674

แนวทางการปฏิบัติตาม 61... · 2018-11-02 · ในครัวเรือน l ค าแนะน าของคณะกรรมการสาธารณสุข

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

    แนวทางการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข

    พ.ศ. 2535

  • แนวทางการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535

    ผู้จัดท�า

    นายสมชาย ตู้แก้ว ผู้อ�านวยการศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข

    นางพรพรรณ ไม้สุพร นักวิชาการสาธารณสุขช�านาญการพิเศษ

    นางสาววิภา รุจิจนากุล นักวิชาการสาธารณสุขช�านาญการ

    นางสาวรัตนา เฒ่าอุดม นักวิชาการสาธารณสุข

    นางสาวลิลลี่ สุวามีน นักวิชาการสาธารณสุข

    ผู้ประสานงาน

    นางสาวรัตนา เฒ่าอุดม นักวิชาการสาธารณสุข

    ISBN : 978-616-11-2626-1

    พิมพ์ครั้งที่ 4 : สิงหาคม พ.ศ. 2558

    จ�านวนพิมพ์ : 3,500 เล่ม

    พิมพ์ที่ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ากัด

    เจ้าของและผู้พิมพ์โฆษณา

    ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

    โทรศัพท์ 0 2590 4175, 0 2590 4252

    0 2590 4223, 0 2590 4256

    โทรสาร 0 2591 8180

    http://laws.anamai.moph.go.th

  • กรมอนามยัได้จดัท�าหนงัสอื“แนวทางการปฏิบตัติามพระราชบัญญตักิารสาธารณสขุ

    พ.ศ.2535”พิมพ์ครั้งแรกพ.ศ.2552และพิมพ์ครั้งที่2พ.ศ.2553โดยมีวัตถุประสงค์ให้เป็น

    คูม่อืประจ�าส�านกังานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ซ่ึงเป็นหน่วยงานทีม่อี�านาจหน้าทีต่ามที่

    ก�าหนดไว้ในพระราชบัญญัติการสาธารณสุขพ.ศ.2535โดยได้รวบรวมเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับ

    การด�าเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อให้สะดวกต่อการศึกษาท�าความเข้าใจและ

    การน�าไปใช้เป็นแนวทางในการด�าเนินงาน

    และเพือ่ให้เน้ือหาภายในเล่มมคีวามเป็นปัจจบุนัมากขึน้กรมอนามยัโดยศูนย์บรหิาร

    กฎหมายสาธารณสขุจงึได้ท�าการปรบัปรงุและแก้ไขเนือ้หาบางส่วนและจดัพมิพ์“แนวทางการ

    ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุขพ.ศ.2535” เพื่อให้เพียงพอต่อการสนับสนุนการ

    ด�าเนินงานกลุ่มเป้าหมายซึ่งได้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นส�านักงานสาธารณสุขจังหวัด

    ส�านักงานสาธารณสุขอ�าเภอและผู้ที่สนใจ

    กรมอนามัย หวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อกลุ่มเป้าหมาย

    ทุกกลุ่มโดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุขพ.ศ.2535ให้มี

    ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

    ค�าน�า

    (ดร.นพ.พรเทพศิริวนารังสรรค์)

    อธิบดีกรมอนามัย

    กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการสาธารณสุข

  • สารบัญ หน้าส่วนที่ 1 แนวทางการยกร่างข้อก�าหนดของท้องถิ่นตามพระราชบัญญัติ 1 การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย 2 l ลักษณะกฎหมาย 2 l ที่มาของกฎหมาย 7

    บทที่ 2 หลักกฎหมาย และแนวความคิดพื้นฐานในการตราข้อก�าหนด 11 ของท้องถิ่น (1)การปกครองส่วนท้องถิ่น 11 (2)ความหมายและความส�าคัญของข้อก�าหนดของท้องถิ่น 12 (3)หลักกฎหมายในการตราข้อก�าหนดของท้องถิ่น 13 (4)ขั้นตอนการตราข้อก�าหนดของท้องถิ่น 13 (5)แนวความคิดพื้นฐานในการตราข้อก�าหนดของท้องถิ่น 17

    บทที่ 3 องค์ประกอบและโครงสร้างของข้อก�าหนดของท้องถิ่น 20 1. ชื่อ 20 2. บทน�า 21 3. บทนิยามศัพท์ 22 4. บทบังคับ 22 5. บทก�าหนดโทษ 26 6. บทเฉพาะกาล 27 7. บทท้าย 28 8. ส่วนแนบท้าย 28

  • หน้า บทที่ 4 บทบัญญัติตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 29 ที่ให้อ�านาจในการตราข้อก�าหนดของท้องถิ่น l หมวด3การจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย 29 l หมวด6การควบคุมการเลี้ยงหรือปล่อยสัตว์ 35 l หมวด7กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ 38 l หมวด8ตลาดสถานที่จ�าหน่ายอาหารและสถานที่สะสมอาหาร 100 l หมวด9การจ�าหน่ายสินค้าในที่หรือทางสาธารณะ 108 l หมวด11หนังสือรับรองการแจ้ง 115 l หมวด12ใบอนุญาต 118 l หมวด13ค่าธรรมเนียมและค่าปรับ 124

    ภาคผนวก ประกาศกระทรวง l ประกาศกระทรวงสาธารณสุขที่5/2538 132 เรื่องกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ l ประกาศกระทรวงสาธารณสุข 139 เรื่องก�าหนดให้แหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายเป็นเหตุร�าคาญ และแต่งตั้งเจ้าพนักงานสาธารณสุขเพิ่มเติม l ประกาศกระทรวงสาธารณสุขที่6/2538 142 เรื่องก�าหนดจ�านวนคนต่อจ�านวนพื้นที่ของอาคารที่พักอาศัย ที่ถือว่ามีคนอยู่มากเกินไป l ประกาศกระทรวงสาธารณสุขที่7/2538 143 เรื่องก�าหนดจ�านวนคนต่อจ�านวนพื้นที่ของอาคารที่พักของ คนงานก่อสร้างที่ถือว่ามีคนอยู่มากเกินไป l ประกาศกระทรวงสาธารณสุขที่8/2538 144 เรื่องก�าหนดจ�านวนคนต่อจ�านวนพื้นที่ของอาคารโรงงาน ที่ถือว่ามีคนอยู่มากเกินไป

  • หน้า ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุขด้านสุขลักษณะ ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุข ปี 2542 145 l ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุขฉบับที่2/2542 145 เรื่องการจัดเก็บค่าธรรมเนียมการแจ้งส�าหรับสถานที่จ�าหน่าย หรือสะสมอาหารที่มีขนาดพื้นที่ไม่เกิน200ตารางเมตรของ เทศบาลกรณีที่ใช้เทศบัญญัติเดิมตามบทเฉพาะกาลมาตรา90 l ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุขฉบับที่4/2542 147 เรื่องการควบคุมกิจการที่เกี่ยวกับการใช้สารโปตัสเซียมคลอเรท ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุข ปี 2543 151 l ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุขฉบับที่1/2543 151 เรื่องหลักเกณฑ์เงื่อนไขการจัดตั้งสถานประกอบกิจการ นวดทั่วไป l ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุขฉบับที่2/2543 153 เรื่องหลักเกณฑ์มาตรฐานการควบคุมกิจการการสักผิวหนัง การเจาะหูหรือเจาะอวัยวะอื่น

    ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุข ปี 2545 155 l ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุขฉบับที่1/2545 155 เรื่องการจัดการสิ่งปฏิกูลตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 l ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุขฉบับที่3/2545 157 เรื่องมาตรการป้องกันอันตรายต่อสุขภาพของคนงาน ในเรื่องอุปกรณ์ปกป้องทางเดินหายใจในสถานประกอบกิจการ ที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพประเภทกิจการที่เกี่ยวข้องกับฝ้าย

    ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุข ปี 2547 160 l ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุขฉบับที่1/2547 160 เรื่องการควบคุมการประกอบกิจการท่าเทียบเรือประมง สะพานปลาหรือแพปลา l ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุขฉบับที่3/2547 164 เรื่องการควบคุมการประกอบกิจการการระเบิดการโม่ การป่นหินด้วยเครื่องจักร l ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุขฉบับที่5/2547 174 เรื่องการควบคุมการประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ กิจการอาบอบนวดและกิจการเสริมสวยหรือแต่งผม

  • หน้า ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุข ปี 2548 178 l ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุขฉบับที่1/2548 178 เรื่องการควบคุมกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพประเภท กลุ่มบริการบันเทิง l ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุขฉบับที่2/2548 184 เรื่องข้อก�าหนดด้านสุขาภิบาลอาหารส�าหรับสถานที่สะสม อาหารประเภทร้านมินิมาร์ท l ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุขฉบับที่3/2548 187 เรื่องการควบคุมการประกอบกิจการการสีข้าวด้วยเครื่องจักร l ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุขฉบับที่4/2548 192 เรื่องการควบคุมการประกอบกิจการการผลิตการสะสม การขนส่งดอกไม้เพลิงหรือสารเคมีอันเป็นส่วนประกอบ ในการผลิตดอกไม้เพลิง l ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุขฉบับที่5/2548 194 เรื่องการควบคุมการประกอบกิจการการท�าขนมปังสด ขนมปังแห้งจันอับขนมเปี๊ยะ

    ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุข ปี 2549 197 l ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุขฉบับที่1/2549 197 เรื่องการควบคุมการประกอบกิจการผลิตเส้นหมี่ขนมจีน ก๋วยเตี๋ยวและกิจการอื่นที่คล้ายคลึงกัน l ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุขฉบับที่2/2549 203 เรื่องการควบคุมกิจการการฆ่าสัตว์ยกเว้นในสถานที่จ�าหน่าย อาหารการเร่ขายการขายในตลาดและการฆ่าเพื่อบริโภค ในครัวเรือน l ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุขฉบับที่3/2549 213 เรื่องการควบคุมกิจการเลี้ยงสุกร l ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุขฉบับที่4/2549 219 เรื่องข้อก�าหนดด้านสุขาภิบาลอาหารส�าหรับสถานที่ สะสมอาหารประเภทซุปเปอร์มาร์เก็ต l ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุขฉบับที่5/2549 227 เรื่องการควบคุมกิจการการสะสมวัตถุหรือสิ่งของที่ช�ารุด ใช้แล้วหรือเหลือใช้

  • หน้า l ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุขฉบับที่6/2549 233 เรื่องการควบคุมการประกอบกิจการการผลิตลูกชิ้นด้วย เครื่องจักร

    ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุข ปี 2550 240 l ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุขฉบับที่1/2550 240 เรื่องการควบคุมการประกอบกิจการสระว่ายน�้าหรือกิจการ อื่นๆในท�านองเดียวกัน

    ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุข ปี 2551 248 l ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุข 248 เรื่องแนวทางการควบคุมการประกอบกิจการให้บริการเลี้ยง และดูแลเด็กที่บ้านพ.ศ.2551

    ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุข ปี 2553 255 l ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุข 255 เรื่องหลักเกณฑ์และเงื่อนไขด้านสุขลักษณะส�าหรับ กิจการเลี้ยงไก่พ.ศ.2553 l ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุข 261 เรื่องแนวทางการควบคุมการประกอบกิจการ ตู้น�้าดื่มหยอดเหรียญพ.ศ.2553 l ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุข 263 เรื่องแนวทางการควบคุมการประกอบกิจการให้บริการดูแล ผู้สูงอายุที่บ้านพ.ศ.2553

    ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุข ปี 2558 271 l ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุข 271 เรื่องสุขลักษณะการจัดการมูลฝอยทั่วไปพ.ศ.2558 l ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุข 283 เรื่องการควบคุมการประกอบกิจการรับท�าการเก็บขน หรือก�าจัดมูลฝอยทั่วไปโดยท�าเป็นธุรกิจหรือโดยได้รับ ประโยชน์ตอบแทนด้วยการคิดค่าบริการพ.ศ.2558 l ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุข 292 เรื่องการควบคุมการประกอบกิจการการผลิตสะสม แบ่งบรรจุและค้าส่งน�้าแข็งพ.ศ.2558

  • หน้า l ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุข 301 เรื่องแนวทางในการรณรงค์ลดละเลิกการใช้ภาชนะโฟม (Polystyrene)บรรจุอาหารพ.ศ.2558

    ตัวอย่างแนวทาง (ร่าง) ข้อบัญญัติท้องถิ่น 303 ข้อบัญญัติหมวด 3 การจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย l การจัดการมูลฝอย 304 l การจัดการสิ่งปฏิกูล 314 l การจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย 325 l การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ 337 l การควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย 358

    ข้อบัญญัติหมวด 6 การควบคุมการเลี้ยงหรือปล่อยสัตว์ l การควบคุมการเลี้ยงหรือปล่อยสัตว์ 362

    ข้อบัญญัติหมวด 7 กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ l การควบคุมแบบรวมกิจการของกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ 366 l การควบคุมแบบแยกประเภทกิจการของกิจการที่เป็นอันตราย 377 ต่อสุขภาพ l กิจการให้บริการเลี้ยงและดูแลเด็กที่บ้าน 387

    ข้อบัญญัติหมวด 8 ตลาด สถานที่จ�าหน่ายอาหารและสถานที่สะสมอาหาร l กิจการตลาด 401 l สถานที่จ�าหน่ายอาหารและสถานที่สะสมอาหาร 415

    ข้อบัญญัติหมวด 9 การจ�าหน่ายสินค้าในที่หรือทางสาธารณะ l การจ�าหน่ายสินค้าในที่หรือทางสาธารณะ 423

    ส่วนที่ 2 การปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 435 เรื่อง การอนุญาต การออกค�าสั่ง และการยึด อายัด บทที่ 5 หลักเกณฑ์การพิจารณาออกใบอนุญาตและออกหนังสือรับรอง 436 การแจ้งตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 l บทบัญญัติที่ให้อ�านาจในการออกใบอนุญาตและ 436 หนังสือรับรองการแจ้ง l การออกใบอนุญาต 438

  • หน้า l การออกหนังสือรับรองการแจ้ง 444 l ตัวอย่างแบบฟอร์มและหนังสือประกอบการพิจารณา 449 ออกใบอนุญาตและหนังสือรับรองการแจ้งตามพระราชบัญญัติ การสาธารณสุขพ.ศ.2535

    บทที่ 6 กระบวนการออกค�าสั่งของเจ้าพนักงานตามพระราชบัญญัติ 469 การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 1. ความน�า 469 2. ค�านิยาม 470 3. หลักเกณฑ์การปฏิบัติที่ส�าคัญในการออกค�าสั่งของเจ้าพนักงาน 471 l ตัวอย่างแบบฟอร์มและหนังสือประกอบกระบวนการออกค�าสั่ง 491 ของเจ้าพนักงานตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุขพ.ศ.2535

    บทที่ 7 การยึด การอายัดสิ่งของตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข 517 พ.ศ. 2535 (1)ขอบเขตความหมาย 518 (2)การยึดการอายัด 518 (3)การถอนการยึดการถอนการอายัด 520 (4)ของกลาง 520 (5)วิธีขายทอดตลาด 522 l ตัวอย่างแบบฟอร์มและประกาศประกอบการด�าเนินการยึด 525 การอายัดสิ่งของตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุขพ.ศ.2535

    ภาคผนวก 535 ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุขที่เกี่ยวข้องกับการออกค�าสั่ง 536 การยึด การอายัด ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุข ปี 2542 536 l ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุขฉบับที่1/2542 536 เรื่องแบบการออกค�าสั่งของเจ้าพนักงานท้องถิ่นตาม พระราชบัญญัติการสาธารณสุขพ.ศ.2535

  • หน้า ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุข ปี 2543 538 l ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุขฉบับที่3/2543 538 เรื่องการขอต่ออายุใบอนุญาตตามมาตรา55และการปรับ ตามมาตรา65แห่งพระราชบัญญัติการสาธารณสุขพ.ศ.2535

    ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุข ปี 2545 541 l ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุขฉบับที่4/2545 541 เรื่องการควบคุมการจ�าหน่ายสินค้าในที่หรือทางสาธารณะ ตามหมวด9แห่งพระราชบัญญัติการสาธารณสุขพ.ศ.2535 ส�าหรับสถานที่ที่เป็นทางน�้าหรือทางหลวงหรือพื้นที่แหล่ง ท่องเที่ยวที่อยู่ในความดูแลของหน่วยราชการอื่น l ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุขฉบับที่5/2545 543 เรื่องแนวทางการปฏิบัติในการออกใบอนุญาตจ�าหน่ายสินค้า ในที่หรือทางสาธารณะตามมาตรา41แห่งพระราชบัญญัติ การสาธารณสุขพ.ศ.2535เพื่อความสอดคล้องกับมาตรา20 แห่งพระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบ เรียบร้อยของบ้านเมืองพ.ศ.2535

    ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุข ปี 2546 545 l ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุขฉบับที่1/2546 545 เรื่องการใช้มาตรการทางกฎหมายสาธารณสุขเพื่อสนับสนุน นโยบายของรัฐบาลและรัฐมนตรีในด้านการท่องเที่ยวและ ความปลอดภัยของอาหาร l ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุขฉบับที่2/2546 550 เรื่องการควบคุมกิจการรับท�าการก�าจัดมูลฝอยโดยท�าเป็นธุรกิจ หรือโดยได้รับประโยชน์ตอบแทนด้วยการคิดค่าบริการซึ่งได้ ท�าการเก็บขนมาจากเขตราชการส่วนท้องถิ่นอื่น

    ส่วนที่ 3 แนวทางการปฏิบัติในการเข้าไปด�าเนินการแทนผู้รับค�าสั่งตาม 553 พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 บทที่ 8 ความเป็นมาและความจ�าเป็นในการเข้าไปด�าเนินการแทน 554 ผู้รับค�าสั่ง

  • หน้า บทที่ 9 แนวทางการปฏิบัติในการเข้าไปด�าเนินการแทนผู้รับค�าสั่งตาม 556 พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 l ตัวอย่างแบบฟอร์มเอกสาร(ตัวอย่างที่1ถึง12) 563 ส่วนที่ 4 การเปรียบเทียบคดีตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 577 บทที่ 10 การเปรียบเทียบคดีตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข 578 พ.ศ. 2535 ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุขการเปรียบเทียบปรับและด�าเนินคดี 580 l ค�าแนะน�าของคณะกรรมการสาธารณสุขฉบับที่1/2544 580 เรื่องการเปรียบเทียบปรับและการด�าเนินคดี

    ส่วนที่ 5 แนวทางการปฏิบัติตามกฎหมายและการด�าเนินคดีทางศาลตาม 591 พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 บทที่ 11 แนวทางการปฏิบัติตามกฎหมายและการด�าเนินคดีทางศาล 592 ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 1.สภาพบังคับตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุขพ.ศ.2535 593 2.อ�านาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานท้องถิ่นและเจ้าพนักงาน 594 สาธารณสุขในการด�าเนินคดีอาญา 3. อ�านาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานท้องถิ่นและเจ้าพนักงานสาธารณสุข 601 ในการด�าเนินการทางปกครอง 4.อ�านาจของเจ้าพนักงานท้องถิ่นและเจ้าพนักงานสาธารณสุข 606 ในการปฏิบัติการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 5.ผลของการเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา 608

    ส่วนที่ 6 พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 611 Public Health Act, B.E. 2535 (A.D. 1992) 635 กฎหมายที่ออกตามความในพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 659

    บรรณานุกรม 660

  • แนวทางการยกร่างข้อก�าหนดของท้องถิ่นตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข

    พ.ศ. 2535

    ส่วนที่ 1

  • 2แนวทางการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535

    ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย

    วิชากฎหมายเป็นแขนงหนึ่งของสังคมศาสตร์(SocialScience)และไม่มีความเป็นเอกเทศต้องผสมผสานกับวิชาแขนงต่างๆ มากมาย เช่น รัฐศาสตร์ จิตวิทยา เศรษฐศาสตร์ตลอดจนวิทยาศาสตร์ด้านสิ่งแวดล้อมการแพทย์และอื่นๆทั้งนี้เพราะกฎหมายเป็นเครื่องมือและหลกัปฏบิัตทิีจ่ะท�าให้สงัคมมนุษย์ด�าเนนิไปโดยมรีะเบยีบเรยีบร้อยและปกติสขุการศกึษากฎหมายโดยโดดเดีย่วไม่ค�านงึถึงวชิาแขนงอืน่ย่อมเป็นไปไม่ได้โดยเฉพาะในสงัคมทีพ่ฒันาแล้วเต็มไปด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยดังนั้นการศึกษากฎหมายจึงต้องศึกษาวิชาต่างๆด้วยจิตใจอันกว้างขวางและเพียบพร้อมด้วยศีลธรรมรวมทั้งต้องเอาใจใส่และสนใจต่อการบ้านการเมืองทั้งภายในและภายนอกประเทศในทุกด้าน

    ลักษณะกฎหมาย โดยที่กฎหมายแบ่งออกเป็น2ลักษณะคือ (1) กฎหมายตามเนือ้ความหมายถงึกฎหมายซึง่บทบญัญตัมิลัีกษณะเป็นกฎหมายแท้ ได้แก่ ข้อบังคับของรัฐซึ่งก�าหนดความประพฤติของมนุษย์ ถ้าฝ่าฝืนจะได้รับผลร้ายหรือ ถูกลงโทษซึ่งแยกองค์ประกอบของกฎหมายตามเนื้อความได้ดังนี้ 1.1ต้องเป็นข้อบังคับคือต้องมีข้อความบงการให้กระท�าหรือให้งดเว้นกระท�าการอย่างใดอย่างหนึ่ง 1.2ต้องเป็นข้อบังคับของรัฐ มิใช่ของบุคคลหรือกลุ่มองค์กรใดๆ ซึ่ง “รัฐ” หมายถึงราษฎรที่ถูกรวบรวมอยู่ในอาณาเขตอันหนึ่งภายใต้อ�านาจอธิปไตยของตนเองฉะนั้นการจะเป็นรัฐได้จะต้องมีส่วนประกอบ3ประการคือ(1)ราษฎร(2)อาณาเขตและ(3)มีอ�านาจอธิปไตยของตนเองคือไม่ตกอยู่ใต้อ�านาจอธิปไตยของรัฐอื่น 1.3ข้อบงัคบัต้องเป็นการก�าหนดความประพฤติคอืเกีย่วกบัการเคลือ่นไหวของ ร่างกายหรือการงดเว้นเคลื่อนไหวร่างกายอย่างใดอย่างหนึ่งล�าพังแต่ความรู้สึกนึกคิดในจิตใจอย่างเดียวกฎหมายย่อมไม่เข้าไปเกี่ยวข้องและอันนี้เองที่ท�าให้กฎหมายแตกต่างกับข้อบังคับ ของศาสนาและศีลธรรมซึ่งเป็นข้อบังคับที่ก�าหนดจิตใจด้วยทั้งนี้มิได้หมายความว่ากฎหมายจะไม่ค�านึงถึงจิตใจเสียเลย เพราะการกระท�าเดียวกันแต่มีเจตนาในจิตใจแตกต่างกันก็อาจผิดกฎหมายโทษหนักเบาต่างกัน 1.4ข้อบงัคบัทีก่�าหนดต้องเป็นพฤติกรรมของมนษุย์เนือ่งจากกฎหมายบญัญติัไว้เพือ่ให้มนษุย์อยูร่่วมกนัด้วยความสงบสขุจงึใช้บังคบัมนษุย์เท่านัน้ถ้าสตัว์กระท�าให้มนษุย์ได้รับความเสียหายกฎหมายย่อมไม่ลงโทษสัตว์แต่อาจลงโทษมนุษย์ผู้เป็นเจ้าของสัตว์นั้นได้

    บทที่ 1

  • 3แนวทางการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535

    ส่วนท

    ี่ 1 แ

    นวทา

    งการ

    ยกร่า

    งข้อก

    �าหนด

    ของท

    ้องถิ่น

    ตา

    มพระ

    ราชบ

    ัญญ

    ัติการ

    สาธา

    รณสุข

    พ.ศ.

    253

    5

    1.5 ข้อบังคับนั้นถ้าฝ่าฝืนจะต้องได้รับผลร้ายหรือถูกลงโทษ ซึ่งเรียกว่าสภาพบังคับ (Sanction) ของกฎหมาย เช่น การลงโทษให้ช�าระค่าเสียหายในการฝ่าฝืนกฎหมายทางแพ่งหรือให้เสียค่าปรับหรือจ�าคุกในการฝ่าฝืนกฎหมายทางอาญาเป็นต้นซึ่งเป็นลักษณะประการหนึ่งที่ท�าให้กฎหมายแตกต่างจากศีลธรรมและศาสนา นอกจากกฎหมายตามเนื้อความซึ่งเป็นบทบัญญัติที่เป็นกฎหมายแท้แล้ว ยังมีข้อบังคับหรือระเบียบปฏิบัติที่คล้ายคลึงกับกฎหมายแต่มิใช่กฎหมายตามเนื้อความแต่อย่างใด กล่าวคือ ศาสนา คือ กฎ ข้อบังคับที่ศาสนาต่างๆ ได้ก�าหนดไว้เพ่ือให้มนุษย์ประพฤติ คุณงามความดีจงึเหมอืนกบักฎหมายในแง่ทีต่่างกเ็ป็นข้อก�าหนดเรือ่งความประพฤตขิองมนษุย์แต่ต่างกันตรงทีศ่าสนาเป็นข้อก�าหนดท่ีลงลึกถงึความคดิจิตใจและไม่มสีภาพบงัคบัทีช่ดัเจนหรือเอาจริงเอาจังเหมือนกฎหมาย ศีลธรรมคือความรู้สึกนึกคิดของมนุษย์ว่าการกระท�าอย่างไรเป็นการกระท�าที่ชอบการกระท�าอย่างไรเป็นการกระท�าท่ีผดิคล้ายคลงึกบักฎหมายคอืทัง้ศลีธรรมและกฎหมายต่างกก็�าหนดข้อบงัคบัแห่งความประพฤตด้ิวยกนัทีแ่ตกต่างกนัคอืกฎหมายเป็นข้อบงัคบัของรัฐแต่ศีลธรรมเกดิจากความรูส้กึภายในของมนษุย์กฎหมายเป็นข้อบงัคบัทีก่�าหนดความประพฤติภายนอกของมนษุย์ซึง่แสดงออกในรปูของการกระท�าเพยีงแต่คดิในใจกฎหมายยงัไม่เกีย่วข้องด้วยแต่ศีลธรรมนัน้เพยีงแต่คดิไม่ชอบกผ็ดิศลีธรรมแล้วทัง้นีเ้พราะศลีธรรมมีจดุหมายทีส่งูกว่ากฎหมาย คือ ต้องการให้มนุษย์พร้อมบริบูรณ์ไปด้วยความดีทั้งในทางร่างกายและจิตใจ แต่กฎหมายเพียงด�ารงไว้ซึ่งความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสังคมและถ้าฝ่าฝืนจะต้องได้รับผลร้ายหรือถูกลงโทษโดยรัฐเป็นผู้ก�าหนดสภาพบังคับ แต่ศีลธรรมนั้นมนุษย์จะปฏิบัติหรือไม่อยู่ที่ความรู้สึกนึกคิดเป็นคนๆ ไป ถ้าฝ่าฝืนย่อมมีผลกระทบทางจิตใจของผู้ฝ่าฝืนเองมากบ้าง น้อยบ้างแล้วแต่ความรู้สึกในศีลธรรมของแต่ละคน จารีตประเพณี คือ สิ่งท่ีมนุษย์ปฏิบัติต่อเนื่องกันมา จารีตประเพณีมุ่งถึงสิ่งภายนอกของมนุษย์เท่านั้นเช่นการแต่งตัววิธีการพูดวิธีติดต่อกับบุคคลอื่นรวมถึงวัฒนธรรมด้วยจารตีประเพณย่ีอมเป็นของเฉพาะตวัเพราะเกีย่วกบัว่าเป็นบคุคลชัน้ใดชัน้หนึง่อยูใ่นสงัคมใดสงัคมหนึง่ประกอบอาชีพใดอาชพีหนึง่ฯลฯและอาจแตกต่างกนัตามกาลเทศะจารีตประเพณีมีความประสงค์จะให้มนษุย์มกีารตดิต่อสมัพนัธ์กนัสะดวกและประณตียิง่ขึน้ข้อแตกต่างระหว่างจารีตประเพณีกับกฎหมายโดยสรุปก็คือจารีตประเพณีเป็นข้อบังคับของสังคมของราษฎรชั้นใดชั้นหนึ่งหรือของบุคคลในอาชีพใดอาชีพหนึ่ง แต่กฎหมายเป็นข้อบังคับของรัฐและจารีตประเพณปีกคลมุการด�ารงชวีติทัง้มวลของมนษุย์ส่วนกฎหมายควบคมุความประพฤติของมนษุย์เพียงบางประการ นอกจากน้ีสภาพบังคับก็แตกต่างกัน ถ้าท�าผิดจารีตประเพณีจะได้รับการติเตียนจากสังคมเท่านั้น

  • 4แนวทางการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535

    2) กฎหมายตามแบบพิธีหมายถึงกฎหมายที่ออกมาโดยวิธีบัญญัติกฎหมายทั้งนี้ไม่ต้องค�านึงว่ากฎหมายนัน้เข้าลกัษณะเป็นกฎหมายตามเนือ้ความหรอืไม่เช่นพระราชบัญญติังบประมาณประจ�าปีแม้ว่าจะเป็น “พระราชบัญญัติ” แต่ก็ไม่มีลักษณะเป็นกฎหมายตามเนื้อความแต่ประการใดเพราะไม่ใช่กฎข้อบังคับก�าหนดความประพฤติของบุคคลซึ่งผู้ใดฝ่าฝืนจะได้รับผลร้ายหรือถูกลงโทษกฎหมายตามแบบพิธีแบ่งออกเป็น7ประเภทคือ 2.1พระราชบัญญัติ 2.2พระราชก�าหนด 2.3พระราชกฤษฎีกา 2.4กฎกระทรวง 2.5เทศบัญญัติ 2.6ข้อบัญญัติจังหวัด 2.7ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนต�าบล

  • 5แนวทางการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535

    ส่วนท

    ี่ 1 แ

    นวทา

    งการ

    ยกร่า

    งข้อก

    �าหนด

    ของท

    ้องถิ่น

    ตา

    มพระ

    ราชบ

    ัญญ

    ัติการ

    สาธา

    รณสุข

    พ.ศ.

    253

    5

    รัฐธรรมนูญ

    พระราชบัญญัติ

    พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง/ประกาศกระทรวง

    ข้อก�าหนดของท้องถิ่น

    ข้อบัญญัติกทม./เมืองพัทยา เทศบัญญัติ ข้อบัญญัติจังหวัด ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนต�าบล

    พระราชก�าหนด

  • 6แนวทางการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535

    ลักษณะของกฎหมาย

    กฎหมายตามเนื้อความ

    ต้องเป็นข้อบังคับ

    ข้อบังคับของรัฐ

    ก�าหนดความประพฤติ

    ความประพฤติของมนุษย์

    มีสภาพบังคับ

    ศาสนา ศีลธรรม จารีตประเพณี

    กฎหมายตามแบบพิธี

    1.พระราชบัญญัติ

    2.พระราชก�าหนด

    3.พระราชกฤษฎีกา

    4.กฎกระทรวง

    5.เทศบัญญัติ

    6.ข้อบัญญัติจังหวัด

    7.ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนต�าบล

    ข้อบังคับ

    ที่คล้ายคลึงกับกฎหมาย

  • 7แนวทางการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535

    ส่วนท

    ี่ 1 แ

    นวทา

    งการ

    ยกร่า

    งข้อก

    �าหนด

    ของท

    ้องถิ่น

    ตา

    มพระ

    ราชบ

    ัญญ

    ัติการ

    สาธา

    รณสุข

    พ.ศ.

    253

    5

    ที่มาของกฎหมาย ที่มาของกฎหมายหมายถึง“กฎหมาย”ที่ศาลจะน�าไปใช้ปรับแก่คดีที่เกิดขึ้นที่มาของกฎหมายตามนัยดังกล่าวจึงแบ่งออกเป็น2ประการคือกฎหมายลายลักษณ์อักษรและกฎหมายจารีตประเพณี (1) กฎหมายลายลักษณ์อักษร กฎหมายที่รัฐได้ตราขึ้นไว้เป็นข้อบังคับก�าหนดความประพฤติของบุคคลและประกาศให้ราษฎรทราบ ส�าหรับประเทศไทยโดยปกติกฎหมายได้ประกาศให้ราษฎรทราบใน “ราชกิจจานุเบกษา” กฎหมายลายลักษณ์อักษรแยกออกเป็น3ประเภทคือ 1.1 กฎหมายอันแท้จริง ได้แก่ กฎหมายซึ่งตราขึ้นตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญได้แก่พระราชบัญญัติและพระราชก�าหนดถ้าตราขึ้นโดยมีข้อความขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญบทบัญญัตินั้นเป็นอันใช้บังคับไม่ได้ 1.2 ข้อบังคับซึ่งฝ่ายบริหารเป็นผู้ออก โดยอาศัยอ�านาจแห่งกฎหมาย ได้แก่พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง และค�าสั่งหรือข้อบังคับที่ออกตามกฎอัยการศึกซ่ึงบัญญัติได้เฉพาะในขอบเขตแห่งพระราชบัญญัติหรือพระราชก�าหนดหรือกฎอัยการศึกแล้วแต่กรณี 1.3 ข้อบงัคบัทีอ่งค์การปกครองตนเองเป็นผู้ออกโดยอาศยัอ�านาจแห่งกฎหมายนัน้ได้แก่เทศบญัญตัิข้อบญัญตักิรงุเทพมหานครข้อบญัญติัเมอืงพัทยาข้อบญัญติัจังหวดัและข้อบญัญัตอิงค์การบรหิารส่วนต�าบลซึง่เป็นกฎหมายทีใ่ช้บงัคบัเฉพาะท้องถิน่ทีย่กฐานะให้เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและจะออกเกินกว่าที่กฎหมายให้อ�านาจไว้ไม่ได้ พระราชบัญญัติ คือ กฎหมายซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้น โดยค�าแนะน�าและยินยอมของรัฐสภา พระราชก�าหนด คือ กฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราตามค�าแนะน�าของคณะรฐัมนตรีแบ่งออกเป็น2ประเภทคอื(1)พระราชก�าหนดท่ัวๆไปซ่ึงมเีง่ือนไขว่าต้องเป็นกรณฉุีกเฉินจ�าเป็นรีบด่วนเพื่อรักษาความปลอดภัยของประเทศหรือความปลอดภัยสาธารณะหรือความมั่นคงทางเศรษฐกิจหรือป้องปัดภัยพิบัติสาธารณะและไม่อาจเรียกประชุมรัฐสภาได้ทันท่วงที (2) พระราชก�าหนดเกี่ยวกับภาษีอากรหรือเงินตรา ซึ่งมีเงื่อนไขว่าอยู่ในระหว่างสมัยประชุม แต่มีความจ�าเป็นต้องได้รับพิจารณาโดยด่วนและลับเพื่อรักษาผลประโยชน์ของแผ่นดิน พระราชกฤษฎีกา คือ กฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราข้ึน โดยค�าแนะน�าของคณะรัฐมนตรีออกตามรัฐธรรมนูญพระราชบัญญัติ หรือพระราชก�าหนดที่มีบทบัญญัติมอบให้ฝ่ายบริหารคือคณะรัฐมนตรีถวายค�าแนะน�าพระมหากษัตริย์ให้ทรงตราพระราชกฤษฎีกาก�าหนดรายละเอียด เพ่ือด�าเนินการให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญพระราชบัญญัติหรือพระราช ก�าหนดนั้นๆแล้วแต่กรณี

  • 8แนวทางการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535

    กฎกระทรวงคือกฎหมายซึ่งรัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติหรือพระราชก�าหนดได้ออกเพื่อด�าเนินการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติหรือพระราชก�าหนดนั้นๆ ประกาศกระทรวง คือ กฎหมายซึ่งรัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติหรือ พระราชก�าหนดได้ออกเพือ่ด�าเนนิการให้เป็นไปตามพระราชบญัญติัหรือพระราชก�าหนดนัน้ๆโดยมีขั้นตอนการพิจารณาแตกต่างจากกฎกระทรวง เทศบัญญัติคือกฎหมายซึ่งเทศบาลออกใช้ในเขตเทศบาลหมายรวมถึงข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครและข้อบัญญัติเมืองพัทยาด้วย ข้อบัญญัติจังหวัดคือกฎหมายซึ่งองค์การบริหารส่วนจังหวัดออกใช้ในเขตจังหวัดนอกเขตเทศบาลและเขตองค์การบริหารส่วนต�าบล ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนต�าบล คือ กฎหมายซ่ึงองค์การบริหารส่วนต�าบล ออกใช้ในเขตองค์การบริหารส่วนต�าบล (2) กฎหมายจารีตประเพณี เป็นกฎหมายท่ีมิได้เป็นลายลักษณ์อักษร แต่เป็นกฎหมายที่ราษฎรรู้สึกกันท่ัวไปว่าเป็นกฎหมายและรัฐได้ใช้บังคับเช่นว่านี้เสมือนกฎหมายในรูปลักษณ์เดยีวกนัตลอดมาและไม่มกีฎหมายลายลกัษณ์อกัษรทีบ่ญัญตัภิายหลงับญัญตัแิย้งหรือขัดกับกฎหมายจารีตประเพณีเช่นว่านั้น ยกตัวอย่างเช่น การชกมวยบนเวทีราชด�าเนิน ถ้านักมวยชกมวยภายใต้กตกิาการชกมวยแม้จะท�าให้คู่ต่อสูบ้าดเจบ็หรอืถึงแก่ความตายกไ็ม่มีใครรูส้กึว่านกัมวยมคีวามผดิฐานท�าร้ายร่างกายหรือฐานฆ่าคนตายนอกจากนีก้รณทีีแ่พทย์ตัดแขนตดัขาคนไข้โดยความยนิยอมของคนไข้ย่อมไม่มคีวามรู้สึกว่าแพทย์ท�าผิดฐานท�าร้ายร่างกายจนได้รับอันตรายสาหัส ทั้งที่มิได้มีกฎหมายใดอนุญาตให้นักมวยหรือแพทย์ท�าได้ จึงอธิบายได้ว่าการที่กระท�าเช่นนี้ไม่เป็นความผิดอาญาเพราะกฎหมายจารีตประเพณีอนุญาตให้ท�าได้

  • 9แนวทางการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535

    ส่วนท

    ี่ 1 แ

    นวทา

    งการ

    ยกร่า

    งข้อก

    �าหนด

    ของท

    ้องถิ่น

    ตา

    มพระ

    ราชบ

    ัญญ

    ัติการ

    สาธา

    รณสุข

    พ.ศ.

    253

    5

    ขั้นตอนการบัญญัติหรืออกกฎหมายแต่ละประเภทเป็น ดังนี้

    ประเภทผู้เสนอ ผู้พิจารณา ผู้ตรา ผู้อนุมัติ

    วิธีการ

    ประกาศใช้

    1.พระราชบัญญัติ

    2.พระราชก�าหนด

    3.พระราชกฤษฎีกา

    4.กฎกระทรวง

    5.ประกาศกระทรวง

    6.เทศบัญญัติ

    7.ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร

    8.ข้อบัญญัติจังหวัด

    9.ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนต�าบล

    -คณะรัฐมนตรี- สมาชิกสภาผู้แทน (ร่างที่เกี่ยวกับการเงินต้องได้รับค�ารับรองจากนายกรัฐมนตรี)-รัฐมนตรีที่รักษาการ

    - รัฐมนตรีที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องหรือที่รักษาการฯ-รัฐมนตรีที่รักษาการฯ

    -รัฐมนตรีที่รักษาการฯ

    -คณะเทศบาล-สมาชิกสภาเทศบาล

    -ผู้ว่ากทม.-สมาชิกสภากทม.-นายกอบจ.-สมาชิกสภาอบจ.-นายกอบต.-สมาชิกสภาอบต.

    รัฐสภา(สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา)

    -คณะรัฐมนตรี

    -คณะรัฐมนตรี

    -รัฐมนตรีที่รักษาการฯ

    -รัฐมนตรีที่รักษาการฯ

    -สภาเทศบาล

    สภากรุงเทพมหานคร

    สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดสภาองค์การบริหารส่วนต�าบล

    -พระมหากษัตริย์

    -พระมหากษัตริย์

    -พระมหากษัตริย์

    -รัฐมนตรีที่รักษาการฯ

    -รัฐมนตรีที่รักษาการฯ

    -นายกเทศมนตรี

    -ผู้ว่ากทม.-ประธานสภากทม.นายกอบจ.

    นายกอบต.

    -

    -เมื่อเปิดสภาต้องขออนุมัติต่อรัฐสภาโดยไม่ชักช้า-กรณีที่เกี่ยวกับภาษีอากรต้องเสนอต่อรัฐสภาภายใน30วันหลังประกาศ

    -

    -

    -

    -ผู้ว่าราชการจังหวัด- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

    ผู้ว่าราชการจังหวัดนายอ�าเภอให้ความเห็นชอบ

    -ประกาศในราชกิจจา-นุเบกษา

    -ประกาศในราชกิจจา-นุเบกษา

    -ประกาศในราชกิจจา-นุเบกษา-ประกาศในราชกิจจา-นุเบกษา-ประกาศในราชกิจจา-นุเบกษา- ประกาศ7วัน- ฉุกเฉินได้ทันที

    -ประกาศในราชกิจจา-นุเบกษา-ประกาศ15วัน-ประกาศในราชกิจจา-นุเบกษา

    ขั้นตอนการบัญญัติ

  • 10แนวทางการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535

    ที่มาของกฎหมาย

    กฎหมายลายลักษณ์อักษร

    พระราชบัญญัติ

    พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวงประกาศกระทรวง

    ค�าสั่ง/ข้อบังคับตามกฎอัยการศึก

    เทศบัญญัติข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครข้อบัญญัติจังหวัดข้อบัญญัติเมืองพัทยาข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนต�าบล

    พระราชก�าหนด

    กฎหมายอันแท้จริง ข้อบังคับซึ่งฝ่ายบริหารออกโดยอ�านาจแห่งกฎหมาย

    ข้อบังคับซึ่งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นออกโดยอ�านาจแห่งกฎหมาย

    กฎหมายจารีตประเพณี

    แผนภูมิแสดงที่มาของกฎหมาย

  • 11แนวทางการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535

    ส่วนท

    ี่ 1 แ

    นวทา

    งการ

    ยกร่า

    งข้อก

    �าหนด

    ของท

    ้องถิ่น

    ตา

    มพระ

    ราชบ

    ัญญ

    ัติการ

    สาธา

    รณสุข

    พ.ศ.

    253

    5หลักกฎหมาย และแนวความคิดพื้นฐาน

    ในการตราข้อก�าหนดของท้องถิ่น

    (1) การปกครองส่วนท้องถิ่น แนวความคิดพื้นฐานของการปกครองส่วนท้องถิ่น 1.เป็นระบบการกระจายอ�านาจจาก“ส่วนกลาง”สู่ส่วนท้องถิ่น 2.เพือ่ให้บริการสาธารณะทัว่ถึงตรงกบัความต้องการของประชาชนและเหมาะสม 3.เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมและเรียนรู้ระบอบประชาธิปไตย 4.“ส่วนกลาง”ต้อง“ไม่มี”อ�านาจเหนือส่วนท้องถิ่น 5.“ส่วนท้องถิ่น”ต้อง“มีอิสระ”ในการตัดสินใจหรือพัฒนาตนเองได้ หลักการของพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 1.คุ้มครองสุขภาพของประชาชนไม่ให้ได้รับผลจากปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ 2.กระจายอ�านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3.ให้มเีจ้าพนกังานสาธารณสขุท�าหน้าทีใ่นการตรวจตราแนะน�าและเป็นท่ีปรึกษาด้านวิชาการแก่เจ้าพนักงานท้องถิ่น 4.ให้มีคณะกรรมการสาธารณสุขก�ากับดูแลให้การสนับสนุน 5.ให้สิทธิแก่ประชาชนยื่นอุทธรณ์ได้ ดังนั้น การปกครองส่วนท้องถิ่น จึงเป็นกระบวนการของการกระจายอ�านาจของรัฐจากส่วนกลางไปสู่ประชาชนในระดับพื้นท่ี เพื่อให้ประชาชนในส่วนท้องถิ่นนั้นได้มีส่วนร่วมในการบรหิารจดัการเพือ่การพฒันาเศรษฐกิจท้องถิน่และระบบสาธารณปูโภคและสาธารณปูการตลอดท้ังโครงสร้างพืน้ฐานสารสนเทศในท้องถ่ินตามเจตนารมณ์ของประชาชนแห่งท้องถิน่นัน้ “ราชการส่วนท้องถิน่”หรอื“องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่”จงึเป็นหน่วยการปกครองตนเองของประชาชนทีก่ฎหมายได้จดัตัง้ขึน้เพือ่รองรับการกระจายอ�านาจของรัฐส่วนกลางตามระบบการปกครองในระบอบประชาธปิไตยกล่าวคอืท้องถิน่ใดทีม่คีณุสมบติัหรือมศีกัยภาพตามที่กฎหมายก�าหนด(เช่นมีจ�านวนประชากรและรายได้ตามเกณฑ์ที่ก�าหนดเป็นต้น)ก็สามารถจดัตัง้เป็นราชการส่วนท้องถ่ินซึง่จะมอี�านาจในการบรหิารจดัการปกครองตนเองของประชาชนโดยอยู่ภายใต้การก�ากับดูแลและสนับสนุนของรัฐบาลส่วนกลางและส่วนภูมิภาคเท่าที่จ�าเป็น ภายใต้อ�านาจบริหารของราชการส่วนท้องถ่ินที่มีอ�านาจในการปกครองตนเอง ราชการส่วนท้องถิ่นจึงมีอ�านาจในการตราข้อบัญญัติ กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ มาบังคับใช้ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของตนเองได้ภายใต้ขอบเขตของกฎหมายที่ให้อ�านาจไว้ ซ่ึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับนั้นเรียกว่า“ข้อก�าหนดของท้องถิ่น”หรือ“ข้อบัญญัติท้องถิ่น”

    บทที่ 2

  • 12แนวทางการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535

    (2) ความหมายและความส�าคัญของข้อก�าหนดของท้องถิ่น “ข้อก�าหนดของท้องถิ่น” หมายถึง ข้อบังคับหรือกฎหมายที่องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นหรือราชการส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ตราข้ึน โดยอาศัยอ�านาจแห่งกฎหมายแม่บท ได้แก่ พระราชบัญญัติ พระราชก�าหนด แล้วแต่กรณี ทั้งนี้ ต้องตราข้ึนตามกระบวนการที่กฎหมายก�าหนดไว้ด้วย กล่าวคือ ต้องตราโดยสภาท้องถิ่นซึ่งเป็นองค์กรที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชน จึงเป็นองค์กรท่ีจะสะท้อนความต้องการของประชาชนในการตรากฎหมายของ ท้องถิ่นนั้น ค�าว่า“ข้อก�าหนดของท้องถิน่”เป็นค�าท่ัวๆไปท่ีใช้เรียกกฎหมายท่ีออกโดยราชการส่วนท้องถิน่ต่างๆตามอ�านาจหน้าท่ีท่ีกฎหมายของรฐัให้ไว้ซ่ึงถ้าเป็นค�าทีใ่ช้เฉพาะจะเรยีกแตกต่างกันไปตามที่กฎหมายซึ่งจัดตั้งราชการส่วนท้องถิ่นนั้นๆบัญญัติไว้ดังนี้ “เทศบัญญัติ” ส�าหรับเขตเทศบาล “ข้อบัญญัติจังหวัด” ส�าหรับเขตองค์การบริหารส่วนจังหวัด “ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนต�าบล” ส�าหรับเขตองค์การบริหารส่วนต�าบล “ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร” ส�าหรับเขตกรุงเทพมหานคร “ข้อบัญญัติเมืองพัทยา” ส�าหรับเขตเมืองพัทยา “ข้อก�าหนดของท้องถิ่นชื่ออื่นๆ” ส�าหรบัเขตองค์การปกครองท้องถิน่อืน่ที่ กฎหมายก�าหนดให้เป็นราชการส่วนท้องถิน่ โดยทั่วไปกฎหมายมักจะบัญญัติให้ราชการส่วนท้องถิ่นออกข้อก�าหนดของท้องถิ่น เก่ียวกับรายละเอียดในทางปฏิบัติมากขึ้น และเมื่อข้อก�าหนดของท้องถิ่นได้ผ่านขั้นตอนการประกาศใช้ตามท่ีกฎหมายก�าหนดไว้แล้วก็จะมีผลใช้บังคับในเขตราชการส่วนท้องถิ่นนั้นๆ ซึ่งบคุคลใดกต็ามในเขตท้องถิน่นัน้ทีฝ่่าฝืนข้อก�าหนดของท้องถิน่จะมีความผิดและอาจได้รบัโทษตามทีก่ฎหมายก�าหนดไว้ทัง้นี้เพราะข้อก�าหนดของท้องถิน่เป็นกฎกติกาของท้องถิน่ซ่ึงประชาชนในเขตท้องถ่ินนัน้ๆต้องปฏบัิตติามและหากว่าราชการส่วนท้องถ่ินไม่ตราข้อก�าหนดของท้องถิน่มาบงัคับใช้บทบญัญตัแิม่บททีใ่ห้อ�านาจแก่ราชการส่วนท้องถิน่ในส่วนนัน้กจ็ะไม่มผีลบงัคบัตามหลักกฎหมายที่ว่า“ไม่มีกฎหมายไม่มีความผิดและไม่มีโทษ” ดังนั้น ราชการส่วนท้องถิ่นท่ีกฎหมายมีบทบัญญัติให้อ�านาจในการตราข้อก�าหนดของท้องถิ่นในเรื่องใดจึงจ�าเป็นต้องตราข้อก�าหนดของท้องถิ่นในเรื่องนั้นตามที่กฎหมายได้ให้อ�านาจไว้ เพื่อให้กฎหมายแม่บทได้มีผลใช้บังคับสมดังเจตนารมณ์ที่รัฐสภาได้กระจายอ�านาจให้แก่ราชการส่วนท้องถิน่เพือ่ประโยชน์ในการคุม้ครองประชาชนในเขตท้องถิน่นัน้ตามสภาพปัญหาที่สอดคล้องกับลักษณะเฉพาะของแต่ละท้องถิ่น

    RadarmanHighlight

  • 13แนวทางการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535

    ส่วนท

    ี่ 1 แ

    นวทา

    งการ

    ยกร่า

    งข้อก

    �าหนด

    ของท

    ้องถิ่น

    ตา

    มพระ

    ราชบ

    ัญญ

    ัติการ

    สาธา

    รณสุข

    พ.ศ.

    253

    5

    (3) หลักกฎหมายในการตราข้อก�าหนดของท้องถิ่น การตราข้อก�าหนดของท้องถิ่นราชการส่วนท้องถิ่นต้องยึดหลักการแห่งกฎหมาย 4ประการดังนี้ 3.1) ต้องมีบทบัญญัติแห่งกฎหมายให้อ�านาจไว้อย่างชัดเจนหมายความว่าต้องมีบทกฎหมายที่มีล�าดับที่สูงกว่ากฎหมายระดับท้องถิ่นบัญญัติให้อ�านาจไว้ไม่ว่าจะเป็นพระราชบัญญัติท่ีจัดตั้งราชการส่วนท้องถิ่นนั้น หรือพระราชบัญญัติอ่ืนๆ ที่ให้อ�านาจแก่ราชการส่วนท้องถิ่นออกข้อก�าหนดของท้องถิ่นเช่นพระราชบัญญัติการสาธารณสุขพ.ศ.2535มาตรา35บญัญตัว่ิา“เพือ่ประโยชน์ในการควบคมุก�ากบักจิการตลาดให้ราชการส่วนท้องถ่ินมอี�านาจออกข้อก�าหนดของท้องถิ่นดังต่อไปนี้…”เป็นต้น 3.2) ต้องตราข้อก�าหนดของท้องถิ่นตามกรอบแห่งบทบัญญัติของกฎหมายที่ให้อ�านาจนัน้หมายความว่าจะออกข้อก�าหนดของท้องถิน่เกนิกว่าทีบ่ทบญัญติัแม่บทให้อ�านาจไว้มิได้ เช่นกฎหมายก�าหนดให้ออกข้อก�าหนดของท้องถิ่นว่าด้วยอัตราค่าธรรมเนียมต้องไมเ่กินกว่ากฎกระทรวงดงันีร้าชการส่วนท้องถ่ินจะตราข้อก�าหนดของท้องถิน่ก�าหนดอตัราค่าธรรมเนยีม โดยไม่รอให้กฎกระทรวงออกก่อนไม่ได้ และจะก�าหนดอัตราค่าธรรมเนียมที่เกินกว่าอัตรา ค่าธรรมเนียมในกฎกระทรวงก็ไม่ได้ หากกระท�าลงไปข้อก�าหนดของท้องถ่ินฉบับนั้นก็ไม่มีผลใช้บังคับเนื่องจากขัดแย้งกับกฎหมายแม่บทเป็นต้น 3.3) ต้องตราข้อก�าหนดของท้องถิ่นตามขั้นตอนและกระบวนการตามที่กฎหมายก�าหนดหมายความว่าจะด�าเนินการตราข้อก�าหนดของท้องถิ่นโดยลัดขั้นตอนหรือละเลยต่อกระบวนการที่กฎหมายก�าหนดไว้มิได้เช่นการตราข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนต�าบลต้องผ่านความเห็นชอบของสภาองค์การบริหารส่วนต�าบลและนายอ�าเภอ จะไม่ผ่านนายอ�าเภอแล้วประกาศใช้ข้อก�าหนดของท้องถิ่นนั้นก็จะไม่มีผลใช้บังคับเป็นต้น 3.4) ต้องยึดหลักการที่ว่า“ไม่มีกฎหมาย ไม่มีโทษ ไม่มีความผิด”หมายความว่า กรณีที่กฎหมายให้อ�านาจแก่ราชการส่วนท้องถิ่นออกข้อก�าหนดของท้องถิ่นในเรื่องใด หากราชการส่วนท้องถิน่นัน้ยงัไม่ตราข้อก�าหนดของท้องถิน่ในเรือ่งนัน้ๆในเขตราชการส่วนท้องถ่ินนัน้ย่อมไม่มบีทบัญญตัทิีจ่ะบงัคบัในเรือ่งนัน้ในเขตท้องถิน่นัน้หมายความว่าประชาชนย่อมไม่มีความผิดในฐานฝ่าฝืนข้อก�าหนดของท้องถิ่นในเรื่องนั้นๆ

    (4) ขั้นตอนการตราข้อก�าหนดของท้องถิ่น ขัน้ตอนในการตราข้อก�าหนดของท้องถิน่ตามกฎหมายอาจแบ่งออกเป็น4ขัน้ตอนคอื 4.1) ขั้นตอนการเสนอร่าง โดยท่ีระบบของการบริหารจดัการของราชการส่วนท้องถิน่จะมคีณะกรรมการบรหิารเป็นส่วนที่บริหารจัดการให้ภารกิจของราชการส่วนท้องถิ่นบรรลุผลต่อประชาชนในท้องถิ่น กฎหมายจึงก�าหนดให้คณะกรรมการบริหารท้องถิ่นมีอ�านาจในการเสนอร่างข้อก�าหนดของ ท้องถิ่นได้

    RadarmanHighlight

    RadarmanHighlight

    RadarmanHighlight

    RadarmanHighlight

    RadarmanHighlight

    RadarmanHighlight

    RadarmanHighlight

    RadarmanHighlight

    RadarmanHighlight

    RadarmanHighlight

    RadarmanHighlight

    RadarmanHighlight

  • 14แนวทางการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535

    ขณะเดยีวกนัสมาชกิสภาท้องถ่ินซึง่เป็นผูแ้ทนของประชาชนมาจากการเลือกต้ังของ ประชาชนซึ่งมีบทบาทในการรักษาผลประโยชน์ของประชาชนกฎหมายจึงก�าหนดให้มีอ�านาจในการเสนอร่างข้อก�าหนดของท้องถิ่นนั้นได้ นอกจากนี้ ประชาชนยังอาจมีสิทธิที่จะเสนอ“ร่างข้อก�าหนดของท้องถิ่น” ได้ด้วยตามเงื่อนไขที่ก�าหนดในรัฐธรรมนูญ 4.2) ขั้นตอนการพิจารณา ในการพจิารณาร่างข้อก�าหนดของท้องถิน่กฎหมายได้ก�าหนดให้เป็นอ�านาจของฝ่ายสภาท้องถ่ินที่จะพิจารณาเพราะโดยหลักการแล้ว “ประชาชนเท่านั้นท่ีจะมีอ�านาจในการตรากฎหมายเพือ่มาใช้บังคบัประชาชนเอง”ทัง้นีเ้พราะสมาชกิของสภาท้องถิน่เป็นผูแ้ทนทีม่าจากการเลอืกตัง้ของประชาชนในเขตพื�