56
1 แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย) อาจารย วราพัฒน วิระยะวานิช เรื่อง Introduction to musculoskeletal radiology (Extremities) รังสีวิทยาระบบโครงสรางและกลามเนื้อบริเวณรยางค สําหรับ นักศึกษาแพทยปที5 ระยะเวลา 60 นาที อาจารยผูสอน อาจารย วราพัฒน วิระยะวานิช ภาควิชารังสีวิทยา คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี โทรศัพท 02-2012466 ชื่อรายวิชา ออรโธปดิกสและเวชศาสตรฟนฟู 1 รหัสวิชา RAID 514 กิจกรรมการเรียนการสอน การบรรยายใหสัมพันธกับทางคลินิค (Lecture based case) ความรูพื้นฐาน ความรูพื้นฐานเรื่องกายวิภาคและพยาธิวิทยากายวิภาคของระบบโครงสรางกระดูกและกลามเนื้อ (Musculoskeletal system) บริเวณรยางค วัตถุประสงคการเรียนรู เมื่อผานการเรียนรู นักศึกษาแพทยสามารถ 1. สามารถระบุสั่งตรวจเอ็กซเรยดวยภาพรังสีพื้นฐาน (plain film) ที่จําเปนและเหมาะสม ตามขอมูลทางคลินิคและ ลักษณะพยาธิสภาพของผูปวยสําหรับ upper and lower extremities ได 2. บรรยายเงาภาพปกติของภาพรังสี (plain film) ของ shoulder, elbow, wrist, hip, knee และ ankle ได 3. ตรวจพบ จําแนก และบรรยายลักษณะเงาภาพที่ผิดปกติ ที่เห็นไดจําภาพรังสี ดังตอไปนี3.1 ภาวะบาดเจ็บ (Trauma) Upper and lower extremities 3.1.1 กระดูกหัก (Fractures) : Proximal humerus fracture : Supracondylar fracture : Colles/ Smith fractures/ Scaphoid fracture : Proximal femur fractures/ Tibial plateau fractures/ Ankle fractures

แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

  • Upload
    others

  • View
    7

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

1

แผนการสอน (สําหรับนกัศึกษาแพทย)

อาจารย วราพัฒน วิระยะวานิช

เร่ือง Introduction to musculoskeletal radiology (Extremities)

รังสีวิทยาระบบโครงสรางและกลามเน้ือบริเวณรยางค

สําหรับ นักศึกษาแพทยปท่ี 5

ระยะเวลา 60 นาที

อาจารยผูสอน อาจารย วราพัฒน วิระยะวานิช

ภาควิชารังสีวิทยา คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบด ี

โทรศัพท 02-2012466

ชื่อรายวิชา ออรโธปดิกสและเวชศาสตรฟนฟู 1 รหัสวิชา RAID 514

กิจกรรมการเรียนการสอน การบรรยายใหสัมพันธกับทางคลนิิค (Lecture based case)

ความรูพ้ืนฐาน ความรูพ้ืนฐานเรื่องกายวิภาคและพยาธิวิทยากายวิภาคของระบบโครงสรางกระดูกและกลามเน้ือ

(Musculoskeletal system) บริเวณรยางค

วัตถุประสงคการเรียนรู เมื่อผานการเรยีนรู นักศึกษาแพทยสามารถ

1. สามารถระบุสั่งตรวจเอ็กซเรยดวยภาพรังสีพ้ืนฐาน (plain film) ท่ีจําเปนและเหมาะสม ตามขอมลูทางคลินิคและ

ลักษณะพยาธิสภาพของผูปวยสําหรับ upper and lower extremities ได

2. บรรยายเงาภาพปกติของภาพรงัสี (plain film) ของ shoulder, elbow, wrist, hip, knee และ ankle ได

3. ตรวจพบ จําแนก และบรรยายลักษณะเงาภาพท่ีผดิปกติ ท่ีเห็นไดจําภาพรังสี ดังตอไปน้ี

3.1 ภาวะบาดเจ็บ (Trauma) – Upper and lower extremities

3.1.1 กระดูกหัก (Fractures)

: Proximal humerus fracture

: Supracondylar fracture

: Colles/ Smith fractures/ Scaphoid fracture

: Proximal femur fractures/ Tibial plateau fractures/ Ankle fractures

Page 2: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

2

3.1.2 ขอเคลื่อน (Dislocation): shoulder dislocation, hip dislocation, knee

dislocation

3.1.3 บอกแนวทางการวินิจฉัย Complication ท่ีพบบอย

3.2 ภาวะเน้ืองอกกระดูก (Bone tumor)

3.2.1 ระบุความผิดปกติจากภาพรังสี ไดแก

: Bone destruction

: Periosteal response

: Tumor matrix

3.2.2 บอกแนวทางการวินิจฉัยแยกภาวะตอไปน้ี

: Benign or malignant bone tumor

: Primary bone tumor or metastatic disease

3.3 ภาวะตดิเช้ือของกระดูก (Osteomyelitis)

3.3.1 ระบุความผิดปกติจากภาพรังสี ไดแก

: Bone destruction

: Periosteal response

3.3.2 บอกการเปลีย่นแปลงของภาพรังสท่ีีเกิดจากภาวะตอไปน้ี

: Hematogenous osteomyelitis

: Subacute and Chronic osteomyelitis

3.4 โรคขอท่ีพบบอย: อธิบายการเปลีย่นแปลงของภาพรังสีท่ีเกิดจากภาวะตอไปน้ี

3.4.1 ขอเสื่อม (Osteoarthritis-OA)

3.4.2 Crystal deposition disease / Gouty arthritis

4. ตระหนักถึงความสําคัญในการนําความรูพ้ืนฐานทางกายวิภาค (anatomy) พยาธิกําเนิด (pathophysiology) และ

อาการทางคลินิคท่ีจําเปนมาใชในการวินิจฉัยโรค

การจัดประสบการณความรู

1. กอนเขาช้ันเรียน นักศึกษาควรทบทวนความรูพ้ืนฐานจากหนังสือ Moore KL, Delly A. 2005 Clinically Oriented

Anatomy, 5th Edition. Lippincott William and Wilkins

Page 3: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

3

2. ในช้ันเรียนนําเสนอเน้ือหาโดย power point

2.1 นําเขาสูบทเรียนและวัตถุประสงค 1 นาที

2.2 บรรยายกระดูกหัก 5 นาที

2.3 แสดงการถายภาพทางตาง ๆ อธิบายลักษณะตําแหนง 2 นาที

เงาท่ีปกติของกระดูกบริเวณ shoulder

2.4 แสดงภาพ fracture บริเวณ proximal humerus และ 5 นาที

Shoulder dislocation

2.5 แสดงภาพ fracture บริเวณ distal humerus และ 5 นาที

proximal forearm และ dislocation บริเวณ elbow

2.6 แสดงภาพ fracture บริเวณ distal radius และ scaphoid 3 นาที

2.7 อธิบายลักษณะตาํแหนง เงาท่ีปกติของกระดูก pelvis 3 นาที

2.8 แสดงภาพ fracture บริเวณ proximal femur และ 5 นาที

hip dislocation

2.9 แสดงภาพ fracture และ dislocation บริเวณ knee 5 นาที

2.10 แสดงภาพ fracture และ dislocation บริเวณ ankle 5 นาที

2.11 แสดงภาพ pattern of bone destruction/ periosteal reaction 8 นาที

/tumor matrix

2.12 แสดงภาพตัวอยาง primary bone tumor, Osteomyelitis, 8 นาที

Bone metastasis, Multiple myeloma

2.13 เปดโอกาสใหซักถาม 5 นาที

สื่อการสอน

1. เครื่อง computer ท่ีมี program power point

2. เครื่อง LCD projector ท่ีมีความสวางและความละเอียดสูง เพ่ือท่ีจะแสดงรายละเอียดของภาพไดชัดเจน

3. ขอมูลและเน้ือหาท่ีใชในการสอน (Power point file)

4. เอกสารประกอบการบรรยาย

Page 4: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

4

การประเมินผล

1. Direct observation

2. MCQ

3. CRQ

แหลงการเรียนรู

- Armstrong P, Wastie M, Rockall A. Diagnostic Imaging, 5th edition. Malden MA: Blackwell; 2003

- Greenspan A, editor. Orthopedic radiology: a practical approach. 4th edition. Philadelphia: Lippincott

Williams & Wilkins; 2004.

- บุษณี วิบุลผลประเสริฐ, บรรณาธิการ. Emergency Radiology: กรุงเทพ: หมอชาวบาน; 2552.

Page 5: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

5

แผนการศึกษา (สําหรับนักศึกษา)

ศาสตราจารย สภุนีวรรณ เชาววิศิษฐ

เร่ือง การตรวจวินิจฉัยทางรังสีวิทยาของระบบกระดูกสันหลัง

ผูศึกษา นักศึกษาแพทย ช้ันปท่ี 5

ผูรับผิดชอบ อาจารยภาควิชารังสีวิทยา (ศาสตราจารย สุภนีวรรณ เชาววิศิษฐ)

ระยะเวลา 60 นาที

กิจกรรมการเรียนการสอน : สอนใหสัมพันธกับทางคลินิก

ความรูพ้ืนฐาน

ระบบโครงสรางและกลามเน้ือ (Musculoskeletal system) บริเวณกระดูกสันหลัง

นักศึกษาควรมีความรูพ้ืนฐาน ดังน้ี

1. กายวิภาคศาสตร

2. สรีรวิทยา (กลไกการเคลื่อนไหว)

3. การตรวจทางรังสีวิทยา บทบาทของการวินิจฉัยโรคโดยภาพรังสีพ้ืนฐาน (plain film)

4. ขอบงช้ี และขอจํากัดของการสงตรวจทางรังสีข้ันตอไป (further investigation)

วัตถุประสงคการเรียนรู : เมื่อผานการเรยีนรู นักศึกษาสามารถ

1. ตระหนักความสาํคัญ และประยุกตความรูวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน เชน กายวิภาค สรีรวิทยา และพยาธิวิทยา ฯลฯ

2. ระบุ สั่ง และแปลผลการตรวจวินิจฉัยภาพรังสีพ้ืนฐานไดถูกตอง และเหมาะสมตามขอมลูทาง คลินิก และลักษณะ

พยาธิสภาพของผูปวย ไดแก

1.1 สั่งตรวจภาพรังสีข้ันพ้ืนฐานของกระดูกสันหลังสวนตางๆ เชน ชวงเอว โดยระบุ position ท่ีจําเปนและ

เหมาะสม

2.2 วินิจฉัยภาพรังสีข้ันพ้ืนฐาน และวินิจฉัยแยกภาวะท่ีพบบอยทางระบบโครงสรางและกลามเน้ือ ไดแก

2.2.1 ภาวะบาดเจ็บ (Trauma)

- กระดูกหักหรือยุบ (Fracture)

- กระดูกเคลื่อน (Dislocation)

2.2.2 การติดเช้ือของหมอนรองกระดูกและกระดูก (Diskitis & Osteomyelitis) และของเน้ือเยื้อ

ขางเคียง

2.2.3 การเสื่อมของกระดกูสันหลังตามอายุ (Degenerative change)

2.2.4 วินิจฉัยแยกภาวะเน้ืองอกกระดูก (Bone tumor) benign หรือ malignant

2.3 ขอบงช้ีและขอจํากัดในการทําการตรวจข้ันตอไป (further investigation)

2.3.1 Ultrasound ชวยในการวินิจฉัยการติดเช้ือของ Soft tissue โดยรอบหรือใกลเคียงกระดูกสันหลัง

โดยเฉพาะอยางยิ่งหลังการผาตัดท่ีไดใสเครื่องมือโลหะไว ซึ่งการวินิจฉัยโดยวิธีอ่ืนทําไดยาก

นอกจากน้ัน Ultrasound ยังชวยวินิจฉัยแยกภาวะกอน วาเปนถุงนํ้าหรือกอนเน้ือ

2.3.2 CT scan ทราบขอดีและขอจํากัดในการเลือกสงตรวจ

2.2.3 Magnetic Resonance Imaging (MRI) ทราบขอดีและขอจํากัดในการเลือกสงตรวจ

Page 6: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

6

แหลงเรียนรู

1. Fundamentale of Radiology. LF. Squire, RA. Novelline 4th ed. 1988

2. A concise Texibook of Radiology. Peter Armstrory, Martin L Wistie, 2001

3. Website : http://www.med.mahidol.ac.th/ortho

http://elearning.ra.mahidol.ac.th/medstudent

www.worldortho.com/ (Electronic Orthopaedic Textbook)

www.ortho-u.net/orthoo/41.htm (Wheeless' Textbook of Orthopaedics)

สื่อการสอน

1. CD, และ จอ LCD projector

2. Laser pointer

3. เอกสารประกอบการเรียนการสอน

การประเมินผล

1. Direct observation

2. MCQ

3. CRQ

4. OSCE

Page 7: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

7

แผนการศึกษา (สําหรับนักศึกษา)

ศาสตราจารยคลินิกวิโรจน กวินวงศโกวิท

เร่ือง Basic principle of fracture dislocation

(Principle and management of conservative treatment of fracture in orthopaedics

สําหรับ นักศึกษาแพทยช้ันปท่ี 5

ระยะเวลา 1 ช่ัวโมง

ผูรับผิดชอบ อาจารยภาควิชาออรโธปดิกส (ศาสตราจารยคลินิกวิโรจน กวินวงศโกวิท)

กิจกรรมการเรียนการสอน : บรรยาย

ความรูพ้ืนฐาน

1. กายวิภาคศาสตรของระบบกระดกูของรางกาย

2. ชีวกลและแรงกระทําตอระบบกระดูกของรางกาย

3. การซักประวัติและตรวจรางกายเบ้ืองตน

วัตถุประสงคการเรียนรู : เมื่อผานการเรยีนรู นักศึกษาสามารถ

1. อธิบายและจําแนกชนิดของกระดกูหักในสวนตางๆ ของรางกาย

2. อธิบายกลไกในการทําใหกระดูกหกัในลักษณะตางๆ

3. อธิบายลักษณะกระดูกหักชนิดแผลเปด และแนวทางการรักษาเบ้ืองตน

4. อธิบายภาวะโรคอ่ืนๆ ท่ีทําใหกระดูกหักงาย เชน ภาวะกระดูกพรุน หรือมะเร็งท่ีแพรกระจายไปท่ีกระดูก

5. จําแนกการบาดเจ็บท่ีทําใหกระดูกหักจากแรงกระทําในลักษณะตางๆ

6. ตรวจรางกายและวินิจฉัยผูปวยกระดูกหักหรือขอเคลื่อนได โดยอาศยัหลักพ้ืนฐานกอนสงผูปวยไปถายภาพรังส ี

7. ประยุกตวัสดุ อุปกรณท่ีหาไดในการดูแลผูปวยเบ้ืองตน เพ่ือประโยชนในการสงตอผูปวย หรือสงไปถายภาพรังส ี

8. ตระหนักถึงความจําเปนในการดามกระดูกสวนท่ีหัก (splint) และใชอุปกรณไดอยางเหมาะสม

9. ประเมินขีดความสามารถของตนเองในการดูแลผูปวยกระดูกหักหรอืขอเคลื่อน โดยอาศยัแนวทางการรักษาของ

กระดูกหักชนิดตางๆ

10. อธิบายผูปวยถึงแนวทางการรักษาโดยวิธีเขาเฝอก หรือผาตดั ตลอดจนเขาใจถึงขอดี ขอเสีย ของแตละวิธี

11. ปฏิบัติการจัดรปูกระดูกหักใหเขาท่ีไดเบ้ืองตน รวมถึงการเขาเฝอกใหกระดูกท่ีหักมั่นคง

12. เขาใจแนวทางการรักษาโดยวิธีผาตัดดวยอุปกรณ ดามกระดูกชนิดตางๆ เชน plate & screws, nailing, external

fixator เปนตน

13. เขาใจถึงความจําเปนในการฟนฟู และกายภาพผูปวย เพ่ือใหคืนสภาพไดเร็ว

สื่อการสอน

1. ศึกษาในระบบ E-learning เรื่อง Principle of fracture management (โดยอาจารยปพน สงาสูงสง)

2. หุนโครงกระดูก

Page 8: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

8

แหลงเรียนรู

1. ศึกษาคนควาขอมูลเพ่ิมเติมจากตําราออรโธปดิกส (ฉบับเรียบเรียงใหม ครั้งท่ี 3) วิวัฒน วจนะวิศิษฐ

ภัทรวัณย วรธนารตัน ชูศักดิ์ กิจคุณาเสถียร สุกิจ เลาหเจริญสมบัติ บรรณาธิการ บริษัท โฮลสิติก พับลิชช่ิง

หนา 61 -72

2. Salter RB. Textbook of disorders and injuries of musculoskeletal system. Baltimore. William &

Wilkins, 1999

3. Website : http://www.med.mahidol.ac.th/ortho

http://elearning.ra.mahidol.ac.th/medstudent

การประเมินผล

- สอบลงกอง MCQ, CRQ และ OSCE

Page 9: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

9

แผนการศึกษา (สําหรับนักศึกษา)

เร่ือง Bone as a tissue and fracture healing

ผูศึกษา นักศึกษาแพทยช้ันปท่ี 5

ผูรับผิดชอบ อาจารยภาควิชาออรโธปดิกส

ระยะเวลา ศึกษาในระบบ E-learning

กิจกรรมการเรียนการสอน : ศึกษาดวยตนเองในระบบ E-learning

ความรูพ้ืนฐาน นักศึกษาควรมีความรูพ้ืนฐาน ดังน้ี

1. กายวิภาคของระบบกระดูกทอนยาว

2. จุลกายวิภาคของระบบกระดูก (Musculoskelatal histology)

3. Musculoskelatal developmental embryology

วัตถุประสงคการเรียนรู : เมื่อผานการเรยีนรู นักศึกษาสามารถ

1. นิยามการสมานตัวของกระดูก (Bone healing) การปรับแตงกระดกู (Bone remodeling) ได

2. ตระหนักถึงความสําคญัของกระดกูวาเปนสิ่งมีชีวิต (Bone as a living tissue) เพ่ือปองกันผลเสียจากการทําลาย

เน้ือเยื่อออนรอบกระดูกโดยไมจําเปน

3. อธิบายบทบาท หนาท่ี และความสําคัญของสวนประกอบทางชีวเคมีของกระดูกไดแก

3.1 Collagen

3.2 Proteoglycan

3.3 Calcium hydroxyapatite

4. อธิบายเซลล osteoblast, osteocyte และ osteoclast ในดาน

4.1 ตนกําเนิด

4.2 หนาท่ีการทํางาน

4.3 บทบาทในการซอมแซมและปรับแตงกระดูก

5. จําแนกชนิดของเซลลท้ังสามชนิดจากภาพถายทางจุลยกายวิภาค

6. อธิบายพัฒนาการการเจรญิเติบโตระยะตางๆของกระดูกทอนยาวดังน้ี

6.1 Limb bud formation

6.2 Formation of primary and secondary ossification center

6.3 Epiphyseal plate formation

7. ระบุปจจัยท่ีสงเสริมหรือขัดขวางการเจรญิเติบโตของกระดูกทอนยาวดังน้ี

7.1 ปจจัยสงเสรมิการเจริญเติบโต เชน การไดรับสารอาหารท่ีครบถวนและถูกตอง การไดรับแรงกระทําผาน

กระดูกและชวงความถ่ีและปริมาณท่ีเหมาะสม เปนตน

7.2 ปจจัยท่ีขัดขวางการเจริญเติบโต เชน การไดรับยาหรือสารเคมีท่ีมผีลตอการเจรญิเติบโต ภาวะการบาดเจ็บท่ี

Epiphyseal plate เปนตน

Page 10: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

10

8. ประยุกตความรูวิทยาศาสตรพ้ืนฐานตามวัตถุประสงคขอ 1 ถึง 6 มาอธิบายกระบวนการสมานตัวขอกระดูก (Fracture

healing) ในดาน

8.1 ระยะของการสมานตัว

8.2 กลไกการเกิดการสมานตัว

8.3 ปจจัยท่ีมีผลตอการสมานตัว

9. ตระหนักความสาํคัญและระบุประโยชนของการปลูกถายกระดูกใหผูปวยกรณตีางๆ ดังตอไปน้ี

9.1 กระดูกหัก

9.2 กระดูกอักเสบตดิเช้ือ

9.3 เน้ืองอกและมะเร็งกระดูก

9.4 พยาธิสภาพกระดูกแตกําเนิด

สื่อการศึกษา

- VDO ในระบบ E-learning เรื่อง bone healing (โดยอาจารยตลุยพฤกษ ถาวรสวัสดิ์รักษ)

แหลงเรียนรู

1. ศึกษาคนควาขอมูลเพ่ิมเติมจากตําราออรโธปดิกส (ฉบับเรียบเรียงใหม ครั้งท่ี 3) วิวัฒน วจนะวิศิษฐ

ภัทรวัณย วรธนารัตน ชูศักดิ์ กิจคุณาเสถียร สุกิจ เลาหเจรญิสมบัติ บรรณาธิการ บริษัท โฮลิสติก พับลิชช่ิง

หนา 21- 28

2. Salter RB. Textbook of disorders and injuries of musculoskeletal system. Baltimore. William &

Wilkins, 1999

3. Website : http://www.med.mahidol.ac.th/ortho

http://elearning.ra.mahidol.ac.th/medstudent

การประเมินผล

- การสอบลงกอง MCQ, OSCE และ CRQ

Page 11: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

11

แผนการศึกษา (สําหรับนักศึกษา)

(Case – discussion)

เร่ือง การบาดเจ็บของรยางคสวนลาง (Lower Extremity Injury)

ผูศึกษา นักศึกษาแพทยช้ันปท่ี 5

ผูรับผิดชอบ อาจารยภาควิชาออรโธปดิกส

ระยะเวลา 2 ช่ังโมง

กิจกรรมการเรียนการสอน : Case-discussion

ความรูพ้ืนฐาน : ระบบโครงสรางและกลามเน้ือ (Musculoskeletal) ของรยางคสวนลาง (Lower extremity) นักศึกษาควร

มีความรูพ้ืนฐาน ดังน้ี

1. กายวิภาคศาสตร

2. สรีรวิทยา (กลไกการเคลื่อนไหว)

3. การตรวจรางกายของระบบโครงสรางและกลามเน้ือ

4. หลักการดูแลรักษาผูปวยกระดูกหกัและขอเคลื่อนเบ้ืองตน

วัตถุประสงคการเรียนรู : เมื่อผานการเรยีนรู นักศึกษาสามารถ

1. ตระหนักความสาํคัญและประยุกตความรูวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน เชน กายวิภาค สรีรวิทยา พยาธิวิทยา ฯลฯ

2. อธิบายประเภทและกลไกของแรงแตละประเภทท่ีทําใหเกิดการบาดเจ็บตอกระดูกและกลามเน้ือ

3. ซักประวัติและตรวจรางกายผูปวยท่ีไดรับบาดเจ็บท่ีรยางคสวนลางไดถูกตองและเหมาะสมรวมท้ัง primary และ

secondary survey

4. ระบุ สั่ง และแปลผลการตรวจเงาภาพไดถูกตองและเหมาะสมตามลกัษณะพยาธิสภาพไดแก

5. วินิจฉัยและวินิจฉัยแยกโรคการบาดเจ็บของรยางคลางท่ีพบบอยหรือมีความสาํคัญ ดังน้ี

5.1 Hip joint dislocation

5.2 Fracture femur (neck, intertrochater, shaft)

5.3 Knee joint injury

5.4 Fracture tibia and fibula (shaft)

5.5 Ankle joint injury (bone, ligaments)

5.6 Foot injury (fracture and dislocation:............ )

6. ใหการดูแลรักษาผูปวยตามขอ 5 ไดถูกตองและเหมาะสมท้ังการรักษาเบ้ืองตน และการรักษา

โดยวิธี การไม ผาตัด (Conservative treatment) ไดแก

6.1 Close reduction ของ hip joint, tarsometatarsal joint, metatarsophalangeal joint,

interphalangeal joint

6.2 Long leg cast, short leg cast

7. ตระหนักความสาํคัญและใหคําแนะนําผูปวยในการดูแลตัวเองหลังการรักษาไดถูกตอง ดังน้ี

7.1 การปองกันภาวะแทรกซอน รวมท้ังทุพพลภาพ

7.2 การดูแลรักษาเฝอก

7.3 การทํากายภาพบําบัดท้ังระหวางและหลังการใสเฝอก

Page 12: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

12

8. ตระหนักความสาํคัญและใหความรูประชาชนเพ่ือปองกันและลดอุบัติการณของการบาดเจ็บรยางคลาง ในกลุม

อุบัติเหตุและผูสูงอาย ุ

9. ตระหนักความวิตกกังวลและความรูสึกของผูปวยและครอบครัว และตดิตอสื่อสารไดอยางเหมาะสมในดานการให

กําลังใจและคําแนะนําในการปฏิบัติตัวท้ังท่ีสถาน พยาบาลและท่ีบาน ในกรณี conservative treatment และกรณี

สูญเสียอวัยวะ

สื่อการศึกษา

1. VDO ในระบบ E-learning เรือ่ง fracture in lower extremity (โดย รศ.ธเนศ วัฒนะวงษ)

2. Computer

รูปแบบการเรียนการสอน

1. ศึกษา case เรื่อง Lower extremity ท้ังหมด (3 case)

2. ฟง Lecture เรื่อง Fractures in lower extremity (อ.ธเนศ)

3. ตอบคําถามใหถูกตอง และสมบูรณ นํามาpresentation ในช่ัวโมง

แหลงเรียนรู

1. ตองอาน

1.1 ศึกษาคนควาขอมูลเพ่ิมเตมิจากตําราออรโธปดิกส (ฉบับเรียบเรียงใหม ครั้งท่ี 3) วิวัฒน วจนะวิศิษฐ

ภัทรวัณย วรธนารัตน ชูศักดิ์ กิจคุณาเสถียร สุกิจ เลาหเจริญสมบัติ บรรณาธิการ บริษัท โฮลสิติก พับลิชช่ิง

1.2 Website : http://www.med.mahidol.ac.th/ortho

http://elearning.ra.mahidol.ac.th/medstudent

www.worldortho.com/ (Electronic Orthopaedic Textbook)

www.ortho-u.net/orthoo/41.htm (Wheeless' Textbook of Orthopaedics)

2. ควรอาน

2.1 Salter RB. Textbook of disorders and injuries of musculoskeletal system. Baltimore.William

& Wilkins, 1999 page…….

2.2 David J Dandy. Essential orthopaedics and trauma. Second edition. Churchill Livingstone.

Longman Group UK Limited, 1993. page…….

การประเมินผล

- การสอบลงกอง MCQ, OSCE และ CRQ

Page 13: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

13

แผนการศึกษา (สําหรับนักศึกษา)

ผูชวยศาสตราจารย ภาริส วงศแพทย

เร่ือง การออกกําลังกายเพ่ือการบําบัดรกัษา (Therapeutic Exercise)

สําหรับ นักศึกษาแพทยช้ันปท่ี 5

ระยะเวลา 1 ช่ัวโมง

ผูรับผิดชอบ อาจารยภาควิชาเวชศาสตรฟนฟู (ผูชวยศาสตราจารยภาริส วงศแพทย)

กิจกรรมการเรียนการสอน การบรรยายและยกตัวอยางการออกกําลังกายเพ่ือการบําบัดรักษาใน

ผูปวยท่ีพบบอยไดอยางถูกตอง

วัตถุประสงคการศึกษา (สําหรับนักศึกษาแพทย)

ความรูพ้ืนฐาน

1. กายวิภาคระบบกระดูกและกลามเน้ือ

2. สรีระวิทยา การทํางานปกติของกลามเน้ือลาย, ระบบการหายใจ และเมตาบอลิซึม

3. การตรวจรางกาย เชน การตรวจพิสัยการเคลื่อนไหว, การตรวจกําลังกลามเน้ือ และภาวะขอบวมอักเสบ เปนตน

4. พยาธิวิทยาเบ้ืองตนเก่ียวกับภาวะการอักเสบและ การหายของแผล

วัตถุประสงค : ภายหลังการเรยีนรูนักศึกษาสามารถ

1. บอกนิยามของการออกกําลังกายเพ่ือการบําบัดรักษา (Therapeutic exercise) ไดอยางถูกตอง

2. บอกชนิดตาง ๆ ของการออกกําลังกายตามวัตถุประสงคไดอยางถูกตอง เชน

การออกกําลังกายเพ่ือเพ่ิมความแข็งแรงและคงทนของกลามเน้ือเฉพาะสวน

การออกกําลังกายเพ่ือคงพิสัยการเคลื่อนไหว

การออกกําลังกายเพ่ือเพ่ิมพิสัยการเคลื่อนไหว

การออกกําลังกายเพ่ือสมรรถนะของระบบหัวใจและปอด

3. อธิบายขอบงช้ี ขอควรระวัง และขอหามของการออกกําลังกายชนิดตาง ๆ ตามขอ 1 ไดถูกตอง

4. อธิบายหลักการและข้ันตอนของการออกกําลังกายชนิดตาง ๆ ตามขอ 1 ไดถูกตอง

5. เลือกชนิดและประยุกตการออกกําลังกายท่ีเหมาะสมกับผูปวยท่ีพบบอยไดอยางถูกตอง เชน ปองกันอาการออนแรง

เพ่ิมพิสัยการเคลื่อนไหวในภาวะขอติดจากสาเหตตุาง ๆ เพ่ิมความแข็งแรงและลดอาการปวดขอ ปวดหลัง เปนตน

6. ตระหนักความสาํคัญของการรักษาและฟนฟูสภาพผูปวยดวยการออกกําลังกายตอสุขภาพและคุณภาพชีวิตของผูปวย

7. ตระหนักความสาํคัญของการสื่อสาร เพ่ือจูงใจผูปวยและครอบครัวใหเขาใจจุดมุงหมายและออกกําลงักายตาม

แผนการรักษาไดอยางตอเน่ืองท้ังในสถานพยาบาลและท่ีบาน

8. บอกผลเสียท่ีจะเกิดข้ึนจากการไมปฏิบัติการออกกําลังกายเพ่ือการบําบัดรักษาอยางถูกตอง

หลังชั้นเรียน : นักศึกษาศึกษาคูมือใหครบตามวัตถุประสงค

แหลงเรียนรู : คูมือเวชศาสตรฟนฟูสําหรับนักศึกษาแพทย จัดทําโดยภาควิชาเวชศาสตรฟนฟูคณะ

แพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลยัมหิดล พ.ศ.2543 หนา 161-172

การประเมินผล

1. จากการสังเกตและซักถาม

2. การสอบ (MCQ, CRQ และ OSCE)

Page 14: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

14

แผนการศึกษา (สําหรับนักศึกษา)

(Case – discussion)

รองศาสตราจารย อดิศักดิ์ สังขเพ็ชร

เร่ือง การบาดเจ็บของเน้ือเยื่อบริเวณแขนและมือ (soft tissue injury of the upper extremity

สําหรับ นักศึกษาแพทยช้ันปท่ี 5

ระยะเวลา 2 ช่ัวโมง

ผูรับผิดชอบ อาจารยภาควิชาออรโธปดิกส (รองศาสตราจารยอดิศักดิ์ สังขเพ็ชร)

กิจกรรมการเรียนการสอน : Case-discussion

วัตถุประสงคการศึกษา :

ความรูพ้ืนฐาน

1. กายวิภาคของแขน ขอมือและมอื

2. สรีระวิทยาของแขน ขอมือและมอื

3. การซักประวัติ ตรวจรางกาย บรเิวณ แขนขอมือและมือ

วัตถุประสงคการเรียนรู : เมื่อผานการเรยีนรู นักศึกษาสามารถ

1. บอกวิธีการวินิจฉัยเบ้ืองตนไดถูกตอง

2. อธิบายพยาธิสภาพท่ีเกิดข้ึนไดถูกตอง

3. บอกข้ันตอนการรักษาเบ้ืองตน

4. บอกภาวะแทรกซอนท่ีพบบอย

5. บอกวิธีการปองกันและรักษาภาวะแทรกซอนท่ีพบบอย

6. ประยุกตวัสดุและอุปกรณตางๆ ท่ีหาไดในการดูแลผูปวยเบ้ืองตนและการรักษาไดเหมาะสมเพ่ือลดอุบัติการณและความ

รุนแรงของภาวะแทรกซอนท่ีอาจเกิดข้ึน

7. ตระหนักความวิตกกังวลและความรูสึกของผูปวยและครอบครัว และตดิตอสื่อสารไดอยางเหมาะสมในดานการให

กําลังใจและคําแนะนําในการปฏิบัติตัวท้ังในสถานพยาบาลและท่ีบาน

สื่อการศึกษา

1. ศึกษาในระบบ E-learning เรื่อง soft tissue injury of the upper extremity (โดย รศ.อดิศักดิ์ สังขเพ็ชร)

2. Computer

รูปแบบการเรียนการสอน

1. เรื่อง upper extremity (อ.อดิศักดิ์ ส.) เลือก 1 case จาก 12 case ท่ีสนใจ/กลุมยอย นํามา presentation ใน

ช่ัวโมง

2. ฟง Lecture เรื่อง Soft tissue injuries of the upper extremity (อ.อดิศักดิ์ ส.)

3. ตอบคําถามใหถูกตอง และสมบูรณ นํามา presentation ในช่ัวโมง

Page 15: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

15

แหลงเรียนรู

1. ศึกษาคนควาขอมูลเพ่ิมเติมจากตําราออรโธปดิกส (ฉบับเรียบเรียงใหม ครั้งท่ี 3) วิวัฒน วจนะวิศิษฐ

ภัทรวัณย วรธนารัตน ชูศักดิ์ กิจคุณาเสถียร สุกิจ เลาหเจรญิสมบัติ บรรณาธิการ บริษัท โฮลิสติก พับลิชช่ิง

หนา 483 492

2. เอกสารคําสอนเรื่องการบาดเจ็บทางมือ โดย นพ.อดิศักดิ์ สังขเพ็ชร

3. Salter RB. Textbook of disorders and injuries of musculoskeletal system. Baltimore.William &

Wilkins, 1999

David J Dandy. Essential orthopaedics and trauma. Second edition. Churchill Livingstone.

Longman Group UK Limited, 1993.

4. Website : http://www.med.mahidol.ac.th/ortho

http://elearning.ra.mahidol.ac.th/medstudent

การประเมินผล

- การสอบลงกอง MCQ, OSCE และ CRQ

Page 16: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

16

แผนการศึกษา (สําหรับนักศึกษา)

(Case – discussion)

อาจารยอิทธิรัตน วัชรานานันท

เร่ือง การบาดเจ็บของกระดูกและขอบรเิวณแขนและมือ (Bony injuries in upper extremity)

สําหรับ นักศึกษาแพทยช้ันปท่ี 5

ระยะเวลา 2 ช่ัวโมง

ผูรับผิดชอบ อาจารยภาควิชาออรโธปดิกส (อาจารย อิทธิรัตน วัชรานานันท)

กิจกรรมการเรียนการสอน : case - discussion

ความรูพ้ืนฐาน

นักศึกษาควรมีความรูพ้ืนฐานดังน้ี

1. กายวิภาคศาสตร ของแขน และมือ

2. สรีระวิทยา ของแขน และมือ

3. การตรวจรางกายของระบบโครงสรางและกลามเน้ือ ของแขนและมือ

4. หลักการดูแลรักษาผูปวยกระดูกหัก และขอเคลื่อนเบ้ืองตน

วัตถุประสงคการเรียนรู : เมื่อผานการเรียนรูนักศึกษาสามารถ

1. สามารถประยุกตความรูวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน เขากับพยาธิภาพของการบาดเจ็บของกระดูกและขอบริเวณแขนและมือ

2. ซักประวัติและตรวจรางกายผูปวยท่ีไดรับบาดเจ็บของกระดูกและขอบริเวณแขนและมือไดถูกตอง และเหมาะสม

3. สามารถระบุ สั่งและแปลผล การสงตรวจ ภาพถายทางรังสไีดถูกตองและเหมาะสมตามพยาธิสภาพ

4. สามารถวินิจฉัย โรคการบาดเจ็บของกระดูกและขอบรเิวณแขนและมือ ท่ีพบบอยไดถูกตอง

5. ใหการดูแลผูปวยท่ีไดรับบาดเจ็บของกระดูกและขอบรเิวณแขนและมือ ไดถูกตองและเหมาะสม

ท้ังการรักษาเบ้ืองตน และการรกัษาโดยวิธีการไมผาตดั

6. ตระหนักถึงความสําคญั และใหคําแนะนําผูปวย หลังการรักษาไดถูกตอง ท้ังเรื่องการปองกันภาวะแทรกซอน

กายภาพบําบัดเบ้ืองตนระหวางและหลังการใสเฝอก

7. ตระหนักความวิตกถึงกังวลและความรูสึกของผูปวยและครอบครัวและติดตอสื่อสารไดอยางเหมาะสมในดานการให

กําลังใจ และคําแนะนําในการปฏบัิตติัวท้ังในสถานพยาบาลและท่ีบาน

สื่อการเรียนการสอน

1. ศึกษาในระบบ E-learning เรือ่ง Bony injuries in upper extremity part 1-2 (โดย อาจารยอิทธิรัตน วัชรานานันท)

2. Computer

รูปแบบการเรียนการสอน

1. ฟง Lecture เรื่องBony injures in upper extremity part 1- 2

2. การตอบคําถามใหถูกตอง และสมบูรณในช่ัวโมง

Page 17: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

17

แหลงเรียนรู

1. ศึกษาคนควาขอมูลเพ่ิมเติมจากตําราออรโธปดิกส (ฉบับเรียบเรียงใหม ครั้งท่ี 3) วิวัฒน วจนะวิศิษฐ

ภัทรวัณย วรธนารัตน ชูศักดิ์ กิจคุณาเสถียร สุกิจ เลาหเจรญิสมบัติ บรรณาธิการ บริษัท โฮลิสติก พับลิชช่ิง

หนา 117 - 140

2. Salter RB. Textbook ot disorders and injuries of musculoskeletal system Baltimore. William &

Wilkins..1999

3 David J Dandy, Essential orthopaedics and trauma. Second edition Churchill Livingstone

Longman Group VK, 1993.

4. website: http://www.med.mahidol.ac.th/ortho

http://elearning.ra.mahidol.ac.th/medstudent

การประเมินผล

- การสอบลงกอง MCQ, OSCE และ CRQ

Page 18: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

18

แผนการศึกษา (สําหรับนักศึกษา)

อาจารย ธนพจน จันทรนุม

เร่ือง การติดเช้ือของกระดูกและขอ (Bone and Joint Infection)

สําหรับ นักศึกษาแพทยช้ันปท่ี 5

ระยะเวลา 60 นาที

ผูรับผิดชอบ อาจารยภาควิชาออรโธปดิกส (อาจารย ธนพจน จันทรนุม)

กิจกรรมการเรียนการสอน Case-Based Lecture

แผนการศึกษา (สําหรับนักศึกษา)

ความรูพ้ืนฐาน

1. กายวิภาคของกระดูกทอนยาวและขอ (Synovial joint)

2. กลไกการกอโรคโดยเช้ือแบคทีเรีย (mechanism of bacterial infection)

3. ระบบภมูิคุมกันในการตอตานการติดเช้ือแบคทีเรยี (immunity response)

4. การซักประวัติและตรวจรางกายเบ้ืองตนทางออรโธปดิกส

5. หลักการรักษาการติดเช้ือแบคทีเรยีโดยการวิธีอนุรักษและการผาตดั

วัตถุประสงคการเรียนรู : เมื่อผานการเรยีนรู นักศึกษาสามารถ

1. ตระหนักความสาํคัญในการวินิจฉัยแตแรกเริ่มของการตดิเช้ือของกระดูกและขอ เพ่ือปองกันทุพพลภาพถาวรอันมีผล

ตอการดํารงชีพ การรักษาท่ียุงยากและสญูเสียเศรษฐศาสตรสาธารณสุข

2. อธิบายการจัดวิธีการจําแนกการตดิเช้ือของกระดูกและขอไดดังน้ี

2.1 ระยะเฉียบพลัน

2.2 ระยะก่ึงเฉียบพลัน

2.3 ระยะเรื้อรัง

3. อธิบายพยาธิกําเนิดและพยาธิสภาพของการติดเช้ือของกระดูกและขอ พรอมท้ังเช่ือมโยงกับการดําเนินโรคและ

อาการผูปวยได

4. วินิจฉัยการตดิเช้ือของกระดูกและขอจากการซักประวัติและตรวจรางกาย

5. เลือก และแปลผลการสงตรวจ เพ่ือสนับสนุนการวินิจฉัยและการติดตามการรักษาการติดเช้ือของกระดูกและขอ

5.1 การตรวจข้ันพ้ืนฐานท่ีทําไดเอง เชน CBC, ESR, CRP, plain radiograph, culture และ joint fluid

5.2 การตรวจท่ีตองการความชํานาญในการทํา แปลผลและมรีาคาแพง เชน ultrasound, bone scan, CT, MRI

6. วินิจฉัยแยกโรคการตดิเช้ือของกระดูกและขอ กับภาวะอ่ืนๆ จากการซักประวัติและตรวจรางกายไดแก

6.1 เน้ืองอกกระดูก เชน osteosarcoma, Ewing sarcoma และ lymphoma เปนตน

6.2 การบาดเจ็บ เชน กระดูกหักท่ีมี callus

6.3 ภาวะอักเสบอ่ืนๆของขอและเน้ือเยื่อเก่ียวพัน เชน cellulites, pyomyositis, sympathetic effusion, toxic synovitis,

crystal induced arthritis, joint manifestation of systemic disease

7. เลือกชนิด ขนาด วิธีบริหาร และระยะเวลาในการใหยาปฏิชีวนะไดเหมาะสมกับผูปวยท่ีไดรับการวินิจฉัยวาติดเช้ือของ

กระดูกและขอ

8. บอกขอบงช้ี ชนิดวิธีและหลักการในการรักษาดวยการผาตัดในผูปวยท่ีติดเช้ือของกระดูกและขอ

Page 19: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

19

9. อธิบายหลักการ immobilization ท่ีใชในผูปวยติดเช้ือของกระดูกและขอ ไดแก เฝอก (cast) เครื่องชวยดาม (splint)

หรือเครื่องดึง (traction) ไดเหมาะสมกับอวัยวะตามตําแหนงของพยาธิสภาพ เพ่ือลดอาการและสงเสริมภูมิคุมกัน

ของรางกายใหมีประสิทธิภาพเพ่ิมข้ึน

10. ตระหนักการเฝาระวังภาวะแทรกซอนจากโรค และการรักษา เพ่ือลดและปองกันทุพพลภาพถาวรอันมีผลตอการดํารง

ชีพ การรักษาท่ียุงยาก และสญูเสียเศรษฐศาสตรสาธารณสุข

11. ตระหนักการสื่อสารในดานการใหขอมูลการรักษา การพยากรณของโรคและใหกําลังใจแกผูปวยและญาติ เพ่ือการ

ปฏิบัติตัวอยางถูกตองและตอเน่ืองในกรณีท่ีเรื้อรัง

สื่อการเรียนการสอน

1. ศึกษาในระบบ E-learning เรื่อง Infection of bone and joint (โดยอาจารยธนพจน จันทรนุม)

2. Computer

3. จอ LCD และ Laser pointer

4. เอกสารประกอบการเรียนการสอน

แหลงเรียนรู :

ตองอาน

1. ศึกษาคนควาขอมูลเพ่ิมเตมิจากตําราออรโธปดิกส (ฉบับเรียบเรียงใหม ครั้งท่ี 3) วิวัฒน วจนะวิศิษฐ ภัทรวัณย

วรธนารัตน ชูศักดิ์ กิจคุณาเสถียร สุกิจ เลาหเจรญิสมบัติ บรรณาธิการ บริษัท โฮลิสติก พับลิชช่ิง หนา 445 -

461

2. ควรอาน

1. Raymond TM. Bone and joint sepsis. In: Raymond TM, Stuart LW, Editor. Lovell and Winter’s Pediatric

Orthopaedics. 5th ed. Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkins; 2001. p. 459-506

2. Kevin BC, Geegory D, Ashley LP, Jeffrey AD. General principle of infection, Osteomylelitis, Infectious

arthritisOperative. In: Terry C, editor. Campbell’s operative orthopaedics. 10th ed. St. Louis: Mosby; 2003.

p.643-60

3. Emil HS, Mohit B. Complication: Osteomyelitis. In: Robert WB, James DH, Editors. Fracture in Adults. 5th ed.

Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkins; 2001 p. 515-30.

4. Kit MS, John FS. Acute hematogenous Osteomyelitis in children. J A Acad Ortho Surg 2001 May-

June;9(3):166-75

5. Scott JT, James HM. Infectious arthritis. In: Harrison’s principle of internal medicine. 15th ed. New York:

McGrawHill; 2001 p. 825-7, 1999-2000.

6. Website: http://www.med.mahidol.ac.th/ortho

http://elearning.ra.mahidol.ac.th/medstudent

การประเมินผล

1. การซักถามนักศึกษาในช้ันเรยีน

2. การสอบ MCQ

3. CRQ

4. OSCE

Page 20: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

20

แผนการศึกษา (สําหรับนักศึกษา)

อาจารย วรรณภา เลิศประภามงคล

เร่ือง เวชศาสตรฟนฟูในผูปวยท่ีมีการบาดเจ็บไขสันหลัง

(Rehabilitation in Spinal Cord Injured Patient )

สําหรับ นักศึกษาแพทยช้ันปท่ี 5

ระยะเวลา 1 ช่ัวโมง

ผูรับผิดชอบ อาจารยภาควิชาเวชศาสตรฟนฟู (อาจารย วรรณภา เลิศประภามงคล)

กิจกรรมการเรียนการสอน การบรรยาย อภิปรายปญหาและการแกไขในผูปวยท่ีมีการบาดเจ็บไขสันหลัง

วัตถุประสงคการศึกษา :

ความรูพ้ืนฐาน

1. ประสาทกายวิภาคของไขสันหลัง และอวัยวะท่ีเก่ียวของ

2. ลักษณะของการบาดเจบ็ไขสันหลงั

1. การเปลีย่นแปลงทางกายภาพและพยาธิสรรีะวิทยาจากการบาดเจ็บไขสันหลัง

2. หลักการดูแลรักษาภาวะฉุกเฉินในผูปวยบาดเจ็บไขสันหลัง

วัตถุประสงค : ภายหลังการเรยีนรู นักศึกษาสามารถ

1. ตระหนักความสาํคัญของการใหการรักษาทางเวชศาสตรฟนฟูในผูปวยบาดเจ็บไขสันหลัง

2. ตระหนักความสาํคัญของการใหคาํแนะนําญาติและผูปวย

3. บอกระดับและชนิดของการบาดเจ็บไขสันหลังไดอยางถูกตอง

4. บอกพยากรณโรคไดอยางถูกตอง

5. อธิบายเปาหมายของการรักษาทางเวชศาสตรฟนฟูในผูปวยบาดเจ็บไขสันหลังแตละระดับไดอยางถูกตอง

6. อธิบายหลักการและวิธีการรักษาทางเวชศาสตรฟนฟูในผูปวยบาดเจบ็ไขสันหลังในระยะตาง ๆ ได

7. บอกปญหาภาวะแทรกซอนของการบาดเจ็บไขสันหลังท่ีพบบอย วิธีปองกันและการแกไขไดอยางถูกตอง

หลังชั้นเรียน : นักศึกษาศึกษาคูมือใหครบตามวัตถุประสงค

แหลงเรียนรู

คูมือเวชศาสตรฟนฟูสําหรับนักศึกษาแพทย จัดทําโดยภาควิชาเวชศาสตรฟนฟูคณะแพทยศาสตรโรงพยาบาล

รามาธิบด ีมหาวิทยาลยัมหดิล พ.ศ. 2543 หนา 193 -202

การประเมินผล

1. การสังเกตและซักถาม

2. การสอบ MCQ

Page 21: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

21

แผนการศึกษา (สําหรับนักศึกษา)

ผูชวยศาสตราจารย ชัยวัฒน ไกรวัฒนพงศ

เร่ือง Low back pain

อาจารยผูรับผิดชอบ อาจารยภาควิชาออรโธปดิกส (ผูชวยศาสตราจารย ชัยวัฒน ไกรวัฒนพงศ)

ระยะเวลา 60 นาที

สถานท่ีเรียนรู ศูนยการศึกษาช้ันใตดิน

เกณฑแพทยสภา XIII. DISORDERS OF THE MUSCULOSKELETAL SYSTEM AND CONNECTIVE TISSUE (ICD

10, M00 - M99)

ความรูพ้ืนฐาน

1. กายวิภาคของกระดูกสันหลังสวนลาง,หมอนรองกระดูก, ขอ facet, ligament, กลามเน้ือ, เสนเลือดและ

เสนประสาทท่ีออกจากกระดูกสันหลังสวนลาง

2. ประสาทกายวิภาค (neuroanatomy) ของเสนประสาทท่ีออกจากกระดูกสันหลังสวนลาง ซึ่งควบคุมประสาทรับ

ความรูสึก(Sensory), ประสาทสั่งการ(motor) และรเีฟล็กซ (reflex) ของขา

3. พ้ืนฐานการอานภาพทางรังสี plain film, myelography, computer tomography, magnetic resonance

image

วัตถุประสงคการเรียนรู

เมื่อผานการเรยีนรู นักศึกษาแพทยสามารถ

1. บอกนิยามของอาการปวดหลังสวนลางและแบงประเภทของอาการปวดหลังสวนลางได

2. บอกสาเหตุของอาการปวดหลังสวนลางซึ่งรวมท้ัง spondylogenic and non spondylogenic causes ได

3. บอกอาการและอาการแสดงจําเพาะของผูปวย ในแตละโรคของผูปวยท่ีมีอาการปวดหลังสวนลางได รวมท้ังสามารถ

บอกสัญญานเตือนท่ีบงบอกวาผูปวยอาจมีโรครายแรงซึ่งตองอาศัยการตรวจเพ่ิมเติม (Red flags)

4. บอกวิธีตรวจรางกายผูปวยและแปลผลในผูปวยท่ีมีอาการปวดหลังสวนลางได รวมท้ังการตรวจพิเศษ ไดแก straight

leg raising test, Lasegue’s test, femoral stretch test, Bowstring test , Sign of four, Schober’s testได

5. เลือกสงตรวจทางหองปฎิบัติการและสงตรวจภาพถายรังสี plain film, myelography, computer tomography,

magnetic resonance image รวมท้ังการแปลผลไดอยางถูกตอง

6. บอกแนวทางในการรักษาผูปวยท่ีมีอาการปวดหลังสวนลางได รวมท้ังแนวทางในการเลือกสงตอผูปวยใหกับ

ผูเช่ียวชาญได

7. ใหคําแนะนําพ้ืนฐานในการใชชีวิตประจําวัน เพ่ือปองกันอาการปวดหลัง

เนื้อหาวิชาโดยสังเขป

1. นิยามและประเภทของอาการปวดหลังสวนลาง

2. อุบัติการณของอาการปวดหลังสวนลาง

3. สาเหตุของอาการปวดหลังสวนลาง

4. อาการและอาการแสดงของผูปวยท่ีมีอาการปวดหลังสวนลาง

5. การสงตรวจทางหองปฎิบัติการและการสงภาพถายรังส ี

6. การรักษาและการปองกันอาการปวดหลังสวนลาง

Page 22: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

22

กิจกรรม

Case based lecture

การจัดประสบการณการเรียนรู

1. กอนเขาช้ันเรียน

1.1 นักศึกษาทบทวนกายวิภาคของกระดูกสันหลังสวนลาง,หมอนรองกระดูก, ขอ facet, ligament, กลามเน้ือ,

เสนเลือดและเสนประสาทรวมท้ังประสาทกายวิภาค (neuroanatomy) ของเสนประสาทท่ีออกจากกระดูก

สันหลังสวนลางศึกษาเอกสารประกอบการเรยีนรู เรื่อง อาการปวดหลังสวนลาง(Low back pain)

1.2 ศึกษาเรื่อง อาการปวดหลังสวนลาง ในระบบ E-learning ใน website :

http://elearning.ra.mahidol.ac.th/medstudent

เรื่อง อาการปวดหลังสวนลาง โดย ผศ. ชัยวัฒน ไกรวัฒนพงศ

สื่อการเรียนรู

1. เอกสารประกอบการเรียนรูเรื่อง อาการปวดหลังสวนลาง(Low back pain)

2. E-learning เรื่อง อาการปวดหลังสวนลาง(Low back pain) โดย ผศ. ชัยวัฒน ไกรวัฒนพงศ

โสตทัศนูปกรณ

1. คอมพิวเตอร

2. LCD Projector

3. Power vote

แหลงเรียนรู

1. ชัยวัฒน ไกรวัฒนพงศ. เอกสารประกอบการเรียนรูเรื่อง อาการปวดหลังสวนลาง(Low back pain).

ภาควิชาออรโธปดิกส. คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบด.ี มหาวิทยาลัยมหิดล

2. วิเชียร เลาหเจรญิสมบัติ. ปวดหลัง ปวดคอ : ใน วิวัฒน วจนะวิศิษฐ, ภัทรวัณย วรธนารัตน, บรรณาธิการ.

ออรโธปดิกส พิมพครั้งท่ี 3. กรุงเทพ: โฮลสิติก พับลิชช่ิง; 2554. หนา 493-521.

3. Williams KT, Park AL. Low back pain and disorders of intervertebral discs. In : Canale ST,

Beaty JH, editors. Campbell’s operative orthopaedics. 11th ed. Philadelphia: Mosby; 2007. p

2199-2216.

4. Website: http://www.med.mahidol.ac.th/ortho

http://elearning.ra.mahidol.ac.th/medstudent

Page 23: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

23

การประเมินผล

1. ในช้ันเรียน

1.1 ความสนใจและความสามารถในการตอบคําถาม การมีสวนรวมในการอภิปรายซักถามและใหเหตุผล

2. การสอบลงกอง

2.1 Multiple choice question (MCQ)

2.2 Constructed response question (CRQ)

2.3 Objective structured clinical examination (OSCE)

Page 24: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

24

แผนการศึกษา (สําหรับนักศึกษา)

ผูชวยศาสตาจารย อดิศักดิ์ นารถธนะรุง

เร่ือง เน้ืองอกกระดูก

สําหรับ นักศึกษาแพทยช้ันปท่ี 5

ระยะเวลา 60 นาที

ผูรับผิดชอบ อาจารยประจําภาควิชาออรโธปดกิส (ผูชวยศาสตราจารยอดิศักดิ์ นารถธนะรุง)

กิจกรรมการเรียนการสอน Problem based learning

ความรูพ้ืนฐาน

1. การซักประวัติ ตรวจรางกายท่ัวไป ทางออรโธปดิกส

2. ความรูพ้ืนฐาน การอานและแปลผลเงาภาพรังสโีรคทางกระดูก

3. การสงตรวจและการแปลผล เลือดและปสสาวะทางหองปฎิบัติการ โดยเฉพาะ ESR, alkaline phosphatase, acid

phosphatase, calcium, phosphate, Protein electrophoresis, และ urine Bence Jones protein

4. ความรูวิทยาศาสตรพ้ืนฐานเน้ืองอกชนิด carcinoma และ sarcoma

วัตถุประสงคการเรียนรู : เมื่อผานการเรยีนรู นักศึกษาสามารถ

1. อธิบายธรรมชาติวิทยาของเน้ืองอกกระดูกชนิดตาง ๆ และบอกความแตกตางระหวาง carcinoma และ sarcoma

2. ตระหนักความสาํคัญของการซักประวัติและตรวจรางกาย ผูปวยท่ีมาพบแพทยเน่ืองจากมีอาการปวด รวมกับการมีกอน

หรือไมมีกอนและวินิจฉัยแยกโรคเน้ืองอกกระดูกจากโรคอ่ืน ๆ

3. อธิบายอานและแปลผลเงาภาพทางรังสีและวินิจฉัยแยกโรคเน้ืองอกกระดูกได

4. เลือกสงตรวจและแปลผลการตรวจทางหองปฎิบัติการเพ่ือสนับสนุนการวินิจฉัยเน้ืองอก

กระดูกดังตอไปน้ี

- การสงตรวจโดยแพทยท่ัวไป ไดแก CBC, ESR, alkaline phosphatase, calcium, phosphate, urine Bence

Jones protein และ CXR การสงตรวจโดยแพทยเฉพาะทาง ไดแก Protein electrophoresis, Bone scan,

CT, MRI

2. นําผลเงาภาพทางรังสีและผลการตรวจทางหองปฎิบัติการตาง ๆ มากําหนดชนิดของเน้ืองอกกระดูกตาม WHO classification

และแบงระยะของเน้ืองอกกระดูกตาม Enneking’s Surgical Staging

3. อธิบายหลักการและแนวทางการรกัษาเน้ืองอกกระดูกชนิดตาง ๆ

4. ระบุยาเคมีบําบัดท่ีนิยมใชในการรกัษาเน้ืองอกกระดูกชนิดตาง ๆ ไดแก Adriamycin, Epirubicin, Metrotrexate และ

Cisplatinum

5. อธิบายและบอกการทํานายโรคของเน้ืองอกกระดูกชนิดตาง ๆ

6. ใหความสําคญัของการสื่อสาร เพ่ือแจงขาวเรื่องโรคมะเร็งกระดูกใหแกผูปวยและญาติอยาง เหมาะสม โดยเฉพาะเรื่องวิธีการ

รักษา การทํานายโรค(Prognosis) และการใหกําลังใจผูปวย

7. ประเมินขีดความสามารถในการดแูลผูปวยดวยตนเองและสงตอใหผูเช่ียวชาญไดอยางถูกตองเหมาะสม

Page 25: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

25

สื่อการเรียนการสอน

1. ประวัติและภาพถายทางรังสีของตวัอยางผูปวยจํานวน 4 ราย

2. โครงกระดูก

3. กระดาน และดินสอเขียนบอรด

4. ตูดู film x-ray

5. ใหศึกษาในระบบ E-learning เรื่อง Common aggressive tumor-like lesion, bone tumor และ Osteoid

osteoma (โดยอาจารยอดศิักดิ์ นารถธนะรุง)

6. Computer, จอ LCD และ Laser pointer

แหลงเรียนรู

1. ศึกษาคนควาขอมูลเพ่ิมเติมจากตําราออรโธปดิกส (ฉบับเรียบเรียงใหม ครั้งท่ี 3) วิวัฒน วจนะวิศิษฐ

ภัทรวัณย วรธนารตัน ชูศักดิ์ กิจคุณาเสถียร สุกิจ เลาหเจรญิสมบัติ บรรณาธิการ บริษัท โฮลสิติก พับลิชช่ิง

หนา 341-359

2. ตําราเน้ืองอกกระดูกใน รศ.นพ.วรชัย ศิริกุลชยานนท บรรณาธิการ กรุงเทพมหานคร หางหุนสวนจํากัด วี.เจ.พริ้นติ้ง

2538

3. ตํารา osteosarcoma แนวทางใหมในการรักษาใน ลักษณา โพชนุกูล, ธันย สุภัทรพันธุ บรรณาธิการ

กรุงเทพมหานคร สหมิตรเมดเิพรส 2538

4. Website : http://www.med.mahidol.ac.th/ortho

http://elearning.ra.mahidol.ac.th/medstudent

การประเมินผล

1. สังเกตการอธิปราย ซักถาม และการตอบคําถามระหวางช่ัวโมง

2. รายงานผูปวยของนักศึกษาแพทยท่ีรับผูปวยเน้ืองอกกระดูก

3. การสอบลงกองและการสอบรวบยอด โดยวิธี

- MCQ

- CRQ

- OSCE

Page 26: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

26

แผนการศึกษา (สําหรับนักศึกษา)

รองศาสตราจารย วารี จิรอดิศัย

เร่ือง เวชศาสตรฟนฟูในโรคปวดกลามเน้ือ กระดูกและขอ

(Rehabilitation in Musculoskeletal Pain)

สําหรับ นักศึกษาแพทยช้ันปท่ี 5

ระยะเวลา 1 ช่ัวโมง 30 นาที

ผูรับผิดชอบ รองศาสตราจารย วารี จิรอดศิัย

กิจกรรมการเรียนการสอน การบรรยาย

วัตถุประสงคการเรียนรู เมื่อจบการเรียนการสอนแลว นักศึกษาสามารถ

1. บอกแนวทางการรักษาทางเวชศาสตรฟนฟูสําหรับผูปวยท่ีมภีาวะปวดกลามเน้ือ กระดูกและขอ ท่ีพบ

บอยไดพอสังเขป ไดแก Myofascial pain ,ปวดคอ –หลัง จากภาวะขอเสื่อม (Spondylosis) ,ปวด

เขา (Osteoarthritis), ปวดไหล ไหลตดิ (Tendinitis, adhesive capsulitis of shoulder) ,ปวด

ขอศอก ขอมือ จากภาวะเอ็นอักเสบ (Lateral epicondylitis , De Quervain) , ปวดสนเทา จาก

ภาวะเอ็นอักเสบ (Plantar fascitis)

2. ใหการดูแลรักษาและคําแนะนําการบริหารและการปรับเปลี่ยนกิจกรรมแกผูปวย(กลุม)โรคปวดกลามเน้ือ

กระดูกและขอ ท่ีไมซับซอนได

3. ตระหนักถึงความสําคญัของการดูแลผูปวย(กลุม)โรคปวดกลามเน้ือ กระดูกและขอ แบบ

องครวม

การจัดประสบการณการเรียนรู

1. ในชั้นเรียน

นําเขาสูบทเรียน อภิปรายเก่ียวกับ (กลุม)โรคปวดกลามเน้ือ กระดกูและขอ

บรรยายประกอบสื่อการตรวจรางกาย

สาธิตและฝกปฏิบัต ิ

สรุปเน้ือหาและซักถาม

สื่อการศึกษา

1. Computer

2. เครื่องฉาย LCD

การประเมินผล

1. การซักถามและพฤติกรรมในช้ันเรยีน

2. การสอบ MCQ และ OSCE

Page 27: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

27

แผนการศึกษา (สําหรับนักศึกษา)

ผูชวยศาสตราจารย พัชรวิมล คุปตนิรัติศยักุล

เร่ือง กายอุปกรณเทียมสําหรับขา (Prosthesis)

สําหรับ นักศึกษาแพทยช้ันปท่ี 5

ระยะเวลา 1 ช่ัวโมง

ผูรับผิดชอบ อาจารยภาควิชาเวชศาสตรฟนฟู (ผูชวยศาสตราจารย พัชรวิมล คปุตนิรัติศยักุล)

กิจกรรมการเรียนการสอน การบรรยายประกอบการสาธิตขาเทียมชนิดตางๆ

วัตถุประสงคการศึกษา

ความรูพ้ืนฐาน

1. กายวิภาคระบบกระดูก ขอและกลามเน้ือของแขนและขา

2. การตรวจรางกาย เชน การตรวจพิสัยการเคลื่อนไหว การตรวจกําลังกลามเน้ือ การวัดความยาวของตอขา เปนตน

3. เวชศาสตรฟนฟูสําหรับผูปวยตัดขา

4. พระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. 2534

วัตถุประสงคการเรียนรู : ภายหลังการเรียนรูนักศึกษาสามารถ

1. ประเมินศักยภาพของผูปวยตัดขาเพ่ือพิจารณาการใสขาเทียมในประเด็นตอไปน้ี

1.1 กําลังกลามเน้ือแขนขา

1.2 พิสัยการเคลื่อนไหวของขอตางๆของรางกาย

1.3 ลักษณะของตอขา

1.4 สาเหตุของการตัดขา

1.5 สภาวะและความสามารถของผูปวยกอนการตัดขา

1.6 ปจจัยแวดลอม เชน การสนับสนุนจากครอบครัว สภาพแวดลอมและท่ีอยูอาศัย เปนตน

2. ใหคําแนะนําเบ้ืองตนแกผูปวยตดัขาเพ่ือเตรียมการใสขาเทียมตามระดับของการตดัขา

2.1 การออกกําลังกลามเน้ือ โดยเฉพาะกลามเน้ือเหยียดขอสะโพกและขอเขา

2.2 การพันตอขาใหไดรูป

2.3 การฝกใชเครื่องชวยเดินกอนการใสขาเทียม

3. บอกสวนประกอบหลักของขาเทียมดังน้ี

3.1 ขาเทียมระดับต่ํากวาขอเขา

3.1.1 สวนขอเทาและเทา

3.1.2 ขาทอนลาง

3.1.3 เบาขาเทียม

3.1.4 สวนยึดพยุง

3.2 ขาเทียมระดับเหนือกวาขอเขา

3.2.1 สวนขอเทาและเทา

3.2.1 ขาทอนลาง

3.2.3 ขอเขา

3.2.4 เบาขาเทียม

3.2.5 สวนยึดพยุง

Page 28: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

28

4. เปรียบเทียบขอดีและขอเสียของขาเทียมแบบ exoskeletal และ endoskeletal สําหรับผูปวยตัด

ขาแบบต่ําและเหนือกวาขอเขาตระหนักความสําคัญและอธิบายใหผูปวยดูแล

4.1 สุขภาพรางกายโดยรวมและการควบคุมนํ้าหนักใหคงท่ี

4.2 ตอขาใหอยูในสภาพท่ีด ี

4.3 สวนประกอบตางๆของขาเทียม

5. บอกความสามารถในการเดินและประกอบกิจวัตรประจําวันของผูปวยตัดขาภายหลังการใส

ขาเทียมท่ีเหมาะสม

6. ตระหนักความสาํคัญของโรคท่ีมีผลตอความลมเหลวของการใชขาเทียม เชน โรคหลอดเลือด

สมอง โรคซมึเศรา และโรคขอเสื่อม เปนตน

7. ตระหนักความรูสึก อธิบายและใหกําลังใจผูปวยและญาติ ใหมีความมานะอดทน และหมั่น

ฝกฝนการเดินดวยขาเทียมใหชํานาญ เพ่ือคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึน

8. ระบุแหลงผลติขาเทียมในกรุงเทพมหานคร และตางจังหวัด

หลังชั้นเรียน นักศึกษาศึกษาคูมือใหครบตามวัตถุประสงค

แหลงเรียนรู

คูมือเวชศาสตรฟนฟูสําหรับนักศึกษาแพทย จัดทําโดยภาควิชาเวชศาสตรฟนฟู คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาล

รามาธิบด ีมหาวิทยาลยัมหดิล พ.ศ. 2543 หนา 125 -134

การประเมินผล

1. การสังเกตและการซักถาม

2. การสอบ MCQ, CRQ และ OSCE

Page 29: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

29

แผนการศึกษา (สําหรับนักศึกษา)

(Case – discussion)

รองศาสตราจารย วิวัฒน วจนะวิศิษฐ

เร่ือง การบาดเจ็บกระดูกสันหลัง (Axial skeletal trauma)

สําหรับ นักศึกษาแพทยช้ันปท่ี 5

ระยะเวลา 2 ช่ัวโมง

ผูรับผิดชอบ ภาควิชาออรโธปดิกส

กิจกรรมการเรียนการสอน Case discussion

วัตถุประสงคการศึกษา

ความรูพ้ืนฐาน : กอนช้ันเรียนทบทวนความรูพ้ืนฐาน

1. กายวิภาคศาสตร บริเวณกระดูกสันหลัง (spine) : คอ อก เอว Sacrum และกนกบในสวนกระดกู เยื่อหุมไข

ประสาทสันหลัง หมอนรองกระดกูสันหลัง

2. การซักประวัติ ตรวจรางกายเบ้ืองตน เก่ียวกับกระดูกสันหลังในหัวเรื่อง Locomotor examination และการตรวจ

ระบบประสาท

3. เงาภาพถายรังสีของกระดูกสันหลงัปกติ

วัตถุประสงคการเรียนรู : เมื่อผานการเรยีนรู นักศึกษาสามารถ

1. นิยาม Stable and unstable fracture compression fracture burst fracture + fracture dislocation

2. วินิจฉัยและวินิจฉัยแยกโรคกระดกูสันหลังหักตามขอท่ี 1 จากประวัติและการตรวจรางกาย

3. ระบุปจจยัเสีย่งตอภาวะกระดูกสันหลัง ไดแก

อุบัติเหต ุ

ภาวะกระดูกพรุน จากอายุและภาวะท่ีทําใหกระดูกบาง (Osteomalasia)

4. เปรียบเทียบกระดูกสันหลังหักในดานตอไปน้ี

4.1 กลุมประชากร

4.2 อาชีพ

4.3 กลไกการบาดเจ็บ

4.4 กลไกอาการทางระบบประสาท

4.5 กลไกอาการทางระบบกระดกูสันหลัง

4.6 การวินิจฉัยทางเงาภาพ

5. อธิบายวิธีการดูแลเบ้ืองตน ณ ท่ีเกิดภาวะกระดูกสันหลังหักในดานตอไปน้ี

5.1 สํารวจสภาพผูปวย primary survey

5.2 สํารวจภาวะท่ีเกิดรวม เชน อุบัติเหตุชองทอง ชองอก

5.3 วิธีการ immobilization สวนคอ สวนอก สวนเอว

5.4 การใหยาและสารนํ้าทดแทน

5.5 วิธีการเคลื่อนยายผูปวย

6. ประยุกตวัสดุและอุปกรณตางๆ ท่ีหาได ณ ท่ีเกิดเหตุในการดูแลผูปวยเบ้ืองตน เพ่ือ

ลดอุบัติการณและความรุนแรงของภาวะแทรกซอนท่ีอาจเกิดข้ึน

Page 30: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

30

7. ประเมินขีดความสามารถของตนเองในการดูแลในผูปวยกระดูกหักสนัหลังเบ้ืองตน และ

สงตอไดอยางเหมาะสมและถูกวิธี ตามขอ 5.1, 5.2, 5.3, 5.4

8. ระบุแนวทางการรักษาภาวะกระดูกสันหลังหักไดดังน้ี

8.1 Conservative ใน stable fracture โดยการใสเฝอก ใส brace

8.2 Operative ใน unstable fracture ดวยกาใสเหล็กดามกระดูกสันหลัง

9. ระบุภาวะแทรกซอนและวิธีปองกันไดดังน้ี

9.1 ในกระดูกหัก เชน deformity อาการจากกระดูกสันหลังหักกดทับ เสนประสาท ผลกระทบดาน

Psychosocial

9.2 จากการดูแล pressure sore

10. ตระหนักความวิตกกังวลและความรูสึกของผูปวยและครอบครวั และติดตอสื่อสาร ไดอยางเหมาะสม

ในดานการใหกําลังใจและคําแนะนําในการปฏิบัตติัวท้ังท่ีสถานพยาบาลและท่ีบาน

11. ตระหนักความสาํคัญและใหคําแนะนําผูปวยในการดูแลตัวเองหลังการรักษาไดถูกตอง เชน

11.1 การปองกันภาวะแทรกซอน รวมท้ังทุพพลภาพ

11.2 การทํากายภาพบําบัด ท้ังระหวางและหลังการรักษาภาวะบาดเจ็บกระดูกสันหลัง

11.3 ภาวะผิดปรกติท่ีผูปวยตองมาพบแพทยกอนการนัดหมาย

12. อธิบายผลกระทบตอผูปวยและครอบครัวในดานตางๆ เชน

12.1 ภาวะเศรษฐกิจ

12.2 ภาวะทางสังคม

12.3 การประกอบอาชีพ

12.4 การดําเนินชีวิตประจําวันและชีวิตครอบครัว

สื่อการเรียนการสอน

1. ศึกษาในระบบ E-learning เรื่อง fracture TL และ Fracture spine (โดย รศ.วิวัฒน วจนะวิศิษฐ)

2. Computer

รูปแบบการเรียนการสอน

1. เรื่อง Axial skeletal trauma (แบงเปน 3 กลุมยอย)

2. เลือก case เรื่อง Axial skeletal injury ท่ีสนใจ

3. ฟง Lecture เรื่อง Fracture C-spine หรือ Fracture TL-spine (รศ.วิวัฒน วจนะวิศิษฐ)

4. ตอบคําถามใหถูกตอง และสมบูรณ นํามา presentation ในช่ัวโมง

หลังชั้นเรียนศึกษาดังตอไปนี้

1. ศึกษาคนควาขอมูลเพ่ิมเติมจากตําราออรโธปดิกส (ฉบับเรียบเรียงใหม ครั้งท่ี 3) วิวัฒน วจนะวิศิษฐ

ภัทรวัณย วรธนารตัน ชูศักดิ์ กิจคุณาเสถียร สุกิจ เลาหเจริญสมบัติ บรรณาธิการ บริษัท โฮลสิตกิ พับลิชช่ิง

2. Salter RB. Textbook of disorders and injuries of musculoskeletal system. Baltimore.William &

Wilkins, 1999

3. Website : http://www.med.mahidol.ac.th/ortho

http://elearning.ra.mahidol.ac.th/medstudent

การประเมินผล

- การสอบ MCQ, CRQ และ OSCE

Page 31: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

31

แผนการศึกษา (สําหรับนักศึกษา)

ผูชวยศาสตราจารย มลรัชฐา ภาณุวรรณากร

เร่ือง เครื่องมือทางกายภาพบําบัด (Physical Modalities)

สําหรับ นักศึกษาแพทยช้ันปท่ี 5

ระยะเวลา 1 ช่ัวโมง

ผูรับผิดชอบ อาจารยภาควิชาเวชศาสตรฟนฟู (ผูชวยศาสตราจารยมลรัชฐา ภาณุวรรณากร)

กิจกรรมการเรียนการสอน : การบรรยายประกอบกรณีผูปวยกับการเลือกเครื่องมือทางกายภาพบําบัดชนิดตาง ๆ

วัตถุประสงคการศึกษา

ความรูพ้ืนฐาน

1. ความรูดานฟสิกส เก่ียวกับการเปลี่ยนรูปพลังงานตาง ๆ เปนความรอน

2. ผลของแรงท่ีกระทําตอวัตถุและกระแสไฟฟารูปแบบตาง ๆ

วัตถุประสงค ภายหลังการเรียนรู นักศึกษาสามารถ

1. ระบุชนิดของเครื่องมือทางกายภาพบําบัดท่ีใชบอย ไดแก

1.1 Hydrocollater pack

1.2 Short wave diathermy

1.3 Ultrasound

1.4 TENS

1.5 Traction

2. อธิบายหลักการใชและผลท่ีเกิดข้ึนกับสวนของรางกายจากการใชเครือ่งมือท่ีใหความรอนและความเย็นเพ่ือการรักษา

รวมท้ังขอบงช้ีและขอหาม

3. อธิบายผลท่ีเกิดข้ึนกับสวนของรางกาย ขณะใชเครื่องดึงคอและหลัง

4. อธิบายกลไกในการลดปวดของเครื่องไฟฟากระตุนเสนประสาทผานทางผิวหนัง (Transelectrical Nerve Stimulation

- TENS) และขอบงช้ีในการใช

5. เลือกใชเครื่องมือไดเหมาะสมกับผูปวยกรณตีางๆ

6. อธิบายวิธีการใชความเย็นและความรอนเพ่ือการรักษาเองท่ีบาน ดวยอุปกรณท่ีหาไดงาย เชน กระเปานํ้ารอน หรือ hot-

cold pack เปนตน รวมท้ังขอควรระวัง

7. เลือกใชเครื่องมือท่ีใหความเย็นและความรอนชนิดท่ีใชเองท่ีบานไดใหเหมาะสมกับปญหาของผูปวย เชน

การประคบรอนในกรณีการบาดเจบ็เฉียบพลัน หรือการประคบเย็นในกรณีการบาดเจ็บเรื้อรัง เปนตน

8. ตระหนักความสาํคัญของการเครื่องมือทางกายภาพบําบัดเพ่ือผูปวยนอกเหนือจากการรักษาทางยา หรือโดยการผาตัด

หรือใชเสรมิการรักษาดังกลาว

9. ตระหนักความสาํคัญของแนวโนมวิวัฒนาการของเครื่องมือทางกายภาพบําบัด

10. ระบุการแพทยทางเลือกท่ีเก่ียวของกับเวชศาสตรฟนฟู เชน การฝงเข็ม chiropractor เปนตน

Page 32: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

32

หลังชั้นเรียน

นักศึกษาศึกษาคูมือใหครบตามวัตถุประสงค ทบทวนสิ่งท่ีเรียนมา โดยใหทําแบบทดสอบ หรือ ถาม-ตอบ เก่ียวกับการ

เลือกใชเครื่องมือทางกายภาพบําบัดในผูปวยกรณีตางๆ

แหลงเรียนรู

คูมือเวชศาสตรฟนฟูสําหรับนักศึกษาแพทย จัดทําโดยภาควิชาเวชศาสตรฟนฟูคณะแพทยศาสตร โรงพยาบาล

รามาธิบดี มหาวิทยาลยัมหดิล พ.ศ. 2543 หนา 41-53

การประเมินผล

1. การสังเกตและการถาม

2. การสอบ MCQ CRQ และ OSCE

Page 33: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

33

แผนการศึกษา (สําหรับนักศึกษา)

อาจารย ณัฐพร แสงเพชร

เร่ือง ภาวะขอเสื่อม

สําหรับ นักศึกษาแพทยช้ันปท่ี 5

ระยะเวลา 1 ช่ัวโมง

ผูรับผิดชอบ อาจารยภาควิชาออรโธปดิกส (อาจารยณัฐพร แสงเพชร)

กิจกรรมการเรียนการสอน lecture

วัตถุประสงคการศึกษา (สําหรับนักศึกษาแพทย)

ความรูพ้ืนฐาน

1. กายวิภาคของโครงสรางพ้ืนฐานของขอ : กระดูก articular cartilage เยื่อหุมขอ เสนเอ็น synovial fluid

2. สวนประกอบของกระดูกออนท่ีเปนผิวขอ :cell และ matrix

3. หนาท่ีของกระดูกออน

4. ลักษณะพยาธิสภาพของขอเสื่อม

5. ภาพถายรังสีของกระดูกและขอปกติ

วัตถุประสงคการเรียนรู : เมื่อผานการเรยีนรู นักศึกษาสามารถ

1. ตระหนักความสาํคัญของภาวะขอเสื่อมจากอุบัติการท่ีเพ่ิมข้ึน อันมผีลตอสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชนและ

ประเทศ

2. นิยามภาวะขอเสื่อม osteoarthritis, Primary osteoarthritis และSecondary osteoarthritis

3. จําแนกประเภทของขอเสื่อม ชนิด Primary osteoarthritis และSecondary osteoarthritis ในดาน

3.1 สาเหต ุ

3.2 กลุมประเภท

3.3 ปจจัยเสี่ยง

3.4 โรคประจําตัว

4. ระบุสาเหตุของชนิดของ Secondary osteoarthritis ไดแก trauma, infection, congenital

anomaly, inflammation,metabolic, avascular necrosis, neuropathic arthropathy

5. บอกอาการและอาการแสดงในผูปวยขอเสื่อม

6. อธิบายหนาท่ีและโครงสรางของกระดูกออนผิวขอ (articular cartilage)

7. อธิบายและเขียนแผนภูมิกลไกการเกิดภาวะขอเสื่อมท้ัง Primary osteoarthritis และ

Secondary osteoarthritis และเช่ือมโยงกับลักษณะพยาธิสภาพท่ีพบในผูปวยได

8. ประยุกตลักษณะทางพยาธิสภาพของขอเสื่อม เพ่ืออธิบายอาการและอาการแสดงของผูปวยได

9. อธิบายปจจัยท่ีมผีลตอความรุนแรงของภาวะขอเสื่อม ดังน้ี

9.1 ปจจัยท่ีเปลี่ยนแปลงไมได ไดแก อายุ เพศ เช้ือชาติ

9.2 ปจจัยท่ีเปลี่ยนแปลงได ไดแก นํ้าหนัก การใชงาน อาหาร กลามเน้ือท่ีออนแรง

10. วินิจฉัยภาวะและจําแนกขอเสื่อมท้ังสองประเภท จากประวัติ และการตรวจรางกาย

11. ระบุทาการตรวจและภาพรังสีท่ีเปนประโยชนตอการวินิจฉัยภาวะขอเสื่อม ไดแก AP และ

lateral โดยสั่งตรวจละแปรผลไดถูกตอง

Page 34: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

34

12. อธิบายข้ันตอนการรักษาผูปวยขอเสื่อม พรอมเหตผุลดังน้ี

12.1 การรักษาโดยวิธีอนุรักษ

12.1.1 การใหความรู และคําแนะนําผูปวย

12.1.2 การให therapeutic exercise ในผูปวย : quadriceps exercise (close chain)

12.1.3 การใช Gait aid และ Knee Brace

12.2 การใหยาตานการอักเสบ ระบุชนิดของยาตานการอักเสบท่ีนิยมในปจจุบันและผลขางเคียง พรอมยกตัวอยาง

12.2.1 Cycloxygenase 1 หรือ COX I หรือ conventional NSAIDS เชน diclefenac, naprosyn

12.2.2 Cycloxygenase 2 หรือ COX 2 หรือ high specific COX II เชน celecocib

12.3 การผาตัด เชน arthrodesis และ Collection osteotomy และ Arthroplasty

13. ตระหนักความสาํคัญและใหคําแนะนําผูปวยและประชาชนเก่ียวกับ ปจจัยเสี่ยงท่ีทําใหเกิดขอเสื่อม และแนวทางใน

การปฏิบัตเิพ่ือลด และปองกันภาวะขอเสื่อม

สื่อการเรียนการสอน

1. ศึกษาในระบบ E-learning เรือ่ง Degenerative joint disease (โดยอาจารยณัฐพร แสงเพชร)

2. Computer

3. จอ LCD

4. Laser pointer

5. เอกสารประกอบการเรียนการสอน

แหลงเรียนรู

1. ศึกษาคนควาขอมูลเพ่ิมเติมจากตําราออรโธปดิกส (ฉบับเรียบเรียงใหม ครั้งท่ี 3) วิวัฒน วจนะวิศิษฐ

ภัทรวัณย วรธนารัตน ชูศักดิ ์ กิจคุณาเสถียร สุกิจ เลาหเจรญิสมบัติ บรรณาธิการ บริษัท โฮลิสติก พับลิชช่ิง

หนา 325 - 340

2. การตรวจรางกายทางออรโธปดกิสซึ่งนักศึกษาสามารถตดิตอขอดเูปนวีดีทัศน จากภาควิชาออรโธปดิกส ซึ่งควรจะได

ศึกษากอนเรียนเรื่องภาวะแทรกซอน

3. Website : http://www.med.mahidol.ac.th/ortho

http://elearning.ra.mahidol.ac.th/medstudent

การประเมินผล

1. จากการซักถาม และการตอบในช้ันเรียน

2. การสอบ (MCQ,OSCE,CRQ)

3. การสอบลงกองและการสอบรวบยอด

Page 35: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

35

แผนการศึกษา (สําหรับนักศึกษา)

ผูชวยศาสตราจารย พัชรวิมล คุปตนิรัติศยักุล

เร่ือง เวชศาสตรฟนฟูในผูปวยเสนประสาทสวนปลายบาดเจบ็ (Rehabilitation in Peripheral Nerve Injuries)

สําหรับ นักศึกษาแพทยช้ันปท่ี 5

ระยะเวลา 1 ช่ัวโมง

ผูรับผิดชอบ อาจารยภาควิชาเวชศาสตรฟนฟู (ผูชวยศาสตราจารยพัชรวิมล คุปตนิรัติศยักุล)

กิจกรรมการเรียนการสอน การบรรยาย และยกตัวอยางผูปวยเสนประสาทสวนปลายบาดเจ็บท่ีพบบอย ๆ โดยใหนักศึกษา

แพทยอภิปรายรวมกัน

วัตถุประสงคการศึกษา

ความรูพ้ืนฐาน

1. ลักษณะทางกายวิภาคและจลุกายวิภาคของเสนประสาทสวนปลาย

1.1 Endoneurium

1.2 Perineurium

1.3 Epineurium

2. ทางเดินและแขนงของเสนประสาทสวนปลายท่ีพบการบาดเจ็บไดบอย เชน brachial plexus, median nerve, ulnar

nerve, radial nerve, sciatic nerve, tibial nerve และ peroneal nerve เปนตน

3. การตรวจรางกาย ไดแก การตรวจกําลังกลามเน้ือ การตรวจการรบัความรูสึก และการตรวจปฏิกิริยาตอบสนองของ

กลามเน้ือ

วัตถุประสงค ภายหลังการเรียนรู นักศึกษาสามารถ

1. อธิบายหลักการแบงชนิดการบาดเจ็บเสนประสาทสวนปลายตามหลกัของ

1.1 Seddon’s classification

1.1.1 Neurapraxia

1.1.2 Axonotmesis

1.1.3 Neurotmesis

1.2. Sunderland’s classification

1.2.1 First-degree injury

1.2.2 Second-degree injury

1.2.3 Third-degree injury

1.2.4 Fourth-degree injury

1.2.5 Fifth-degree injury

2. เปรียบเทียบความสัมพันธของความรุนแรงการบาดเจ็บเสนประสาทสวนปลายตามหลักของ

Seddon’s classification และ Sunderland’s classification (ดังขอ1)

3. อธิบายการพยากรณโรคหลังเสนประสาทสวนปลายบาดเจ็บในระดับความรุนแรงตาง ๆ (ดังขอ 1) ไดอยางถูกตอง

Page 36: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

36

4. วินิจฉัยและจําแนกความรุนแรงของภาวะของเสนประสาทสวนปลายบาดเจ็บไดจาก

4.1 การซักประวัติ เชน

4.2 ลักษณะการบาดเจ็บท่ีเกิดข้ึน

4.3 ระยะเวลาหลังการบาดเจ็บจนมาพบแพทย

4.4 การเปลีย่นแปลงท่ีเกิดข้ึนหลังการบาดเจ็บ

4.5 การตรวจรางกาย เชน

4.5.1 การตรวจกําลังกลามเน้ือ

4.5.2 การตรวจการรับความรูสึก

4.5.3 การตรวจปฏิกิรยิาตอบสนองของกลามเน้ือ

5. ตระหนักความสาํคัญและอธิบายภาวะแทรกซอนอาจท่ีเกิดข้ึนหลังเสนประสาทสวนปลายบาดเจ็บ ไดแก

5.1 กลามเน้ือออนแรง

5.2 ขอยึดติด

5.3 กลามเน้ือหดสั้น

5.4 สูญเสียการรับความรูสึก

5.5 มีความผดิปกติของระบบประสาทอัตโนมัต ิ

5.6 อาการปวด

6. อธิบายประโยชนและขอบงช้ีของการตรวจไฟฟาวินิจฉัย

7. ระบุวิธีการรักษาทางเวชศาสตรฟนฟูเบ้ืองตนท่ีแพทยท่ัวไปสามารถทําไดเอง

7.1 การออกกําลังกายเพ่ือการรักษา

7.2 การจัดทาทางท่ีเหมาะสม

7.3 การใชเครื่องมือทางกายภาพท่ีเหมาะสม

8. ประเมินขีดความสามารถของตนเองในการรักษาทางเวชศาสตรฟนฟู รวมท้ังการสงตอท่ีเหมาะสม

9. ตระหนักความสาํคัญ ใหกําลังใจและคําแนะนําผูปวยและญาติในการดูแลตนเอง รับการรักษาอยางตอเน่ือง เพ่ือปองกัน

ภาวะแทรกซอนท่ีอาจเกิดข้ึน

หลังชั้นเรียน นักศึกษาศึกษาคูมือใหครบตามวัตถุประสงค

แหลงเรียนรู

คูมือเวชศาสตรฟนฟูสําหรับนักศึกษาแพทย จัดทําโดยภาควิชาเวชศาสตรฟนฟูคณะแพทยศาสตรโรงพยาบาล

รามาธิบด ีมหาวิทยาลยัมหดิล พ.ศ. 2543 หนา 203-213

การประเมินผล

1. การสังเกตและการซักถาม

2. การสอบ MCQ, CRQ และ OSCE

Page 37: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

37

แผนการศึกษา (สําหรับนักศึกษา)

ศาสตราจารยคลินิก พรชัย มูลพฤกษ

เร่ือง Congenital and Developmental problems of Musculoskeletal system

สําหรับ นักศึกษาแพทยช้ันปท่ี 5

ระยะเวลา 55 นาที

ผูรับผิดชอบ ภาควิชาออรโธปดิกส (รศ.นพ. พรชัย มูลพฤกษ)

กิจกรรมการเรียนการสอน lecture case-based

วัตถุประสงคการศึกษา

ความรูพ้ืนฐาน : กอนช้ันเรียนทบทวนความรูพ้ืนฐาน

1. การพัฒนาของรยางคสวนบนและลางของเด็กในครรภ

2. คํานิยามของลักษณะความผิดปกติของรูปรางแบบตางๆ ในระบบกลามเน้ือและกระดูก เชน abduction

adduction, equnious, varus, valgus

วัตถุประสงคการเรียนรู : เมือ่ผานการเรียนรูนักศึกษาสามารถ

1. บอกคําจํากัดความของความผิดปกติไดถูกตอง

Congenital หมายถึง ความผิดปกติท่ีเปนมาแตกําเนิดและปรากฏใหเห็นทันทีหลังคลอด

Developmental หมายถึง ความผิดปกติท่ีอาจปรากฏใหเห็นทันทีหรือหลังจากคลอดแลวระยะหน่ึง และคอย

เปนคอยไป

2. บอกปจจัยท่ีทําใหเกิดความผิดปกติของระบบกลามเน้ือและกระดูกในเด็กแรกเกิดพรอมตัวอยาง

ภายในครรภ ไดแก ความผิดปกติของโครโมโซมและยีนส

ภายนอกครรภ ไดแก แรงกระทําจากมดลูกหรือกระดูกเชิงกราน รังสี ยา และการติดเช้ือ เชน เช้ือ

rubella

3. ระบุความผิดปกติแตกําเนิดของรยางคสวนบนท่ีพบบอยและหลักในการรักษา เชน syndactyly, polydactyly,

congenital radial club hand

4. ตระหนักความสาํคัญของการสํารวจความผดิปกติของอวัยวะระบบอ่ืน ในแตละกรณีของความผิดปกติแตกําเนิดของ

รยางคสวนบน เชน กระดูกสันหลัง ระบบหัวใจและหลอดเลือด ระบบทางเดินหายใจและ ทางเดินอาหาร และ

รยางคสวนลาง

5. บอกความผิดปกติแตกําเนิดของรยางคสวนลางท่ีสาํคัญและพบบอย เชน club foot developmental dysplasia

of the hip (DDH)

6. นิยามภาวะเทาปุกชนิดตางๆ 3 แบบ ไดแก positional flexible และ rigid

7. บอกหลักการในการดูแลรักษาภาวะเทาปุก

8. นิยามภาวะขอสะโพกหลุดในเด็กแรกเกิด

9. ระบุกลุมเสี่ยงและอธิบายสาเหตุของการเกิดขอสะโพกหลดุในเด็กแรกเกิดได รวมท้ังความผิดปกติท่ีเกิดรวมกัน

10. อธิบายข้ันตอนการตรวจรางกายขอสะโพกเด็กแรกเกิด เพ่ือการวินิจฉัยขอสะโพกหลุดไดถูกตอง ไดแก การตรวจ

Ortolani และ Barlow

11. เปรียบเทียบและวินิจฉัยเงาภาพขอสะโพกปกติและขอสะโพกหลุดไดถูกตอง

Page 38: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

38

12. บอกหลักในการดูแลรักษาเด็กแรกเกิดท่ีมีขอสะโพกหลดุได

13. ตระหนักความสาํคัญของการตรวจสภาพทารกแรกเกิดทุกระบบ รวมท้ังรยางคสวนบนและลาง เพ่ือการวินิจฉัย

และสงตอเพ่ือการบําบัดรักษา ภาวะผิดรูปรางแตกําเนิดในระยะแรกเริ่ม

14. ตระหนักความสาํคัญ ของการใหความรูประชาชนเพ่ือลดปจจัยเสี่ยง และปองกันภาวะรยางคผิดปกติแตกําเนิด

โดยเฉพาะปจจัยจากภายนอก

15. ตระหนักความรูสึกของบิดามารดาทารกผิดรูป และสื่อสาร ใหกําลังใจ ใหขอมูลและการดูแลรักษาจากผูเช่ียวชาญ

ในระยะยาว

16. ตระหนักและอธิบายขอเสียของรยางคผิดรูปแตกําเนิด ไดแก

สภาพจติใจของพอแม

สภาพผูปวย

เศรษฐกิจของครอบครัว โดยเฉพาะท่ีเก่ียวกับการดูแล

การยอมรับในสังคม

การดํารงชีวิตในวัยเรียนและวัยทํางาน รวมท้ังการประกอบอาชีพ

สื่อการเรียนการสอน

1. Computer

2. จอ LCD

4. Laser pointer

3. เอกสารประกอบการเรียนการสอน

หลังชั้นเรียนศึกษาดังตอไปนี้

1. ศึกษาคนควาขอมูลเพ่ิมเติมจากตําราออรโธปดิกส (ฉบับเรียบเรียงใหม ครั้งท่ี 3) วิวัฒน วจนะวิศิษฐ

ภัทรวัณย วรธนารัตน ชูศักดิ ์ กิจคุณาเสถียร สุกิจ เลาหเจรญิสมบัติ บรรณาธิการ บริษัท โฮลิสติก พับลิชช่ิง

หนา 397 - 424

2. Sataheli LT, Fundamentals of pediatric orthopaecis. New York: Raven Press, 1992.

3. La Rocca H. Embryology of the neuromusculoskeletal apparatus. In: Lovell WW,

Winter RB, eds. Pediatric Orthopaedic. Vol 1,2 ed. Philadlphia: JB Lippincott, 1986, Page 1-24

4. Website : http://www.med.mahidol.ac.th/ortho

http://elearning.ra.mahidol.ac.th/medstudent

การประเมินผล

1. จากการซักถามและการตอบในช้ันเรียน

2. การสอบลงกอง: MCQ

3. การสอบลงกอง: CRQ

4. การสอบลงกอง: OSCE

Page 39: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

39

แผนการศึกษา (สําหรับนักศึกษา)

อาจารย ศิวดล วงคศักดิ ์

เร่ือง ภาวะแทรกซอนของกระดูกและขอเคลื่อน

สําหรับ นักศึกษาแพทยช้ันปท่ี 5

ระยะเวลา 1 ช่ัวโมง

ผูรับผิดชอบ อาจารยภาควิชาออรโธปดิกส (อาจารยศิวดล วงคศักดิ์)

กิจกรรมการเรียนการสอน Case-based lecture

ความรูพ้ืนฐาน

1. กายวิภาคของกระดูกและขอท้ังรางกาย

2. กลไกการบาดเจ็บของรางกาย

3. การซักประวัติตรวจรางกายทางออรโธปดิกส

4. หลักการรักษาผูปวยกระดูกหักและขอเคลื่อนเบ้ืองตน ดังน้ี

4.1 การดาม

5. พ้ืนฐานการเคลื่อนยายผูปวย

6. กลไกการเกิดและการวินิจฉัย compartment syndrome

วัตถุประสงคการเรียนรู : เมื่อผานการเรยีนรู นักศึกษาสามารถ

1. ตระหนักความสาํคัญของการซักประวัติตรวจรางกายผูบาดเจ็บกระดูกหักและขอเคลื่อนรวมท้ัง primary และ

secondary survey

2. อธิบายกลไกการบาดเจ็บจากกระดูกหักและขอเคลื่อนเพ่ือวางแผนการรักษาเบ้ืองตนได

3. วินิจฉัยและตระหนักภาวะแทรกซอนท่ีสําคัญอันเกิดจากภาวะกระดกูหักและขอเคลื่อน เชน

3.1 Acute complication

3.2 Late complication

4. ระบุช่ือการสงตรวจพิเศษในปจจุบัน เพ่ือสนับสนุนการวินิจฉัยและบอกความรุนแรง ของภาวะแทรกซอน ดังน้ี

4.1 plain film & special views

4.2 MRI

5. อธิบายแนวทางและวิธีการปองกันไมใหเกิดภาวะแทรกซอนจากกระดูกหักและขอเคลื่อน ในกรณีขอ 3

6. ใหการรักษาภาวะแทรกซอนในเบ้ืองตนเพ่ือไมใหเกิดอันตรายตอชีวิตหรือสญูเสียแขน ขา หรือ สญูเสยีหนาท่ีของ

แขน ขาน้ัน ๆ ไดแก

6.1 Compartment syndrome

6.2 Malunion

6.3 Delay & nonunion

7. ประเมินขีดความสามารถของตนเองในการดูแลผูปวยเบ้ืองตนและสงตอไดอยางเหมาะสม และถูกวิธี

8. ตระหนักความวิตกกังวลและความรูสึกของผูปวยและครอบครัว และตดิตอสื่อสารไดอยางเหมาะสมในดานการให

กําลังใจและคําแนะนําในการปฏิบัติตัวท้ังท่ีสถานพยาบาลและท่ีบาน

9. ตระหนักความสาํคัญของการฝกปฏิบัติหัตถการท่ีจําเปน เพ่ือใหเกิดความชํานาญและสามารถชวยเหลอืผูปวยได

อยางมีประสิทธิภาพทันทวงที

10. ประยุกตวัสดุและอุปกรณตางๆ ท่ีหาได ในการดแูลผูปวยเบ้ืองตนและการรักษาไดเหมาะสม เพ่ือลดอุบัติการณ

และความรุนแรงของภาวะแทรกซอนท่ีอาจเกิดข้ึน

Page 40: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

40

สื่อการสอน

1. Computer

2. จอ LCD

3. Laser pointer

4. หุนโครงกระดูกท้ังตัวในช้ันเรียน

5. เอกสารประกอบการเรียนการสอน

แหลงเรียนรู

1. ศึกษาคนควาขอมูลเพ่ิมเติมจากตําราออรโธปดิกส (ฉบับเรียบเรียงใหม ครั้งท่ี 3) วิวัฒน วจนะวิศิษฐ

ภัทรวัณย วรธนารัตน ชูศักดิ์ กิจคุณาเสถียร สุกิจ เลาหเจรญิสมบัติ บรรณาธิการ บรษัิท โฮลสิติก พับลิชช่ิง

หนา 73 - 84

2. วีดีทัศน เรื่อง การตรวจรางกายทางออรโธปดิกส (ขอดูไดท่ี ภาควิชาออรโธปดิกสกอนเขาช้ันเรยีน)

3. Website : http://www.med.mahidol.ac.th/ortho

http://elearning.ra.mahidol.ac.th/medstudent

การประเมินผล

1. จากการสังเกตและซักถาม

2. การสอบ ( MCQ, CRQ, OSCE)

Page 41: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

41

แผนการสอน (สําหรับนกัศึกษา)

ผูชวยศาสตราจารยสรศักดิ์ ศุภผล

เร่ือง ปญหาทางมือท่ีพบบอย (Common Hand Problems)

รหัส RAID 514

เกณฑแพทยสภา

ชื่อหลักสูตร รายวิชาออรโทพีดิกสและเวชศาสตรฟนฟู

สําหรับ นักศึกษาแพทยช้ันปท่ี 5

อาจารยผูสอน อาจารยสรศักดิ์ ศภุผล

วุฒิการศึกษา พบ.,วว.ศัลยสาสตรออรโธปดิกส

ชองทางติดตอ ภาควิชาออรโธปดิกส คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี

มหาวิทยาลัยมหิดล โทร 02-2011589

วัน เดือน ป ท่ีสอน วันจันทรท่ี 20 พฤษภาคม 2556

เวลาท่ีสอน 60 นาที

ความรูพ้ืนฐาน

1. ความรูพ้ืนฐานดานกายวิภาคของมือ ขอมือ และขอศอก

2. ความรูพ้ืนฐานดานวิทยาศาสตรพ้ืนฐานของเสนเอ็น เสนประสาท

3. พ้ืนฐานในการซักประวัติและการตรวจรางกาย

วัตถุประสงคการเรียนรู เมื่อผานการเรยีนรูแลว นักศึกษาสามารถ

1. อธิบายพยาธิสภาพและพยาธิกําเนิดของโรคท่ีพบบอยทางมือได

2. สามารถซักประวัติและตรวจรางกายในโรคท่ีพบบอยทางมือได

3. ใหการวินิจฉัยและวินิจฉัยแยกโรคของโรคท่ีพบบอยทางมือได

4. แนะนําแนวทางการรักษาของโรคท่ีพบบอยทางมือได

5. ใหคําแนะนําในการปองกัน และสงเสรมิสุขภาพเพ่ือปองกันโรคท่ีพบบอยทางมือได

เนื้อหาวิชาท่ีสอนโดยสังเขป

1. โรคน้ิวติดสะดดุ หรือน้ิวลอค

2. โรคปลอกหุมเสนเอ็นอักเสบท่ีขอมือ

3. โรคพังผืดทับเสนประสาทท่ีขอมือ

4. พยาธิสภาพ พยาธิกําเนิดของโรคดังกลาว

5. การซักประวัติและตรวจรางกายของโรคดังกลาว

6. การวินิจฉัยและวินิจฉัยแยกโรคของโรคดังกลาว

7. แนวทางการรักษาตางๆของโรคดังกลาว

8. วิธีปองกันและสงเสรมิสุขภาพของโรคดังกลาว

สื่อการเรียนรู

1. Keynote

2. LCD

3. E-learning เรื่อง Common Hand Prob lems

4. Website : http://www.med.mahidol.ac.th/ortho

http://elearning.ra.mahidol.ac.th/medstudent

Page 42: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

42

แหลงขอมลูท่ีคนควาศึกษาเพ ิ่มเติม

1. ตําราออรโธปดิกส ฉบับเรียบเรียงใหมครั้งท่ี 3 ป 2550 คณะแพทยศาสตร รพ.รามาธิบดี

หนา 484-492

2. www.emedicine.com

การวัดผลการเรียนรู

ตัวช้ีวัด ผลการสอบภาคทฤษฎ ี

เกณฑการวัดผลการเรยีนรู ใชการวัดผลโดยอิงเกณฑ ผลการศึกษาไดเกรดไมต่าํกวา D+

วิธีการ สอบภาคทฤษฏ ี

1. สังเกตพฤติกรรมขณะเรยีน ดานความสนใจ ความสามารถในการตอบคําถาม การมีสวนรวมในการอภิปราย

ซักถามและใหเหตผุล

2. Multiple choice question (MCQ) เกณฑในการผาน ไมต่าํกวารอยละ 48

3. Constructed response question (CRQ) เกณฑในการผาน ไมต่ํากวารอยละ 45

หมายเหตุ

1. เกณฑการวัดผล แกไขปรับปรุงเมื่อ 15 มีนาคม 2554

2. การสอบรวบยอดและการประเมินเพ่ือรับใบประกอบวิชาชีพเวชกรรม MCQ และ CRQ

Page 43: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

43

TABLE OF SPECIFICATION

ตารางจําแนกเน้ือหาและพฤติกรรมรายวิชา ออรโทพีดิกสและเวชศาสตรฟนฟู 1

วิชายอย ปญหาทางมือท่ีพบบอย (Common Hand Problems)

สําหรับนักศึกษาแพทยปท่ี 5

หัวขอท่ี

เน้ือหา

นํ้าหนักความสําคัญของ

แตละพฤติกรรม

100%

นํ้าหนักของ

เน้ือหาแตละ

หัวขอ (%)

อันดับ

ความ

สําคัญ ความจํา

(%)

ความเขาใจ

(%)

การนําไปใช

(%)

1 อธิบายพยาธิสภาพและพยาธิกําเนิดของ

โรคท่ีพบบอยทางมือได 40 40 20 25 3

2 สามารถซักประวัติและตรวจรางกายใน

โรคท่ีพบบอยทางมือได 20 30 50 35 1

3 ใหการวินิจฉัยและวินิจฉัยแยกโรค

ของโรคท่ีพบบอยทางมือได 20 30 50 20 2

4 แนะนําแนวทางการรักษาของโรคท่ีพบ

บอยทางมือได 20 30 50 10 4

5

ใหคําแนะนําในการปองกัน และสงเสริม

สุขภาพเพ่ือปองกันโรคท่ีพบบอยทางมือ

ได

20 30 50 10 5

รวม 24 32 44 100

Page 44: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

44

แผนการศึกษา (สําหรับนักศึกษา)

อ. พญ. ชนิกา อังสนันทสุข

รศ. ดร. ภัทรวัณย วรธนารตัน

เร่ือง skeletal Trauma in Children

สําหรับ นักศึกษาแพทยช้ันปท่ี 5

ระยะเวลา 60 นาที

ผูรับผิดชอบ อาจารยภาควิชาออรโธปดิกส

(อ. ชนิกา, อ. ภัทรวัณย)

กิจกรรมการเรียนการสอน Problem – based Learning

ความรูพ้ืนฐาน

1. กายวิภาคของกระดูกและขอในเดก็ โดยเฉพาะ epiphyseal plate

2. พัฒนาการและการเจริญเติบโตของกระดูกและขอในเด็ก

3. ชนิดและลักษณะการบาดเจ็บของกระดูกและขอในเด็กท่ีพบไดบอย

4. ลักษณะภาพถายรังสีของกระดูกและขอในเด็ก

5. ลักษณะกลไกการเกิด และการวินิจฉัย compartment syndrome

วัตถุประสงคการเรียนรู: เมื่อผานการเรยีนรูนักศึกษาสามารถ

1. ตระหนักถึงความสําคญัของการเกิดการบาดเจ็บของ epiphyseal plate กระดูกหักและขอเคลื่อนในเด็ก

2. นิยามชนิดและลักษณะการบาดเจบ็ของกระดูกท่ีพบบอยในเด็ก ไดแก การบาดเจ็บของกระดูกตนแขนสวน

ปลาย กระดูกตนขา และกระดูกหนาแขง

3. อธิบายกลไกการเกิดกระดูกหักและขอเคลื่อนท่ีพบบอยในเด็ก

4. วินิจฉัยและวินิจฉัยแยกชนิดของกระดูกหักท่ีพบบอยในเด็กในผูปวยจําลองได

5. อธิบายหลักการและแนวทางการรกัษากระดูกหักท่ีพบบอยในเด็ก ในผูปวยจําลองไดอยางถูกตองและ

เหมาะสม

6. ตระหนักถึงความสําคญัของเฝาระวังและปองกันการเกิดภาวะแทรกซอนจากการบาดเจ็บของกระดูกและขอ

7. อธิบายหลักการและแนวทางการปองกันและรักษาภาวะแทรกซอนจากกระดูกหักไดอยางถูกตองเหมาะสม

8. ประเมินขีดความสามารถในการดแูลผูปวยเบ้ืองตนดวยตนเองและสงตอแพทยออรโธปดิกสไดอยางถูกตอง

และเหมาะสม

9. ตระหนักถึงความสําคญัของการสือ่สาร และอธิบายใหผูปกครองและญาตผิูปวยเขาใจสาเหตุ การวินิจฉัย การรักษาการ

พยากรณโรค และภาวะแทรกซอน

Page 45: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

45

สื่อการเรียนการสอน

1. computer

2. จอ LCD

3. Laser pointer

4. เอกสารประกอบการสอนเพ่ือเตรยีมกอนเขาช้ันเรียน จํานวน 1 หนา

5. เอกสารประกอบการสอน (โจทยผูชวย) จํานวน 5 หนา

6. ใหศึกษาในระบบ E-learning เรื่อง Common fracture in children (โดยอาจารยอํานวย จริะสริกุิล)

แหลงเรียนรู

1. ศึกษาคนควาขอมูลเพ่ิมเติมจากตําราออรโธปดิกส (ฉบับเรียบเรียงใหม ครั้งท่ี 3) วิวัฒน วจนะวิศิษฐ

ภัทรวัณย วรธนารัตน ชูศักดิ์ กิจคุณาเสถียร สุกิจ เลาหเจริญสมบัติ บรรณาธิการ บริษัท โฮลสิติก พับลิชช่ิง

หนา 252 -287

2. ใหนักศึกษาทําความเขาใจคําถามท่ีแจกใหกอนเขาเรยีน ซึ่งจะแจก 1 สัปดาหกอนการ เรยีนการสอน โดยแจก

โจทย 1 เรื่อง ตอนักศึกษา 1 กลุม (กลุมละ 3 – 4 คน ท่ีกําหนดตามสาย) และใหนักศึกษาเตรียมอภิปรายในช้ันเรียน

อยางไรก็ดีนักศึกษาจะยังไมทราบแนชัดวาผูปวยในโจทยน้ันไดรบัการวินิจฉัยเปนอะไร จนกวาจะเห็นภาพถายรังส ี

ในช้ันเรียน ดังน้ันเมื่อทราบโจทย แลวตองตั้งสมมุติฐาน และหาความรูเพ่ิมเติมใหครอบคลุมตามสมมุติฐานน้ัน ๆ เพ่ือให

นักศึกษาสามารถอภิปรายคําถามตาง ๆ ในช้ันเรียนได

3. ในช้ันเรียน นักศึกษาแตละกลุมจะนําเสนอและอภิปรายตามคาํถามท่ีไดรับมอบหมายโดยอาจารยจะเพ่ิมเติม

ขอมูลผูปวย (ประวัติ ภาพถายรังส)ี เพ่ือประกอบการอภิปราย โดยจะใชเวลาประมาณกลุมละ 10 นาที

4. นักศึกษากลุมท่ีเหลือ สามารถอภิปรายและซักถามรวมดวยได

5. อาจารยสรุปวิธีการตั้งสมมุติฐาน การวินิจฉัยเบ้ืองตน การสงตรวจเพ่ิมเตมิ โดยเฉพาะทางภาพรังสี การรักษา

ภาวะแทรกซอนและการพยากรณโรค

6. ถามีเวลาเพ่ิมเติมอาจารยจะนําเสนอภาพถายรังสีเพ่ิมเตมิเพ่ือใหเปนความหลากหลายของกระดูกหกัและขอเคลื่อนในเด็ก

7. Website : http://www.med.mahidol.ac.th/ortho

http://elarning.ra.mahidol.ac.th

การประเมินผล

1. จากการซักถามและการตอบในช้ันเรียน

2. การสอบลงกอง MCQ, CRQ, OSCE

Page 46: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

46

แผนการศึกษา (สําหรับนักศึกษา)

ผูชวยศาสตราจารย เฉลิมชัย ลมิติเลาหพันธุ

เร่ือง Orthopaedic emergency

สําหรับ นักศึกษาแพทยช้ันปท่ี 5

ระยะเวลา 1 ช่ัวโมง

ผูรับผิดชอบ อาจารยภาควิชาออรโธปดิกส (ผูชวยศาสตราจารยเฉลิมชัย ลมิิตเลาหพันธุ)

กิจกรรมการเรียนการสอน Lecture

วัตถุประสงคการศึกษา (สําหรับนักศึกษาแพทย)

ความรูพ้ืนฐาน

1. กายวิภาคของโครงสรางพ้ืนฐานของขอ

2. สวนประกอบของกระดูกออนท่ีเปนผิวขอ

3. หนาท่ีของกระดูกออน

4. ลักษณะพยาธิสภาพของขอเสื่อม

5. ภาพถายรังสีของขอเสื่อม

วัตถุประสงคการเรียนรู : เมื่อผานการเรยีนรู นักศึกษาสามารถ

1. อธิบายความหมายของภาวะขอเสือ่ม

2. สามารถแบงประเภทของขอเสื่อม ไดแก

2.1 Primary osteoarthritis

2.2 Secondary osteoarthritis

3. อธิบายอาการและการตรวจรางกาย ท่ีพบในผูปวยขอเสื่อม

4. เขาใจกลไกการเกิดภาวะขอเสื่อม และสามารถนําไปเช่ือมโยงกับลักษณะพยาธิสภาพท่ีพบในผูปวยได

5. ประยุกตนําความรูทางลักษณะทางพยาธิสภาพของขอเสื่อม มาอธิบายอาการและอาการแสดงของผูปวยได

6. ใหการวินิจฉัยภาวะขอเสื่อม จากประวัติ และการตรวจรางกาย รวมท้ังการแปรผลภาพถายทางรังสี ในผูปวยขอเสื่อม

เพ่ือใชประโยชนในการแยกโรค

7. เขาใจแนวทางการรักษาผูปวยขอเสื่อม เปนข้ันตอน

7.1 สามารถใหการรักษาโดยวิธีอนุรักษการใหความรู และคําแนะนําผูปวย

7.1.1 การให therapeutic exercise

7.1.2 การใช Gait aid และ Knee Brace

7.2 บอกขอบงช้ีในการใหยาตานการอักเสบ

7.3 บอกขอบงช้ีของการผาตัด

8. ทราบ และสามารถใหคําแนะนําผูปวยเก่ียวกับ ปจจัยเสี่ยงท่ีทําใหเกิดขอเสื่อม และแนวทางในการปฏบัิติเพ่ือลด และ

ปองกันภาวะขอเสื่อม

Page 47: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

47

สื่อการเรียนการสอน

1. ใหศึกษาในระบบ E-learning เรื่อง Orthopaedic emergency (โดย ศ.ดิเรก อิศรางกูร ณ อยุธยา)

2. Computer

3. จอ LCD

4. Laser pointer

5. เอกสารประกอบการเรียนการสอน

แหลงเรียนรู

1. ศึกษาคนควาขอมูลเพ่ิมเติมจากตําราออรโธปดิกส (ฉบับเรียบเรียงใหม ครั้งท่ี 3) วิวัฒน วจนะวิศิษฐ

ภัทรวัณย วรธนารัตน ชูศักดิ์ กิจคุณาเสถียร สุกิจ เลาหเจรญิสมบัติ บรรณาธิการ บรษัิท โฮลสิติก พับลิชช่ิง

หนา 301 - 315

2. การตรวจรางกายทางออรโธปดกิสซึ่งนักศึกษาสามารถตดิตอขอดเูปนวีดีทัศน

จากภาควิชาออรโธปดิกส ซึ่งควรจะไดศึกษากอนเรียนเรื่องภาวะแทรกซอน

3. Website : http://www.med.mahidol.ac.th/ortho

http://elearning.ra.mahidol.ac.th/medstudent

การประเมินผล

1. จากการซักถาม และการตอบในช้ันเรียน

2. การสอบลงกอง MCQ, CRQ, OSCE

Page 48: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

48

แผนการศึกษา (สําหรับนักศึกษา)

ผูชวยศาสตราจารย ชูศักดิ์ กิจคณุาเสถียร

เร่ือง การบาดเจ็บจากการเลนกีฬา

ผูศึกษา นักศึกษาแพทยช้ันปท่ี 5

ผูรับผิดชอบ อาจารยภาควิชาออรโธปดิกส (ผูชวยศาสตราจารยชูศักดิ์ กิจคณุาเสถียร)

ระยะเวลา 60 นาที

กิจกรรมการเรียนการสอน Case -based lecture

ความรูพ้ืนฐาน 1. ใหการรักษาเบ้ืองตนแกผูปวยท่ีไดรับบาดเจ็บจากการเลนกีฬา

2. สามารถวินิจฉัยและใหการรักษาเบ้ืองตนแกผูปวยท่ีไดรับบาดเจ็บและกระดูกและกลามเน้ือ

วัตถุประสงคการเรียนรู : เมื่อผานการเรยีนรู นักศึกษาสามารถ

1. อธิบายสาเหตุและชนิดของการบาดเจ็บเน่ืองจากเลนกีฬาได

2. บรรยายแนวทางในการรักษาการบาดเจ็บเน่ืองจากเลนกีฬาโดยวิธีการอนุรักษและการรักษาโดยการผาตัดได

3. บอกการแทรกซอนจากการเจ็บเน่ืองจากการเลนกีฬาหรือจากการรกัษา

สื่อการศึกษา

1. เครื่องฉายสาํหรับคอมพิวเตอร LCD projector

2. เครื่องคอมพิวเตอรใชกับ program Key Note

3. ขอมูลและเน้ือหาท่ีใชในการสอน Orientation

4. ศึกษาในระบบ E-learning เรื่อง sport injury (โดย ผศ.ชูศักดิ์ กิจคุณาเสถียร)

5. เอกสารประกอบกาเรยีนการสอน

แหลงเรียนรู

1. ตองอาน

1.1 ศึกษาคนควาขอมูลเพ่ิมเติมจากตําราออรโธปดิกส (ฉบับเรียบเรียงใหม ครั้งท่ี 3) วิวัฒน วจนะวิศิษฐ

ภัทรวัณย วรธนารัตน ชูศักดิ์ กิจคุณาเสถียร สุกิจ เลาหเจรญิสมบัติ บรรณาธิการ บริษัท โฮลิสติก พับลิชช่ิง

หนา 317 - 324

1.2 website : http://www.med.mahidol.ac.th/ortho

http://elearning.ra.mahidol.ac.th/medstudent

www.worldortho.com/ (Electronic Orthopaedic Textbook)

www.ortho-u.net/orthoo/41.htm (Wheeless' Textbook of Orthopaedics)

2. ควรอาน

Salter RB. Textbook of disorders and injuries of musculoskeletal system. Baltimore.William &

Wilkins, 1999 page…….

David J Dandy. Essential orthopaedics and trauma. Second edition. Churchill Livingstone.

Longman Group UK Limited, 1993. page…….

Page 49: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

49

การประเมินผล

1. Direct observation

2. MCQ

3. CRQ, OSCE

Page 50: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

50

แผนการศึกษา (สําหรับนักศึกษา)

รองศาสตราจารย ดร.ภัทรวัณย วรธนารัตน

เร่ือง Metabolic bone disease

สําหรับ นักศึกษาแพทยช้ันปท่ี 5

ระยะเวลา 60 นาที

ผูรับผิดชอบ ผูชวยศาสตราจารย ภัทรวัณย วรธนารัตน

กิจกรรมการเรียนการสอน บรรยาย

ความรูพ้ืนฐาน

1. องคประกอบของกระดูกและ epiphyseal plate

2. ขบวนการสรางและการทําลายของกระดูก

3. ความสัมพันธระหวางแคลเซี่ยม พาราไทรอยดฮอรโมน และวิตามินดี ในการควบคุมเมตาโบลิซึม่ของกระดูก

วัตถุประสงคการเรียนรู : เมื่อผานการเรียนรู นักศึกษาสามารถ

1. ตระหนักถึงความสําคญัของโรคเมตาโบลซิึ่มของกระดูก

2. นิยามชนิดและลักษณะของโรคท่ีเกิดจากความผิดปกติของเมตาโบลซิึ่มของกระดูก

3. อธิบายกลไกการเกิดโรคท่ีเกิดจากความผิดปกติของเมตาโบลซิึ่มของกระดูก

4. วินิจฉัยและวินิจฉัยแยกชนิดของโรคทางเมตาโบลซิึ่มของกระดูกในผูปวยจําลองได

5. อธิบายหลักการและแนวทางรักษาโรคทางเมตาโบลิซึ่มของกระดูกได

6. ตระหนักถึงความสําคญัของการเกิดภาวะแทรกซอนของโรคกระดูกพรุน

7. อธิบายหลักการและแนวทางการปองกันโรคทางเมตาโบลิซึม่ของกระดูกโดยเฉพาะโรคกระดูกพรุน

8. ประเมินขีดความสามารถในการดแูลผูปวยเบ้ืองตนดวยตนเองและสงตอแพทยออรโธปดิกสไดอยางถูกตอง และ

เหมาะสม

9. ตระหนักถึงความสําคญัของการสือ่สารและอธิบายใหผูปวย และญาติเขาใจสาเหตุ การวินิจฉัย การรักษา การ

พยากรณโรค และภาวะแทรกซอนของการเกิดโรคกระดูกพรุน

สื่อการสอน

1. computer

2. จอ LCD

3. Laser pointer

4. เอกสารประกอบการสอนเพ่ือเตรยีมกอนเขาช้ันเรียน

5. ศึกษาในระบบ E-learning เรื่อง Metabolic bone disease (โดย รศ.ดร.ภัทรวัณย วรธนารัตน)

Page 51: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

51

แหลงเรียนรู

1. ศึกษาคนควาขอมูลเพ่ิมเติมจากตําราออรโธปดิกส (ฉบับเรียบเรียงใหม ครั้งท่ี 3) วิวัฒน วจนะวิศิษฐ

ภัทรวัณย วรธนารัตน ชูศักดิ ์ กิจคุณาเสถียร สุกิจ เลาหเจรญิสมบัติ บรรณาธิการ บริษัท โฮลิสติก พับลิชช่ิง

หนา 363 - 384

2. website : http://www.med.mahidol.ac.th/ortho

http://elearning.ra.mahidol.ac.th/medstudent

WWW.emedicine.com

การประเมินผล

1. กอนเรียนทํา pre – test หลังเรียนทํา post - test

2. จากการซักถามและการตอบในช้ันเรียน

3. การสอบลงกอง MCQ, CRQ, OSCE

Page 52: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

52

แผนการศึกษา (สําหรับนักศึกษา)

รองศาสตราจารย ธันย สุภัทรพันธุ

เร่ือง Informed consent

สําหรับ นักศึกษาแพทยช้ันปท่ี 5

ระยะเวลา 60 นาที

ผูรับผิดชอบ อาจารยธันย สภุัทรพันธุ

กิจกรรมการเรียนการสอน อภิปราย

วัตถุประสงค เมื่อนักศึกษาไดผานการเรยีนในการสอน Informed consent แลวสามารถ

1. บอกข้ันตอนการขออนุญาตผาตดั ในผูปวยออรโธปกดิคส

2. ปฏิบัติการขออนุญาตผาตัดได

ประสบการณเรียนรู

กิจกรรมท่ี1 ในสัปดาหท่ี 1 และ 2 ของการข้ึนกองออรโธปดิกส แจกกรณีศึกษาเรื่อง Informed consent ใหนักศึกษาลวงหนา

และกําหนดใหนักศึกษาสังเกตการขออนุญาตผาตัดของแพทยท่ีตึกตรวจผูปวยนอก หรือ ในระหวางปฏิบัติงานท่ีตึกผูปวยใน หรือ

แผนกฉุกเฉิน เพ่ือเปนขอมลูประกอบกรณีศึกษา

ในปลายสัปดาหท่ี2 ของการข้ึนกองออรโธปดิกส

ใหนักศึกษาเขียนรายงานสงอาจารยตาม แบบฟอรม Inform_01, Inform_02

กิจกรรมท่ี 2 สัปดาหท่ี3 ของการข้ึนกองออรโธปดิกส

ประชุมสรุป จากกรณีศึกษาและจากรายงานการสังเกตการของนศพ. และรวมกันวิจารณ ใชระยะเวลาประมาณ 1

ช่ัวโมง

สื่อการเรียนการสอน

1. เอกสารประกอบการสอนเพ่ือเตรยีมกอนเขาช้ันเรียน เปนกรณศีึกษา Informed consent

2. Computer

3. จอ LCD

4. Laser pointer

รูปแบบการเรียนการสอน

1. สงแบบฟอรมรายงาน Inform consent กอนเรียน

2. รายงาน Inform consent (เลม) ในหองเรียน

แหลงเรียนรู

เอกสารอานเพ่ิมเติม

1. แสวง บุญเฉลิมวิภาส กฎหมายการแพทยและสาธารณสุขในกฎหมายและขอควรระวังของผูประกอบวิชาชีพแพทย

พยาบาล, วิญูชน 2544 น. 47-58

2. แสวง บุญเฉลิมวิภาส และเอนก ยมจินดา กฎหมายการแพทย, จริยธรรมแหงวิชาชีพ, การประกอบวิชาชีพเวช

กรรม

ในเรื่องยุงท่ีควรรู, สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (พ.ร.พ) 2543 น 1-38

การประเมินผล

1. การสอบ OSCE 1 ขอ 5 คะแนน ในการสอบลงกอง

Page 53: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

53

แผนการศึกษา (สําหรับนักศึกษา)

อาจารย นรชาติ ศริิศรตีรีรักษ

เร่ือง Formative test

สําหรับ นักศึกษาแพทยช้ันปท่ี 5

ระยะเวลา 60 นาที

ผูรับผิดชอบ อาจารยนรชาติ ศิริศรตีรรีักษ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทดสอบและบรรยาย

วัตถุประสงค เมื่อนักศึกษาไดผานการเรยีนในการสอน Formative แลวสามารถ

1. เพ่ือวัดและประเมินการเรียนของ นศพ. กอนจะมีการสอบวัดผล

2. นําผลการประเมินท่ีไดมา feedback กับ นศพ.เปนรายบุคคลโดยมีอาจารยท่ีปรึกษาเปนผูดําเนินการ

3. นําผลการประเมินท่ีไดมาพัฒนาปรับปรุงเน้ือหาและขบวนการการเรียนการสอน

4. เปนการกระตุนใหนักศึกษาเกิดความคิดท่ีจะคึกษาเพ่ิมเติมในเรื่องท่ียังไมเขาใจ

สื่อการสอน

1. computer

2. จอ LCD

3. Laser pointer

4. ใหดูโจทยแบบทดสอบในระบบ E-learning ตามชุดทดสอบ

แหลงเรียนรู

1. ศึกษาคนควาขอมูลเพ่ิมเติมจากตําราออรโธปดิกส (ฉบับเรียบเรียงใหม ครั้งท่ี 3) วิวัฒน วจนะวิศิษฐ

ภัทรวัณย วรธนารตัน ชูศักดิ์ กิจคุณาเสถียร สุกิจ เลาหเจริญสมบัติ บรรณาธิการ บริษัท โฮลสิติก พับลิชช่ิง

2. website: http://www.med.mahidol.ac.th/ortho

http://elearning.ra.mahidol.ac.th/medstudent

การประเมินผล

1. ทดสอบในระบบ Elearning : http://elearning.ra.mahidol.ac.th

2 . ใหทําขอสอบกอนเรียน และรวบรวมสง

3. ทบทวนในหองเรียนเพ่ือทําความเขาใจ

Page 54: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

54

แผนการศึกษา (สําหรับนักศึกษา)

แพทยประจําบานปท่ี 4

เร่ือง การสอนหัตถการพันเฝอก

สําหรับ นักศึกษาแพทยช้ันปท่ี 5

ระยะเวลา 120 นาที

ผูรับผิดชอบ แพทยประจําบานป 4

กิจกรรมการเรียนการสอน การสาธิตหัตถการพันเฝอกชนิดตางๆ และใหนักศึกษาฝกปฏิบัตติามความเหมาะสม

วัตถุประสงค การศึกษา

ความรูพ้ืนฐาน : กอนข้ึนเรียนทบทวนความรูพ้ืนฐาน

1. กายวิภาคระบบกระดูกและกลามเน้ือ

ลักษณะแนวกระดูกและขอปกต ิ

การเคลื่อนไหวของกระดูกและขอปกต ิ

2. ทักษะเบ้ืองตนในการพันเฝอก สาํหรับนักศึกษาแพทย จากวีดีทัศนการพันเฝอกของภาควิชา

3. ขอบงช้ีในการเลือกการพันเฝอกแตละชนิดอยางคราวๆ

วัตถุประสงค : ภายหลังการเรยีนรู นักศึกษาสามารถ

1. อธิบายวิธีการพันเฝอก ชนิด short arm cast, hand splint, short arm slab, U-slab และ short leg cast ได

อยางถูกตอง

2. พันเฝอกชนิด short arm cast, hand splint, short arm slab, U-slab และ short leg cast ไดอยางถูกตอง

3. ใหคําแนะนําการปฏิบัตติัวหลังจากพันเฝอกไดอยางถูกตองและเหมาะสม

แหลงเรียนรู

website: http://www.med.mahidol.ac.th/ortho

http://elearning.ra.mahidol.ac.th/medstudent

Page 55: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

55

แผนการศึกษา (สําหรับนักศึกษา)

อาจารย อิทธิรัตน วัชรานานันท

เร่ือง การยึดตรึงและดามกระดูกและขอ

สําหรับ นักศึกษาแพทยช้ันปท่ี 5

ระยะเวลา 120 นาที

ผูรับผิดชอบ อาจารยอิทธิรัตน วัชรานานันท

กิจกรรมการเรียนการสอน การสาธิตหัตถการยึดตรึงชนิดตางๆ และใหนักศึกษาฝกปฏิบัติตามความเหมาะสม

วัตถุประสงค การศึกษา

ความรูพ้ืนฐาน : กอนข้ึนเรียนทบทวนความรูพ้ืนฐาน

1. กายวิภาคระบบกระดูกและกลามเน้ือ

1.1 ลักษณะแนวกระดูกและขอปกต ิ

1.2 การเคลื่อนไหวของกระดูกและขอปกต ิ

2. ขอบงช้ีในการเลือกการยึดตรึงแตละชนิดอยางคราวๆ

วัตถุประสงค : ภายหลังการเรยีนรู นักศึกษาสามารถ

1. อธิบายวิธีการยึดตรึง ชนิด Interlocking sling, Figure of eight, Jone’s splint, skin traction, split Russell

traction, และ Gibney’s strap ไดอยางถูกตอง

2. ทําหัตถการยึดตรึงชนิด Interlocking sling, Figure of eight, Jone’s splint, skin traction, split Russell

traction, และ Gibney’s strap ไดอยางถูกตอง

3. ใหคําแนะนําการปฏิบัตติัวหลังจากหัตถการยึดตรึงไดอยางถูกตองและเหมาะสม

แหลงเรียนรู

website: http://www.med.mahidol.ac.th/ortho

http://elearning.ra.mahidol.ac.th/medstudent

Page 56: แผนการสอน (สําหรับนักศึกษาแพทย ......1 แผนการสอน (ส าหร บน กศ กษาแพทย ) อาจารย

56

แผนการศึกษา (สําหรับนักศึกษา)

อาจารยอิทธิรัตน วัชานานันท

เร่ือง การจัดขอเคลื่อนใหเขาท่ี

สําหรับ นักศึกษาแพทยช้ันปท่ี 5

ระยะเวลา 120 นาที

ผูรับผิดชอบ อาจารยอิทธิรัตน วัชรานานันท

กิจกรรมการเรียนการสอน การสาธิตหัตถการจัดขอเคลื่อนใหเขาท่ีชนิดตางๆ และใหนักศึกษาฝกปฏิบัติตามความเหมาะสม

วัตถุประสงค การศึกษา

ความรูพ้ืนฐาน : กอนข้ึนเรียนทบทวนความรูพ้ืนฐาน

1. กายวิภาคระบบกระดูกและกลามเน้ือ

1.1 ลักษณะแนวกระดูกและขอปกต ิ

1.2 การเคลื่อนไหวของกระดูกและขอปกต ิ

วัตถุประสงค : ภายหลังการเรยีนรู นักศึกษาสามารถ

1. จัดขอเคลื่อนบริเวณไหล ขอศอก และสะโพกใหเขาท่ีไดอยางถูกตอง

2. ใหคําแนะนําการปฏิบัตติัวหลังจากจัดขอเคลื่อนใหเขาท่ีไดอยางถูกตองและเหมาะสม

แหลงเรียนรู

website: http://www.med.mahidol.ac.th/ortho

http://elearning.ra.mahidol.ac.th/medstudent