละหลกัสูตร และวฒิุท่ีจะไดรั้บเม่ือส าเร็จการศึกษา 2.2.3 ระเบียบในกรสมคัร ช่วงระยะเวลาท่ีรับสมคัร ค่าจ่ายในการสมคัร ก าหนดการวนัสอบ คุณสมบตัรผูเ้ขา้สอบ และการประกาศผลสอบ 2.2. 4 ค่าใชจ่้ายตลอกระยะเวลาท่ีศึกษา เช่น ค่าหน่วยกิต ค่าบ ารุงสถาบนั ค่าบ ารุงหอสมุด และหอ้งพยาบาลเป็นตน้ 2.2.5 วธีิการเรียน การวดัและประเมินผลเกณฑก์ารจบหลกัสูตร 2.2.6 ทุนอุดหนุนพิเศษท่ีอาจจะไดรั้บการช่วยเหลือในกรณีมีปัญหาดา้นการเงิน เช่น ทุนกูย้มื ทุนอาหารกลางวนั ทุนอุดหนุนประเภทท่ีตอ้งท างานทดแทนใหก้บัสถานศึกษา ทุนการวจิยั เป็นตน้ 2.2.7 บริการและสวสัดิการต่างๆ เช่น หอพกั พาหนะของสถานศึกษาท่ีจดับริการส าหรับการเดินทางไปเรียน บริการสุขภาพอนามยั หอสมุด หน่วยบริการใหค้ าปรึกษา และบริการจดัหางานเป็นตน้ 2.2.8 กิจกรรมต่างๆ ท่ีสถานศึกษาสนบัสนุนใหน้กัเรียน หรือนกัศึกษากระท ากิจกรรม เช่น ชุมนุม ชมรม สโมสร หรือองคก์รต่างๆท่ีสามารถจดัข้ึนได้ 2.2.9 การใชชี้วติภายในสถานศึกษา และสภาวะแวดลอ้มของสถานศึกษา เช่น บริเวณอาคารสถานท่ี สนามกีฬา โรงอาหารเป็นตน้ 2.2.10 แนวทางและโอกาสทางการศึกษาต่อ สถาบนัต่างๆในระดบัท่ีสูงข้ึน

  • 2.2.11 โอกาสกา้วหนา้เม่ือส าเร็จการศึกษาและโอกาสในการประกอบอาชีพในสาขาวชิาท่ีส าเร็จการศึกษา ตลอดจนความตองการของตลาดแรงงานและแนวทางในการประกอบอาชีพอิสระในอนาคต 3. ขอ้สนเทศทางดา้นส่วนตวัและสังคม ( Personal- Social Information) หมายถึงขอ้มูลท่ีถูกตอ้งเท่ียงตรงและก่อใหเ้กิดประโยชน์เก่ียวกบับุคคลในการท่ีสามารถปรับตวัเขา้กบัส่ิงแวดลอ้มและด ารงชีวติอยูใ่นสังคมไดอ้ยา่งมีความสุข ซ่ึงนกัเกรียน นิสิต นกัศึกษา สามารถน าขอ้มูลเหล่านั้นมาส ารวจตนเอง เพื่อใหเ้กิดการปรับตวัท่ีดีทั้งในปัจจุบนัและในอนาคต ซ่ึงรายละเอียดขอ้สนเทศดา้นส่วนตวัมีดงัน้ี 3.1 การใหบุ้คคลรู้จกัและเขา้ใจตนเองเก่ียวกบัความสนใจ ความถนดัความสามารถ ทกัษะ จุดเด่นจุดดอ้ยของตนเอง ค่านิยม เจตคติและบุคลิกภาพโดยใชแ้บบทดสอบและแบบส ารวจต่างๆ เช่นแบบทดสอบ S.D.S. แบบทดสอบวดัความสนใจความสามารถของ John L. Holland เป็นตน้ 3.2 วธีิการสร้างสัมพนัธภาพกบับุคคลต่างๆท่ีมีความแตกต่างทางเพศและเพศเดียวกนั ตลอดจนเขา้ใจบทบาททางเพศของตนเอง 3.3 การรักษาและพฒันาสุขภาพจิต สุขภาพกายและบุคลิกภาพโดยส่วนรวมของตนเอง 3.4 การรู้จกัปรับตวัใหเ้ขา้กบัส่ิงแวดลอ้มทั้งบุคคล และสามเหตุของพฤติกรรมทั้งท่ีเป็นปัญหา 3.5 การมีวนิยั คุณธรรมและจริยธรรมประจ าตวั 3.6 การเขา้ถึงความแตกต่างระหวา่งบุคคล และสาเหตุของพฤติกรรมท่ีเป็นปัญหาและไม่ก่อใหเ้กิดปัญหา 3.7 การมีทกัษะทางสังคม การวางตวั กิริยามารยาททางสังคม การรู้จกัวางแผน การด าเนินชีวติ การใชเ้วลา ตลอดจนการแสวงหาความกา้วหนา้ในชีวติของตนเองและครอบครัว 3. บริการให้ค าปรึกษา (Counseling Service) เป็นกระบวนการบวนการใหค้วามช่วยเหลือ (Helping Process) โดยอยูใ่นรูปแบบการให้ค าปรึกษาท่ีมีผูใ้หค้ าปรึกษา (Counselor) และผูข้อรับค าปรึกษา (Counselee/client) ซ่ึงอาจเป็นรายบุคคลหรืออาจเป็นรายกลุ่มก็ได ้ ความส าคัญของการให้ค าปรึกษา เป็นกระบวนการท่ีจะช่วยพฒันาบุคคลไปสู่เป้าหมายในชีวติ โดยกระบวนการใหค้ าปรึกษาเป็นกลไกท่ีจะช่วยเหลือบุคคลหรือกลุ่มผูเ้รียนท่ีมีปัญหาใหส้ามารถตดัสินใจ แกปั้ญหา พฒันาตนเองใหมี้คุณภาพเหมาะสมตามความแตกต่างระหวา่งบุคคล จนเกิดทกัษะการด าเนินชีวติเขา้สู่กระบวนการเรียนการ

  • สอนไดอ้ยา่งมีประสิทธิภาพ ซ่ึงสถานศึกษาตอ้งน าขอ้มูลและปัญหาดา้นต่างๆของผูเ้รียนมาบูรณาการ การใหค้ าปรึกษากบัการจดัการเรียนการสอน และก าหนดขอบข่ายภารกิจ ทั้งของครูผูท่ี้ท าหนา้ท่ีช่วยเหลือผูเ้รียนและผูใ้หค้ าปรึกษาโดยตรงใหค้รอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย (อนุสรณ์ อรรถสิริ : 2551) ประเภทของการให้ค าปรึกษา การใหค้ าปรึกษาแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆคือ 1. การให้ค าปรึกษารายบุคคล (Individual Counseling) เป็นการจดัการใหค้ าปรึกษาระหวา่งบุคคลต่อบุคคล กล่าวคือ เม่ือมีผูข้อรับค าปรึกษาหน่ึงคน ขอพบผูใ้หค้ าปรึกษาเป็นการส่วนตวั โดยผูใ้หค้ าปรึกษาจะช่วยใหผู้ข้อรับค าปรึกษาเขา้ใจและยอมรับสภาพความเป็นจริงของตนเอง น าไปสู่การพฒันาตนเองและสามารถปรับตวัอยูใ่นสังคมไดอ้ยา่งมีความสุข 2. การให้ค าปรึกษาเป็นกลุ่ม (Group Counseling) เป็นกระบวนการท่ีผูใ้หค้ าปรึกษาจดัข้ึนเพื่อใหค้วามช่วยเหลือผูข้อรับค าปรึกษาท่ีมีลกัษณะปัญหา หรือความตอ้งการท่ีคลา้ยกนัระหวา่งบุคคล ซ่ึงมีสมาชิกในกลุ่มประมาณ 5-10 คน โดยผูใ้ห้ค าปรึกษาจะท าหนา้ท่ีเป็นผูน้ ากลุ่ม สร้างบรรยากาศท่ีอบอุ่นมีความเป็นกนัเอง และยอมรับซ่ึงกนัและกนัรวมทั้งคอยช่วยใหส้มาชิกของกลุ่มไดมี้โอกาสส ารวจตนเอง แลกเปล่ียนประสบการณ์และความรู้สึกนึกคิดท่ีมีต่อปัญหา ซ่ึงจะท าใหส้มาชิกมีส่วนช่วยกนัสร้างความเขา้ใจในส่ิงท่ีซอ้นเร้นอยูใ่นความรู้สึก ผูใ้ห้ค าปรึกษา จะกระตุน้ใหส้มาชิกมีส่วนแสดงความคิดเห็นและใหก้ าลงัใจซ่ึงกนัและกนั ซ่ึงจะมีส่วนช่วยใหมี้การเปล่ียนแปลงพฤติกรรมชองกลุ่มไปในทางท่ีดีข้ึน จะช่วยใหส้มาชิกภายในกลุ่มเกิดความเขา้ใจตนเอง และน าแนวคิดจากกลุ่มไปพฒันาตนเองต่อไป คุณลกัษณะทีพ่งึประสงค์ของผู้ให้ค าปรึกษา วชัรี ทรัพยมี์ (2533) ไดเ้นน้คุณลกัษณะท่ีพึงประสงคข์องผูใ้หค้ าปรึกษา ไวด้งัน้ี 1. มีความจริงใจ ไม่เสแสร้ง เคารพในสิทธิส่วนบุคคลและยอมรับวา่ทุกคนมีคุณค่า 2. มีมนุษยสัมพนัธ์ท่ีดี ปรับตวัเขา้กบัผูอ่ื้นไดง่้าย 3. มีสุขภาพจิตดี ปรับตวัไดดี้ มีอารมณ์มัน่คงและยอมรับตนเอง พร้อมท่ีจะแกไ้ขปรับปรุงส่ิงบกพร่องและสามารถจะเผชิญปัญหาไดอ้ยา่งมัน่คง 4. มีเมตตา ชอบช่วยเหลือผูอ่ื้น 5. เป็นผูไ้วต่อความตอ้งการและความรู้สึกของผูอ่ื้น 6. มีเหตุผลและมีประสบการณ์กวา้งขวางท่ีจะเขา้ใจปัญหา 7. มีความสุขมุพิจารณาส่ิงต่างๆอยา่งรอบคอบ 8. ใจกวา้ง ยอมรับฟังความคิดเห็นของผูอ่ื้น 9. หมัน่ศึกษาหาความรู้อยูเ่สมอ 10. เก็บรักษาความลบัไดดี้

  • 4. บริการจัดวางตัวบุคคล (Placement Service) จากแนวคิดเดิม การจดัวางตวับุคคล เป็นเร่ืองของการจดัหางานอาชีพใหก้บับุคคล (Job Placement) ต่อมามีการพฒันารูปแบบเป็นการช่วยเหลือบุคคลในรูปแบบของการด าเนินงานและวางแผนโดยอยูใ่นรูปแบบของกิจกรรมท่ีตอบสนองความถนดั ความสนใจ และความสามารถของผูเ้รียนทุกคน รวมทั้งจดัหาทุนการศึกษา ทุนอาหารกลางวนั หรือการจดัหางานพิเศษในเวลาวา่ง จุดมุ่งหมายของบริการจัดวางตัวบุคคล (คมเพชร ฉัตรศุภกุล : 2529) 1. เพื่อช่วยใหน้กัเรียนไดเ้ลือกเรียนอยา่งเหมาะสม เช่น เลือกวชิาเรียน เลือกสายการเรียน 2. เพื่อช่วยใหน้กัเรียนไดพ้ิจารณาเร่ืองการวางแผนทางอาชีพ 3. เพื่อช่วยใหน้กัเรียนไดมี้ประสบการณ์ทางดา้นอาชีพ 4. เพื่อช่วยใหน้กัเรียนไดเ้รียนในชั้นเรียนท่ีอยูใ่นระดบัความสามารถใกลเ้คียงกนั 5. เพื่อช่วยใหน้กัเรียนไดใ้ชโ้อกาสในโรงเรียนใหเ้ป็นประโยชน์ในการพฒันาทกัษะ ความสามารถในดา้นต่างๆ ประเภทของการจัดวางตัวบุคคล ก.การจดัวางตวับุคคลทางการศึกษา ( Educational placement) การจดัวางตวับุคคลทางการศึกษาจะรวมเอากิจกรรมต่างๆ ในโรงเรียน และการช่วยเหลือนกัเรียนในการตดัสินใจอยา่งมีเหตุผลเก่ียวกบัการศึกษา การจดัวางตวัประกอบน้ีตอ้งการความร่วมมือจากคณะครู ผูใ้หค้ าปรึกษา และครูใหญ่ หนา้ท่ีส าคญัของการจดัวา่งตวับุคคลทางการศึกษาคือการจดัใหน้กัเรียนไดเ้รียนเหมาะสมกบัหลกัสูตรและวชิาต่างๆ การจดันกัเรียนใหเ้ขา้ร่วมกิจกรรมท่ีเหมาะสม ตลอดจนการจดัวางตั้งการฝึกฝนทางอาชีพใหแ้ก่นกัเรียน หลกัการเฉพาะท่ีเสนอแนะส าหรับโครงการจดัวางตวับุคคลทางการศึกษาต่อไปน้ี สามารถเปล่ียนแปลงใหเ้หมาะสมกบัโรงเรียนแต่ละโรงเรียนได ้ควรจะปรับปรุงใหส้อดคลอ้งกบัความตอ้งการของทอ้งถ่ินและสถานการณ์ดว้ย 1. จดัใหข้อ้สนเทศเก่ียวกบัรายวชิาท่ีเปิดท่ีเปิดสอนมีความทนัสมยัอยูเ่สมอ 2. พฒันาสัมพนัธภาพในการท างานท่ีดีกบับุคคลากรทุกคนในโรงเรียน 3. จดัใหมี้การสัมภาษณ์นกัเรียนเพื่อพิจารณาความตอ้งการและความสนใจของนกัเรียน 4. รวบรวมเอกสารการเป็นสมาชิกชุมชนต่างๆ ของนกัเรียนหรือองคก์ารต่างๆในโรงเรีย o 5. เปิดบริการใหค้ าปรึกษาแกนกัเรียนแต่ละคน ข. การจดัวางตวับุคคลดา้นอาชีพ ( Vocational Pacement) การจดัวางตวับุคคลดา้นอาชีพจะเก่ียวขอ้งกบัการช่วยเหลือนกัเรียนใหไ้ดรั้บงานบางเวลา (part-time employment) และงานเตม็เวลา (full-time employment) นอกจากน้ียงัเก่ียวขอ้งกบัการช่วยเหลือนกัเรียนใหไ้ดรั้บการฝึกฝนทางอาชีพท่ีเหมาะสม เพื่อเตรียมตวัในการจดัวางตวับุคคลเพื่อการท างาน การจดัวางตวับุคคลดา้นอาชีพน้ีเก่ียวขอ้งโดยตรงกบัการช่วยเหลือนกัเรียนใหส้ามารถมีอาชีพท่ีเหมาะสมท่ีสุด และ

  • สอดคลอ้งกบัความตอ้งการของนกัเรียน ถึงแมว้า่การตดัสินใจเลือกอาชีพจะใชเ้วลาในนาน แต่การเตรียมตวันั้นตอ้งการระยะเวลาพอสมควร ประสบการณ์ทางการศึกษา ตลอดจนความช่วยเหลือท่ีไดรั้บจากการแนะแนวนั้น จะช่วยเตรียมตวันกัเรียนแต่ละคนในการตดัสินใจ ดงันั้นการใหบ้ริการตลอดปีจึงเป็นส่ิงส าคญัอยา่งการตดัสินใจอยา่งฉลาดยอ่มจะมีผลมาจากโปรแกรมการแนะแนวท่ีดีดว้ย ในการตรงกนัขา้มดา้นการบริการมีความบกพร่องอาจจะเป็นผลต่อการตดัสินใจอยา่งผดิพลาด โรงเรียนแต่ละแห่งจะตอ้งพยายามปรับกิจกรรมต่างๆ เพื่อความเหมาะสม 1. จดัเอกสารของนกัเรียนท่ีตอ้งการท างาน 2. มีการติดต่อกบันายจา้งอยูเ่สมอ และเก็บขอ้มูลเก่ียวกบัอาชีพต่างๆท่ีตอ้งการนกัเรียนเขา้ไปท างาน 3. มีการประชุมนกัเรียนเป็นระยะทั้งน้ีเพื่อพิจารณาความสนใจทางดา้นการท างานของนกัเรียน ตลอดจนโอกาสท่ีจะไดรั้บการฝึกฝนดา้นอาชีพ 4. ท าการสัมภาษณ์นกัเรียนท่ีออกจากโรงเรียนก่อนส าเร็จการศึกษา 5. มีการพบปะนกัเรียนท่ีเรียนอยูปี่สุดทา้ย ตั้งแต่เร่ิมตน้การพบปะอาจจะกระท าเป็นกลุ่ม หรือพบเป็นการส่วนตวั 6. สัมภาษณ์นกัเรียนปีสุดทา้ย และพิจารณาสถานภาพของแต่ละคนเก่ียวกบัการเรียนหรืออาชีพ 7. จดัรวบรวมเอกสารดา้นการศึกษาและอาชีพ และน ามาเป็นประโยชน์ต่อนกัเรียนช่วยให้นกัเรียนรู้จกัวธีิการใช้ 8. จดัป้ายนิเทศเพื่อใหข้อ้สนเทศเก่ียวกบัอาชีพและโอกาสในการฝึกฝนอาชีพต่างๆ

    ลกัษณะของการจัดวางตัวบุคคล 1. การจัดวางตัวบุคคลในโรงเรียน ( In –School Placement) นกัเรียนในโรงเรียนทุกคนควรจะไดรั้บบริการจดัวางตวับุคคล เพราะจะช่วยใหเ้ขาไดรั้บประโยชน์จากส่ิงแวดลอ้มไดดี้ท่ีสุด ทั้งน้ีเป็นเพราะวา่การจดัวางตวับุคคลนั้นมีความมุ่งหมายจะใหบุ้คคลไดอ้ยูไ่ดอ้ยูใ่นสภาพแวดลอ้มท่ีดีมีความเหมาะสมกบันกัเรียน และใหเ้ขาไดพ้ฒันาตนเองตามอตัภาพของเขา ส าหรับการจดัวางตวับุคคลในชั้นเรียนอาจจะกระท าไดห้ลายๆ กิจกรรมต่อไปน้ี 1 .1 การจดัชั้นเรียนใหเ้หมาะสม เช่น การจดันกัเรียนท่ีมีความใจคลา้ยคลึงกนัไวใ้นชั้นเรียนเดียวกนั 1 .2 การจดัวางตวับุคคลในเร่ืองการเรียน เช่น ช่วยใหน้กัเรียนสามารถเลือกเรียนวชิาต่างๆได ้โดยมีขอ้มูลต่างๆ อยา่งพอเพียงในการช่วยกาตดัสินใจ 1 .3 การจดัตวัทางดา้นกิจกรรม นกัเรียนทั้งหลายท่ีเขา้เรียนในโรงเรียน โรงเรียนมีความคาดหวงัวา่เขาจะไดมี้พฒันาการทางดา้นสังคม อารมณ์ดว้ย มิใชเ้นน้หนกัทางดา้นสิติปัญญาแต่อยา่งเดียว

  • ดงันั้นการเปิดโอกาสใหน้กัเรียนไดท้ ากิจกรรมบา้ง ยอ่มเป็นประโยชน์ต่อนกัเรียนเป็นอยา่งยิง่ นอกจากน้ียงัเป็นการแสวงหาความสามารถ ความถนดั ตลอดจนความสนใจในดา้นต่างๆ ดว้ย 1.4 การจดัหางานพิเศษ ( Part time-Work) นกัเรียนบา้งคนมีความตอ้งการจะท างานพิเศษ ในขณะท่ีเรียนอยูใ่นโรงเรียนดว้ย ซ่ึงถา้เป็นไปไดจ้ะไดรั้บประโยชน์เป็นอยา่งมาก ไม่เฉพาะทางดา้นเศรษฐกิจ หรือรายไดท่ี้ไดรั้บจากการท างานเท่านั้น แต่ยงัไดรั้บประสบการณ์ทางดา้นอาชีพโดยตรง 2 . การจัดวางตัวนอกโรงเรียน(Out of School Placement) เม่ือนกัเรียนส าเร็จการศึกษาจากโรงเรียนไปแลว้ เขาจะตอ้งไปเผชิญกบัชีวติในสังคม ถา้จะช่วยใหเ้ขาไดป้ระสบความส าเร็จในชีวติมากข้ึน ก็ควรจะมีการจดัวางตวับุคคลนอกโรงเรียนใหก้บันกัเรียน 2 .1 การจดัวางตวับุคคลเก่ียวกบัการศึกษาต่อ นกัเรียนเป็นจ านวนมากมีความปรารถนาจะเรียนต่อในระดบัสูงข้ึนไป ดงันั้นก็ควรจะช่วยใหเ้ขาตดัสินใจวา่ เขาควรจะเลือกเรียนอะไรจึงจะเหมาะสมกบัเขา โดยตวัเขาเองนั้นเป็นผูต้ดัสินใจวา่ เขาควรจะเลือกเรียนอะไรจึงเหมาะสมกบัเขา 2 .2 การจดัวางตวัทางดา้นอาชีพ (Job Placement ) หลงัจากส าเร็จการศึกษาจะมีนกัเรียนบางส่วนท่ีไม่ประสงคจ์ะศึกษาต่อไป ดงันั้นโรงเรียนควรจะมีความรับผดิชอบท่ีจะช่วยเหลือนกัเรียนให้สามารถรุ้วา่เขาควรจะมีโอกาสประกอบอาชีพอะไรไดบ้า้งในสังคม เพื่อจะใหมี้การเตรียมตวัท่ีดีก่อนจะออกไปประกอบอาชีพอยา่งจริงจงั 2 .3 การฝึกฝนอาชีพในหน่อยงาน หรือสถาบนัต่างๆ นกัเรียนบางระดบั หรือบางคนท่ีส าเร็จการศึกษาจากโรงเรียนแลว้ ยงัไม่มีความพร้อมท่ีจะประกอบอาชีพไดท้นัที โครงการแนะแนวท่ีดีควรจะมีการช่วยใหน้กัเรียนทั้งหลายไดท้ราบวา่ เขาจะสามารถเขา้ไปรับการฝึกฝนอบรม เก่ียวกบัอาชีพระยะสั้นได ้ณ ท่ีใดบา้ง เพื่อช่วยใหเ้ขาสามารถประกอบอาชีพได ้นอกจากจะสามารถใหข้อ้มูลวา่มีสถานท่ีฝึกอบรมท่ีใดบา้ง ยงัตอ้งใหเ้ขาทราบวา่เขาควรจะเขา้รับการฝึกฝนในโปรแกรมอะไร จึงเหมาะสมท่ีสุดดว้ย ข้ันตอนของการจัดโครงการการจัดวางตัวบุคคล

    วธีิการหรือเทคนิคในการจดัโครงการจดัวางตวับุคคลนั้นมีหลายวธีิการ ซ่ึงมีองคป์ระกอบต่างๆ ท่ีมีอิทธิพลต่อการจดั เช่น ขนาดของโรงเรียน จ านวนนกัเรียน สภาพสังคม ตลาดแรงงาน เป็นตน้ ดงันั้นการจดับริการวางตวับุคคลยอ่มมีวธีิการยดืหยุน่ โดยจะตอ้งพิจารณาถึงความเหมาะสมท่ีสุดของแต่ล่ะสถานการณ์เป็นส าคญั มีวธีิการจดัดงัต่อไปน้ี 1. การพจิารณาบุคลากรทีจ่ะได้รับผดิชอบการจัดวางตัวบุคคล เน่ืองจากงานดา้นน้ีจะตอ้งมีบุคลากรท่ีเหมาะสมในการด าเนินงาน โดยจะตอ้งพิจารณาผูท่ี้มีความสัมพนัธ์อนัดีระหวา่งนิสิตและมีความกวา้งขวางในวงธุรกิจ และอาจจะตอ้งพิจารณาคุณสมบติัอ่ืนๆ ประกอบดว้ย เช่น มีบุคคลรับผดิชอบต่องานน้ี ควรมีการพิจารณาอยา่งละเอียดถ่ีถว้นดว้ย เพราะความส าเร็จของการด าเนินงานยอ่มข้ึนอยูก่บับุคลากรดว้ย 2. การจัดหาวสัดุอุปกรณ์ทีจ่ าเป็น การพิจารณาองคป์ระกอบดา้นน้ี ควรจะครอบคลุมถึงเร่ืองท่ีส าคญัคือ อุปกรณ์ท่ีส าคญัส าหรับส านกังานการจดัวางตวับุคคล และสถานท่ีตั้งของส านกังาน

  • การจดัหาวสัดุอุปกรณ์ต่างๆ ข้ึนอยูก่บัความจ าเป็นของแต่และแห่ง ถา้ส านกังานใหญ่ก็อาจจะตอ้งการเคร่ืองมือและอุปกรณ์มาก และในโครงการน้ีควรจะมีเจา้หนา้ท่ีช่วยงานดา้นธุรการดว้ย เพราะจะตอ้งการรับงาน จ่ายงาน พิมพแ์บบฟอร์ม พิมพห์นงัสือนาตวั เป็นตน้ ส าหรับสถานท่ีท่ีจะเป็นส านกังานนั้นควรจะเป็นสถานท่ีท่ีไปมาสะดวกส าหรับทั้งนกัเรียนและผูท่ี้มาติดต่อ เพราะการไปมาสะดวกจะช่วยใหส้ามารถบริการไดอ้ยา่งมีประสิทธิภาพ 3. การพจิารณาขอบข่ายของงาน ในการริเร่ิมบริการจดัวางตวับุคคลมีความจ าเป็นท่ีจะตอ้งพิจารณาท่ีจะใหบ้ริการดว้ย วา่จะใหบ้ริการอะไรไดบ้า้งมากนอ้ยแค่ไหน ในขณะเดียวกนังานบางดา้นท่ีจะตอ้งเก่ียวขอ้งกบัชุมชนก็ควรจะพิจารณาวา่จะไดรั้บความร่วมมือมากนอ้ยเพียงใด ส่ิงเหล่าน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อการพิจารณาขอบข่ายการปฏิบติังานอยา่งแทจ้ริง 4. การเตรียมแบบฟอร์ม ในการจดับริการจดัวางตวับุคคลนั้น มกัจะตอ้งมีเอกสารต่างๆ เช่น ทะเบียน แบบฟอร์มการสมคัรงาน แบบฟอร์มการติดต่อบุคลากรภายนอก เป็นตน้ kiston และ Newton เสนอแนะวา่ควรจะมีขอ้มูลต่างๆ ท่ีส ารวจการนกัเรียน เพื่อประโยชน์ในการจดัวางตวับุคคลดงัต่อไปน้ี 4 .1 ขอ้มูลทัว่ไปเก่ียวกบัเด็ก เช่น ช่ือสกุล ท่ีอยู ่โทรศพัท ์ส่วนสูง น ้าหนกั วนั เดือน ปีเกิด เป็นตน้

    4 .2 การศึกษาและการฝึกฝน เช่น เรียนวชิาอะไร สายการเรียนท่ีเลือกคืออะไรเคยฝึกฝนทางดา้นอาชีพอะไร 4 .3 บนัทึกเก่ียวกบัการท างาน เอกสารน้ีจะรวบรวมเร่ืองราวต่างๆเก่ียวกบัประสบการณ์ในการท างาน ขอ้มูลเหล่าน้ีจะเป็นขอ้มูลของบุคคลท่ีเคยไปท างานพิเศษมาแลว้ 4 .4 ขอ้มูลพิเศษ เช่น ผลจากการสัมภาษณ์ ผลของการทดสอบทางดา้นต่างๆ ของนกัเรียนซ่ึงจะเป็นประโยชน์กบัการใหบ้ริการ 4 .5 ขอ้มูลเก่ียวกบัการส่งต่อปัญหา การส่งคืนนกัเรียนท่ีไปท างาน ปฎิกริยาของนายจา้งต่อนกัเรียนหรือขอ้มูลบางประการเก่ียวกบัปัญหาท่ีเก่ียวขอ้งนกัเรียนต่อบุคคลอ่ืนๆ 5. การประชาสัมพนัธ์เร่ืองการจัดวางตัวบุคคล ผูท่ี้รับผดิชอบงานจดัวางตวับุคคลจะตอ้งมีการประชาสัมพนัธ์งานเพื่อจะไดรั้บความร่วมมือจากตวับุคคลท่ีเก่ียวขอ้ง ทั้งในโรงเรียนและนอกโรงเรียน ส าหรับบุคลากรในโรงเรียนนั้น ควรจะรวมถึงคณะครูเพราะครูทุกคนยอ่มจะมีส่วนเก่ียวขอ้งกบัการกบัการใชค้วามช่วยเหลือนกัเรียนทุกคน ดงันั้นถา้เขาเขา้ใจเร่ืองการจดัวางตวับุคคลเป็นอยา่งดี

    ปัญหาและข้อคิดในการจัดบริการวางตัวบุคคล 1. บริการจดัวางตวับุคคล ดงัไดก้ล่าวมาแลว้วา่ไม่ค่อยไดรั้บความสนใจอยา่งจริงจงั ทั้งๆท่ีโดยหลกัการและทฤษฎีแลว้ การจดัวางตวับุคคลนั้นเป็นท่ียอมรับวา่มีความส าคญัเป็นอยา่งยิง่ เพราะจะช่วยใหน้กัเรียนไดก้ระท ากิจกรรมต่างๆท่ีเหมาะสมกบัตนเอง ดงันั้นโรงเรียนทั้งหลายจะไดพ้ิจารณาวา่มีปัญหาอะไรท่ีท าใหไ้ม่สามารถจะจดับริการน้ีได ้แลว้พยายามแกไ้ขปัญหา

  • 2. ปัญหาของการจดับริการวางตวับุคคลประการหน่ึงก็คือสภาพของโรงเรียนมกัจะพบวา่ในบา้งโรงเรียนนั้นไม่มีความพร้อมในดา้นต่างๆ เช่น บุคลากร อุปกรณ์ท่ีจ าเป็น 3. สภาพของสังคมยอ่มมีอิทธิพลต่อการจดับริการจดัวางตวั�