56
กลยุทธ์โลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ในการพัฒนาองค์กร (Logistic and Supply Strategy for Organization Development) Chapter 10

Logistics & Supply Chain - elearning.psru.ac.thelearning.psru.ac.th/courses/160/บทที่ 10.pdf · ผู้บริหารของบริษัทเองก็ใช้นโยบาย

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • กลยุทธ์โลจสิตกิส์และโซ่อุปทาน ในการพัฒนาองค์กร

    (Logistic and Supply Strategy for Organization Development)

    Chapter 10

  • การบริหารจัดการต้นทุน logistics ส าหรับธุรกิจและกรณีศึกษา

    การพัฒนาด้านโลจสิตกิส์ เป็นหวัใจส าคัญในการพัฒนาขีดความสามารถของธุรกิจใน

    ประเทศ

  • สาเหตุที่โลจสิตกิส์เข้ามามีบทบาทต่อการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน

    โลจิสติกส์เป็นกระบวนการการท างานต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการวางแผน และการควบคุม การท างานขององค์กร รวมทัง้การบริหารข้อมูลและธุรกรรมทางการเงินท่ีเก่ียวข้อง ให้เกิดการเคลื่อนย้าย การจัดเก็บการรวบรวม การกระจายสินค้า วัตถุดิบ ชิน้สว่นประกอบ และการบริการให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสงูสดุ

  • Logistics กับ ธุรกิจ Logistics เป็นเป้าหมายส าคญัท่ีผู้ประกอบการธรุกิจสามารถใช้เป็นแหลง่ท่ีมาของการได้เปรียบในการแขง่ขนัทัง้ในระดบัธรุกิจและระดบัประเทศ ธรุกิจท่ีดแูลเก่ียวกบัการบริหารโลจิสติกส์ท่ีดีแล้วจะเกิดผลท า

    ให้บรรลวุตัถปุระสงค์ 3 ด้าน การลดต้นทนุท่ีไมก่อ่ให้เกิดมลูคา่ (Cost Efficiency) ความปลอดภยัของสนิค้าท่ีเคลื่อนย้ายในระบบ โลจิสติกส์ (Security and Reliability) ความสามารถในการลดระยะเวลา การจดัการด้าน โลจิสติกส์ทัง้ภาครัฐและเอกชน (Responsiveness)

  • ต้นทุนโลจสิตกิส์ส าหรับอุตสาหกรรม ส่งออกของประเทศ

    1. ต้นทนุการจดัซือ้จดัหา (Procurement Cost) 2. ต้นทนุการเก็บรักษาสินค้าคงคลงั (Inventory Carrying

    Cost) 3. ต้นทนุการบริหารคลงัสนิค้า (Warehouse management

    Cost) 4. ต้นทนุการจดัการขนสง่สินค้า (Transportation Cost) 5. ต้นทนุคา่ขนสง่เพ่ือการสง่ออก (Export cost)

  • ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความส าเร็จของ การน าโลจสิตกิส์มาใช้

    - ปัจจยัท่ีมีอิทธิพลตอ่ความส าเร็จของการบริหารจดัการโลจิสติกส์ เช่น

    • ระยะทาง • กฎระเบียบข้อบงัคบัตา่งๆ • คา่น า้มนัเชือ้เพลงิ • การแข่งขนัระหวา่งผู้ ให้บริการโลจิสติกส์ • ภาวะเศรษฐกิจ

  • กรณีศึกษา

    “วอลมาร์ทและเคมาร์ท” กลยุทธ์เหมือนบนผลลัพธ์ที่แตกต่าง

  • 'Wal-Mart VS. Kmart' กลยุทธ์เหมือนบนผลลัพธ์ที่แตกต่าง

    การศึกษาเปรียบเทียบกรณีศึกษาท่ีน่าสนใจมาก โดยเฉพาะอย่างย่ิงถ้ามองกลยุทธ์ของทัง้สองแห่งแล้วก็ไม่ได้แตกต่างกันเท่าใดนกั กลยทุธ์ของ Wal-Mart เองก็ไม่ใช่สิ่งท่ีลอกเลียนแบบได้ยาก แตท่ าไม Wal-Mart ถึงได้ประสบความส าเร็จยิ่งๆ ขึน้ และบริษัทก็เติบโตขึน้เร่ือยๆ (มีผู้ เปรียบเทียบไว้ว่ารายได้ของ Wal-Mart เองสงูกว่า GDP ของประเทศบางประเทศเสียอีก) แตบ่ริษัทท่ีอยู่มาก่อนและเป็นคู่แข่งท่ีส าคญัอย่าง Kmart กลบัประสบแต่ปัญหาเกือบล้มละลาย

  • 'Wal-Mart VS. Kmart' กลยุทธ์เหมือน บนผลลัพธ์ที่แตกต่าง (ต่อ)

    Wal-Mart จะใช้กลยทุธ์ป่าล้อมเมืองเป็นหลกันัน้คือเปิดร้านตามเมืองท่ีมีขนาดกลางและเลก็ก่อน หลงัจากนัน้คอ่ยขยายตวัเข้าสู่เมืองใหญ่ ท าให้ไม่เจอภาวะการแข่งขันท่ีรุนแรงท่ีเกิดขึน้ตามเมืองใหญ่ๆ ใช้กลยทุธ์ราคาถกูทกุวนั หรือ Everyday Low Prices และโดยสว่นใหญ่เป็นราคาท่ีต ่าท่ีสดุส าหรับสนิค้าชนิดนัน้ๆ สินค้าท่ีมีเป็นสินค้าแบรนด์เนมเป็นหลกั โดยอาจจะมีสินค้าท่ีเป็น House Brand บ้างประปราย มีสนิค้าให้เลือกท่ีหลากหลาย

  • 'Wal-Mart VS. Kmart' กลยุทธ์เหมือน บนผลลัพธ์ที่แตกต่าง (ต่อ)

    ร้านในหลายรูปแบบ (Multiformat) ทัง้ Discount Stores, Supercenter, Neighborhood Market, และ ร้านค้าสง่ ในร้านมีบรรยากาศของความเป็นมิตรและความเป็นกนัเอง ใช้ก าลงัซือ้ของตนเองท่ีมีอยู่อย่างมหาศาลในการได้สินค้าจากผู้ผลติในราคาท่ีถกู ไม่ค่อยเ น้นเ ร่ืองของการโฆษณาเป็นหลัก แต่ เ น้นการประชาสมัพนัธ์ในลกัษณะของปากตอ่ปาก มีต้นทนุด้านโฆษณาอยู่ท่ีร้อยละ 0.3 ของยอดขาย (เทียบกบัร้อยละ 1.5 ของ Kmart)

  • 'Wal-Mart VS. Kmart' กลยุทธ์เหมือน บนผลลัพธ์ที่แตกต่าง (ต่อ)

    สรุปได้ว่า Wal-Mart ใช้กลยุทธ์ในการแข่งขนัแบบผู้น าด้านต้นทุน (Cost Leadership Strategy) ซึง่จะพบวา่กลยทุธ์และรายละเอียดที่ Wal-Mart ใช้ไม่มีความแตกตา่งจากคูแ่ขง่ขนัอื่นๆ เลย กลยุทธ์ข้างต้นไม่ได้เป็นกลยุทธ์ที่ไม่สามารถลอกเลียนแบบได้ ทุกองค์กรทัว่โลกสามารถท่ีจะลอกเลียนกลยทุธ์ที่ Wal-Mart ใช้ได้อย่างง่าย ดงันัน้ ถ้ากลยุทธ์ของ Wal-Mart ไม่ได้มีความแตกต่างจากคู่แข่งตรงไหน ค าถามก็คือแล้วปัจจยัใดที่ท าให้ Wal-Mart ประสบความส าเร็จเหนือกวา่คูแ่ขง่อื่นๆ ทัว่โลก????

  • 'Wal-Mart VS. Kmart' กลยุทธ์เหมือน บนผลลัพธ์ที่แตกต่าง (ต่อ)

    ปัจจยัแห่งความส าเร็จที่ส าคญัของ Wal-Mart อยู่ที่ความสามารถในการน ากลยทุธ์ไปปฏิบตัิให้เกิดผลหรือการเปลี่ยนแผนให้เป็นการปฏิบตัิ Wal-Mart ได้พฒันาระบบการท างาน วฒันธรรมองค์กร ระบบข้อมลู แนวทางการท างาน ฯลฯ ที่เอือ้และสนบัสนนุต่อกลยทุธ์ของเขา เร่ิมตัง้แต่ระบบในการขนส่งและกระจายสินค้าของ Wal-Mart ที่เรียกได้ว่ามีทัง้ประสิทธิภาพและประสิทธิผล ขณะที่สหรัฐอเมริกาเป็นประเทศใหญ่และ Wal-Mart มีสาขากระจายอยู่ทัว่ประเทศ ดงันัน้เพ่ือควบคมุให้สินค้ามีคณุภาพและต้นทนุที่ต ่า ระบบในการขนสง่และกระจายสินค้าเป็นสิ่งที่ส าคญัและจ าเป็นอย่างย่ิง

  • 'Wal-Mart VS. Kmart' กลยุทธ์เหมือน บนผลลัพธ์ที่แตกต่าง (ต่อ)

    Wal-Mart ได้ให้ความส าคญักบัระบบการขนสง่และการกระจายสินค้าดงักลา่วมาก Wal-Mart เป็นบริษัทแรกๆ ในโลกที่น าระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ในศนูย์กระจายสินค้า (Distribution Center) ท าให้ Wal-Mart สามารถรับสินค้าจากผู้ ผลิตและกระจายไปยัง ร้านค้าต่างๆ ได้อย่างรวดเ ร็วและมีประสิทธิภาพ แม้วา่ Wal-Mart จะเป็นบริษัทที่มุ่งเน้นในการเป็นผู้น าด้านต้นทนุ แตก็่ไม่ได้หมายความว่า Wal-Mart จะละเลยในการให้ความส าคัญกับพนกังานและลกูค้า

  • 'Wal-Mart VS. Kmart' กลยุทธ์เหมือน บนผลลัพธ์ที่แตกต่าง (ต่อ)

    Wal-Mart เร่ิมตัง้แตท่ศันคติที่ให้ถือลกูค้าเป็นที่หนึง่เสมอ Wal-Mart ได้สร้างทศันคติดงักล่าวโดยปลกูฝังในหวัพนกังานทุกคนและในร้านทกุร้าน พนกังานทกุคนจะถกูปลกูฝังตลอดวา่ ลกูค้าคือเจ้านาย และอนาคตของบริษัทก็ขึน้อยูก่บับรรดาพนกังาน Wal-Mart มีนโยบาย 'Satisfaction Guaranteed' และพยายามทกุวิถีทางที่จะท าให้ประสบการณ์ในการมาซือ้สินค้าของลกูค้าเป็นประสบการณ์ที่น่าประทบัใจ

  • 'Wal-Mart VS. Kmart' กลยุทธ์เหมือน บนผลลัพธ์ที่แตกต่าง (ต่อ)

    Wal-Mart จะมีพนกังานท าหน้าที่เป็น Greeter หรือพนกังานต้อนรับ คอยยืนต้อนรับลกูค้าตัง้แตห่น้าประต ู พนกังานคนดงักลา่วจะต้องคอยยิม้ให้ลกูค้า ช่วยในการเอารถเข็น และคอยตอบค าถามวา่สินค้าตา่งๆ อยูต่รงไหน นอกจากนีพ้นักงานทุกคนยงัจะต้องปฏิบตัิตามกฎ 10 ฟุต (10 - foot attitude) ที่ระบไุว้ว่า ถ้าลกูค้าคนไหนก็ตามเข้ามาในระยะ 10 ฟุตของพนกังาน พนักงานคนนัน้จะต้องยิม้ มองเข้าไปในตาของลูกค้า และทกัทายลกูค้า

  • 'Wal-Mart VS. Kmart' กลยุทธ์เหมือน บนผลลัพธ์ที่แตกต่าง (ต่อ)

    นอกเหนือจากลูกค้าแล้ว Wal-Mart ยงัเอาใจใส่ต่อพนักงานและกระบวนการท างานเป็นอย่างมาก Wal-Mart ยงัมีกฎอีกกฎหนึ่งที่น่าสนใจเรียกวา่ The Sundown Rule ที่ค าถามทุกค าถามที่มาจากหน่วยงานอื่นภายในองค์กรจะต้องได้รับการตอบก่อนพระอาทิตย์ตกดินในวนันัน้ ซึ่งแนวคิดดงักล่าวได้รับการยึดถือปฏิบตัิอย่างเคร่งครัดและกลายเป็นวฒันธรรมองค์กร เพราะมองวา่ผลการท างานของแต่ละคนจะต้องขึน้อยู่กับความร่วมมือจากหน่วยงานอื่น

  • 'Wal-Mart VS. Kmart' กลยุทธ์เหมือน บนผลลัพธ์ที่แตกต่าง (ต่อ)

    ผู้บริหารของ Wal-Mart ยงัถือวา่พนกังานทกุคนเป็นหุ้นสว่น (Partner) ไม่ใช่ลกูจ้าง (Employee) ดงันัน้ผลตอบแทนของ Wal-Mart ที่ให้กบัพนกังานก็สงูกวา่อตัราขัน้ต ่า นอกจากนีย้งัมีโปรแกรม profit-sharing และเปิดโอกาสให้พนกังานได้ซือ้หุ้นของบริษัท ในส่วนการบริหารนัน้ก็กระตุ้นให้พนักงานแสดงความคิดเห็นและมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ และยังกระตุ้ นให้พนักงานได้มีโอกาสคิดและหาทางปรับปรุงการท างานด้วยตนเอง

  • 'Wal-Mart VS. Kmart' กลยุทธ์เหมือน บนผลลัพธ์ที่แตกต่าง (ต่อ)

    ผู้บริหารของบริษัทเองก็ใช้นโยบาย MBWA (Management by Walking Around) ที่จะไม่นัง่อยู่แตใ่นห้องท างานหรู แตจ่ะใช้เวลาจ านวนมากในการเดินทางไปเย่ียมร้านค้าและศูนย์กระจายสินค้าต่างๆ ท าให้บรรดาผู้บริหารได้รับรู้ความเป็นไปและปัญหาตา่งๆ ที่เกิดขึน้ ในฐานะที่ใช้กลยุทธ์ด้านต้นทุนต ่า ท าให้การบริหารของ Wal-Mart มุ่งเน้นในการเอาใจใส่และให้ความใส่ใจต่อรายละเอียดต่างๆ (Attention to Detail) ไม่วา่จะเป็นการจดัวางชัน้ที่ท าให้สามารถเลือกซือ้สินค้าได้ง่าย หรือในแผนกเสือ้ผ้าก็จะมีการปพูรม เพ่ือท าให้ลกูค้ารู้สกึเหมือนอยู่ในบ้าน พนกังานในร้านทกุคนจะสวมเสือ้กัก๊สีฟ้า เพื่อให้ลกูค้าสามารถมองหาและมองเห็นได้จากระยะไกล

  • สรุปกรณีศึกษาของ Wal-Mart 1. กลยทุธ์ของ Wal-Mart “Every Day Low Price” 2. บริหารระบบซพัพลายเชนโดยให้มีสินค้าคงคลงัและทรัพย์สินน้อย

    ที่สดุ 3. มีการผสมผสานรูปแบบตา่งๆ เข้าด้วยกนั ตัง้แตศ่นูย์จดัสง่สินค้าที่

    ใช้ระบบ Cross-dock การจดัสง่สินค้าโดยตรงโดยวิธีการตา่งๆ ขึน้อยูก่บัประเภทสินค้า

    4. ในการจดัหาสินค้าโดยมาปริมาณมากในลกัษณะ FCL (Full Container Load)

    5. ใช้ข้อมลู ณ จดุขายผ่าน EPOS (Electronic Point Of Sale)

    ที่มา: www.siamhrm.com

  • กรณีศึกษา

    “เอม็เค สุกี”้ การใช้กลยทุธ์โลจิสตกิส์เป็นตวัขบัเคลือ่นองค์กร

  • ประวัตขิองเอ็มเคโดยสังเขป • ย้อนดปูระวตัิที่มาของเอ็มเค เรสโตรองต์ พบวา่เกิดจากร้านอาหารไทย เพียงคหูาเดียวย่านสยามสแควร์ ซึง่นาง "ทองค า เมฆโต" ซือ้ตอ่กิจการมาจาก "มาคอง คิง ยี" (Makong King Yee) ชาวฮ่องกง ที่ขายกิจการย้ายครอบครัวไปตัง้รกรากท่ีสหรัฐอเมริกา เม่ือปี พ.ศ.2505 • ร้านอาหารของป้าทองค า ได้รับการตอบรับเป็นอยา่งดีจากลกูค้ายา่นสยามสแควร์ โดยเฉพาะนิสิตจฬุาลงกรณ์มหาวิทยาลยั เพราะป้าท าอาหารประเภทข้าวมนัไก่ ผดัไท รสชาติอร่อยแถมยงัใจดีให้นิสิตเซน็บิลได้

  • ประวัตขิองเอ็มเคโดยสังเขป (ต่อ) • จนปี พ.ศ.2527 เวลาเดยีวกบัที่มีห้างสรรพสินค้าขนาดใหญ่เกิดขึน้ในกรุงเทพมหานครหลายแหง่ ร้านเอม็เค สกีุ ้สาขาแรกภายใต้ช่ือ "กรีน เอม็เค" ก็ถือก าเนิดขึน้ เม่ือนายห้างสมัฤทธ์ิ จิราธิวฒัน์ ผู้ลว่งลบัได้ชกัชวนป้าทองค ามาเปิดร้านที่เซน็ทรัล ลาดพร้าว • หวัแรงหลกัในการขบัเคลื่อนธุรกิจคือ "ยพิุน" และ "ฤทธ์ิ ธีระโกเมน" บตุรสาวและบตุรเขย

  • ประวัตขิองเอ็มเคโดยสังเขป (ต่อ) • จากสาขาแรกจนถงึวนันีเ้อม็เคสกีุมี้สาขากระจายทัว่ประเทศมากกวา่ 126 สาขา และสิ่งที่ยงัคงเห็นกนัจนชินตาคือ ภาพของคนท่ีเข้าคิวกนัยาวเหยียดเพ่ือจะรอทานอาหารในร้านเอ็มเค • กลยทุธ์สูค่วามส าเร็จของเอม็เค ซึง่เปิดเผยโดย "ฤทธ์ิ ธีระโกเมน" ผู้บริหารเอม็เคสกีุ ้คือระบบโลจิสติกส์ที่เขาให้ค าจ ากดัความวา่ มีลกัษณะเดียวกบั "ฮบัสายการบิน"

  • ประวัตขิองเอ็มเคโดยสังเขป (ต่อ) • กลา่วคือ สร้างศนูย์กระจายสินค้าในจดุที่มีความเหมาะสมที่เห็นวา่ช่วยประหยดัคา่ใช้จ่าย ร่นระยะทางในการขนสง่สินค้าสูส่าขาให้สัน้ที่สดุเพื่อ

    ความสดของอาหาร

    "มันเหมือนฮับของสายการบนิ ที่เวลาเดนิทางเราจะเข้าไปศูนย์กลางการบนิที่เรียกว่าฮับก่อน จากนัน้จึงน่ังเคร่ืองบนิของสาย

    การบนิอ่ืนๆ ไปสู่เมืองเล็กๆ ต่อไป"

  • ประวัตขิองเอ็มเคโดยสังเขป (ต่อ) • หวัใจส าคญัของธุรกิจอาหารคือความสด ดงันัน้บทบาทของระบบโลจิสติกส์จงึมีความส าคญัอยา่งย่ิง "ระหวา่งปี พ.ศ.2529-2535 เอม็เค มีสาขารวม 15 แหง่ ดมีานด์กบัซพัพลายเร่ิมไม่สมดลุกนั ท าให้เรารู้วา่เอม็เคไม่ใช่แคร้่านอาหาร แตเ่ป็นเชน หรือเครือขา่ยร้านอาหาร ซึง่ต้องให้ความส าคญักบัเร่ืองระบบการจดัสง่อาหาร“ "จนปี พ.ศ.2536 เราโตเร็วมากเพราะเป็นช่วงค้าปลีกขยายตวั มีทัง้ซีคอนสแควร์ เซ็นทรัลบางนา ป่ินเกล้า เอม็เคขยายตามจนมีสาขาเพ่ิมเป็น 60 แหง่ ในปีพ.ศ.2542"

  • ประวัตขิองเอ็มเคโดยสังเขป (ต่อ) • เอ็มเคได้เลอืกพืน้ที่ 2 จดุหลกั คือ นวนครกบับางนา กม.ที่ 17 เป็นศนูย์กระจายสินค้า จดุแรกรับผิดชอบพืน้ที่กรุงเทพฯฝ่ังเหนือ รวมทัง้สาขาในพืน้ที่จงัหวดัของภาคตะวนัออกเฉียงเหนือภาคเหนือ จดุท่ีสอง กรุงเทพฯฝ่ังใต้กบัสาขาในพืน้ที่ภาคตะวนัออก พืน้ท่ีในเขต 14 จงัหวดัภาคใต้ • ทัง้สองจดุมีความเหมาะสมเร่ืองยทุธศาสตร์ที่ตัง้ ซึง่จะสามารถท าให้ก าหนดเร่ืองเวลา คณุภาพ ความปลอดภยั และควบคมุเร่ืองต้นทนุได้เป็นอย่างดี

  • ประวัตขิองเอ็มเคโดยสังเขป (ต่อ) ประเดน็โลจสิตกิส์เร่ืองแรก คือเร่ืองเวลา!!! ยกตวัอย่างเร่ืองผกั ซึง่มีความสดอยูไ่ด้ไม่เกิน 1 วนั วิธีการท่ีน ามาใช้ปฏิบตัิงานจะก าหนดให้ซพัพลายเออร์หรือผู้จดัสง่สินค้า จะต้องจดัสง่สินค้าถึงศนูย์กระจายสินค้าในเวลาตีสอง หลงัจากผ่านกระบวนการล้างท าความสะอาดจะน าขึน้รถขนสง่สินค้าไปยงัสาขาในเวลาเช้าตรู่

  • ประวัตขิองเอ็มเคโดยสังเขป (ต่อ)

    ประเดน็ถัดมา คือเร่ืองคุณภาพ!!! •โดยตอ่วนั เอม็เคต้องผลิตอาหารให้คนทานถงึ 3 ล้านคน สิ่งที่ต้องให้ความส าคญัสงูสดุคือเร่ืองคณุภาพ ระบบจงึได้น าระบบ ISO HACCP มาใช้ตัง้แตก่ระบวนการผลิตจนถงึร้านค้า •มีรายละเอียดปลีกยอ่ย เช่น การก าหนดประเภทของภาชนะโดยใช้สีเป็นตัวแยก เพื่อให้ง่ายส าหรับขนส่งสินค้า ท าความสะอาด

  • ประวัตขิองเอ็มเคโดยสังเขป (ต่อ) "เรามีซัพพลายเออร์มากกว่า 300 ราย ปัญหาทีเ่กดิขึน้คอื แต่ละคนมีภาชนะทีน่ าส่งสินค้าให้เราไม่เหมือนกนั เราจงึคดิภาชนะเอง เช่น ภาชนะสีแดงส าหรับบรรจุสินค้ามัน เช่น เป็ดย่าง" "เป็นการใช้สีเป็นตัวแยกท าให้ท างานได้ง่ายขึน้ ไม่ให้ภาชนะสีน า้เงินซ่ึงใช้ของสด ประเภทเนือ้สัตว์เกบ็ผกัปนเป้ือนน า้มัน" "หรือตัวอย่างในช่วงที่เกดิไข้หวดันก ระบบควบคุมได้ลบรายการสัตว์ปีกออกไป ท าให้ร้านสุกีเ้อม็เคต้องงดขายสัตว์ปีกเป็นเวลาถงึ 6 เดอืน"

  • ประวัตขิองเอ็มเคโดยสังเขป (ต่อ) เร่ืองความปลอดภัย!!!! • เอม็เคได้น าระบบดาวเทียม จีพีเอส มาใช้กบัรถขนสง่สินค้า ระบบดงักลา่วจะก าหนดความเร็วของรถขนสง่ไมเ่กิน 90 กิโลเมตรตอ่ชัว่โมง • วิธีการนีน้อกจากจะปลอดภยั ช่วยลดความสญูเสียที่เกิดจากอบุตัเิหตุแล้ว ยงัจะช่วยประหยดัต้นทนุพลงังานได้ถงึ 10% อีกด้วย • การบริหารเส้นทาง (Routing Management) และการจดัตารางรถบรรทกุสินค้า (Scheduling Management)

  • ประวัตขิองเอ็มเคโดยสังเขป (ต่อ) และสุดท้ายเร่ืองต้นทุน!!! • ได้ก าหนดเวลาในการขนสง่สินค้าออกจากศนูย์ในเวลา 6 โมงเช้า ซึง่เป็นระดบัเวลาท่ีเหมาะสมในการขนสง่สินค้าถึงสาขา และไม่มีปัญหาเร่ืองจราจร • ประเภทรถที่ใช้ขนสง่จะควบคมุความเย็นตามระยะทาง เช่น ระยะใกล้ใช้เวลาเดินทางเพียง 1 ถงึ 1 ชัว่โมงคร่ึง จะใช้รถตู้ควบคมุอณุหภมิูไม่เกิน 20 องศาเซลเซียส

  • ประวัตขิองเอ็มเคโดยสังเขป (ต่อ) • ถ้าวิ่งทางไกลระยะทาง 3 ชัว่โมง ใช้รถตู้ที่ควบคมุความเย็นระดบั 4 องศาแตห่ากใช้เวลาขนสง่เกิน 3 ชัว่โมง จะใช้รถ frozen ควบคมุอณุหภมิูที่ระดบัลบ 18 องศา ใช้ขนสง่สินค้าในพืน้ที่จงัหวดัเชียงราย ล าปาง สุราษฎร์ธานี สปัดาห์ละ 2 ครัง้ ดงันัน้ภาคอตุสาหกรรมตา่งๆควรศกึษาปัจจยัที่มีผลกระทบตอ่การเพ่ิมขึน้ของต้นทนุ • แตห่ากใช้เวลาขนสง่เกิน 3 ชัว่โมง จะใช้รถ frozen ควบคมุอณุหภมิูที่ระดบัลบ 18 องศา ใช้ขนสง่สินค้าในพืน้ที่จงัหวดัเชียงราย ล าปาง สุราษฎร์ธานี สปัดาห์ละ 2 ครัง้ • ดงันัน้ภาคอตุสาหกรรมตา่งๆควรศกึษาปัจจยัที่มีผลกระทบตอ่การเพิ่มขึน้ของต้นทนุ

  • ประวัตขิองเอ็มเคโดยสังเขป (ต่อ) ทัง้ 4 เร่ืองนีมี้ความสมัพนัธ์กนั เวลาเป็นตวัก าหนดเร่ืองความสดของอาหาร เพราะวตัถดุิบอยา่งผกัจะมีความสดอยูไ่ม่เกิน 1 วนั จงึต้องหาท าเลส าหรับท าศนูย์กระจายสินค้าท่ีมียทุธศาสตร์เหมาะสม และมาตรฐานอยา่งการก าหนดวา่ต้องสง่ผกัตีสอง ท าให้ระบบงานของเรามีความเป็นระเบียบท างานได้รวดเร็วขึน้ "หรือเร่ืองต้นทุน หากรถออกหลัง 6 โมงเช้า ต้นทุนเร่ืองค่าน า้มันจะปรับเพิ่มขึน้ เราจงึก าหนดเวลาแน่นอนว่ารถขนส่งจะไม่ออกหลังเวลานี"้

  • ประวัตขิองเอ็มเคโดยสังเขป (ต่อ)

    • นอกเหนือจากเร่ืองของความสดอาหารซึง่มาจากระบบโลจิสติกส์ที่ถกูต้องแล้ว อีกเร่ืองหลกัที่ท าให้ร้านเอม็เค เป็นหนึง่ในร้านอนัดบัต้นๆ ที่คนนิยมไปจดัเลีย้งสงัสรรค์ คือบริการท่ีรวดเร็ว ทนัใจ • นอกจากนีม้าตรการบริการของเอม็เคเกิดจากหลกัการท่ีเรียกวา่ QCQS หรือ Quickness ความรวดเร็ว,Cleanliness ความสะอาด,Quality คณุภาพอาหาร คน เคร่ืองมือท่ีใช้ในการประกอบอาหาร และ Service บริการท่ีดี

  • ประวัตขิองเอ็มเคโดยสังเขป (ต่อ) • "ต้องมี 3 ข้อแรกก่อน จงึจะมีข้อท่ี 4 คือบริการท่ีดีตามมา หลกัการ QCQS มีท่ีมาจากการท่ีเราคิดว่า คนท่ีเข้ามาในร้านหิวทัง้นัน้ และคนท่ีโมโหหิวร้ายท่ีสดุ ซึง่เราจะใช้ 4 ข้อนีเ้ป็นแนวทางในการวางนโยบายด้านอื่นๆ ด้วย" • อีกเร่ืองหลกัท่ีเป็นสว่นผสมความส าเร็จของเอ็มเคคือ การไมห่ยดุน่ิง คิดค้นไอเดียการตลาดใหมต่ลอดเวลา ย้อนกลบัไปเม่ือราว 20 ปีก่อน ฤทธ์ิ เป็นผู้น าในการน าเตาไฟฟ้ามาใช้แทนเตาแก๊ส ท าให้น า้เดือดเร็ว มีความปลอดภยั • หนึง่ในความเปลี่ยนแปลงครัง้ใหญ่ของเอ็มเคในวนันีค้อื กลยทุธ์การท าตลาดแบบ Segmentation "เอ็มเค โกลด์" เป็นพรีเมียมแบรนด์เน้นจับกลุ่มผู้บริโภคระดบับน

    "เอ็มเค เทรนดี"้ จับกลุมวัยรุ่น เน้นตกแต่งร้านด้วยสีสันสดใส

  • ประวัตขิองเอ็มเคโดยสังเขป (ต่อ)

    เอ็มเคมีแผนการขยายสาขาไปยงัยโุรป อเมริกา ในรูปแบบของแฟรนไชส์ หลงัจากขยายสาขาไปยงัญ่ีปุ่ นได้แล้ว 18 สาขา เป้าหมายของเอ็มเคคือ แบรนด์ระดบัอินเตอร์ภายในอีก 7 ปีข้างหน้า ไม่ใช่เครือข่ายร้านอาหารท่ีคนให้ความนิยมอนัดับต้นๆ ในเมืองไทยเท่านัน้

  • บทสรุปกรณีศึกษาของเอ็มเค

    • หวัใจของธุรกิจอาหารคือ ความสด ดงันัน้ระบบการจดัการโลจิสติกส์และศนูย์การกระจายสนิค้าจงึมีความส าคญัเป็นอย่างมาก • การจดัตัง้ศนูย์กระจายสินค้าของ MK ต้องเป็นจุดท่ีมีความเหมาะสมโดยสามารถควบคมุด้านเวลา คณุภาพ ความปลอดภยั และต้นทนุได้

  • กรณีศึกษา

    “อุตสาหกรรมยานยนต์” การใช้กลยทุธ์โลจิสตกิส์เป็นตวัขบัเคลือ่นองค์กร

  • 39

    The Toyota Way

    • ในสถานการณ์ปัจจบุนัการแข่งขนัเร่ืองการเพิ่มก าลงัการผลติมีคอ่นข้างสงู

    • บริษัทและโรงงานตา่งๆ ได้มีการน ากลยทุธ์ตา่งๆ มาชว่ยเสริมทางด้านความสามารถทางการผลิต เทคนิค ซึง่จะอ านวยประโยชน์และเพิ่มขีดความสามารถให้แก่แตล่ะองค์กร

  • 40

    The Toyota Way

    ปรัชญาการจดัการ

    • Maximize Performance เพื่อให้มี productivity ที่ดีที่สุด

  • 41

    The Toyota Way หวัใจส าคญั 5 ประการท่ีถือเป็น DNA ของพนกังาน

    TOYOTA

    ทกุคน ได้แก่

    –ความท้าทาย (Challenge)

    –ไคเซน็ (Kaizen)

    –เก็นจิ เก็นบตุซ ึ(Genchi Genbutsu)

    –การยอมรับนบัถือ (Respect)

    –การท างานเป็นทีม (Teamwork)

  • 42

    สถานการณ์ปัจจุบัน • TOYOTA กลายเป็นผู้ผลิตรถยนต์รายใหญ่ที่สดุในโลกและมียอดขายมากที่สดุในประเทศไทย

    • TOYOTA เป็นแบรนด์เก่ียวกบัรถที่มีช่ือเสียงในประเทศไทย

    • TOYOTA เป็นอาณาจกัรบริษัทสง่ชิน้สว่นยานยนต์คณุภาพสงู

    • เป็นผู้ผลิตที่ถกูกลา่วขวญัในด้านคณุภาพ และเป็นที่ไว้วา่งใจของลกูค้าทัว่โลก

    • ด้วยรูปแบบการผลิตที่มีความยืดหยุน่สงู มีมาตรฐานของรถยนต์บนสายการประกอบเดียวกนั เพื่อสนองตอบความต้องการของลกูค้า

  • 43

  • 44

    • หนึง่ในความส าเร็จของ TOYOTA ท่ีได้รับการกลา่วขวญัถึงกนัมาก คือ การผลิตแบบลีน (Lean production) หรือระบบการผลติแบบ TOYOTA (Toyot หรือ TPS)

    • การจดัรูปแบบของเซลล์ 5 ส. หรือระบบ Kanban เป็นระบบการผลติอนัล า้หน้าซบัซ้อน ซึง่ทกุๆ สว่นประกอบของระบบเกือ้หนนุกนัอย่างสมบรูณ์

  • 45

    การผลิตแบบลีน

    การผลิตแบบลีนเป็น 5 กระบวนการคือ

    • การะบคุณุคา่ลกูค้า (Customer Value)

    • การระบสุายธารคณุคา่ (Value Stream)

    • ด าเนินการให้การ “การไหล” (Flow)

    • “การดงึ” (Pull) กลบัจากความต้องการของลกูค้า

    • การพยายามปรับปรุงแก้ไขไปสูค่วามยอดเย่ียม (Striving to Excellence)

  • 46

    พืน้ฐานของระบบนัน้มุง่เน้นเก่ียวกบัการสนบัสนนุและการกระตุ้นให้บคุคลปฎิบตัิงานและมีการปรับปรุงอย่างตอ่เน่ือง โดยระบบ TPS มีแนวคิดคือ –มีวธีิการคิดที่สร้างสรรค์และเกิดขึน้อย่างสม ่าเสมอ –ปรัชญาด้านการจัดการแบบเบด็เสร็จ –การให้ความส าคัญกับความพงึพอใจของลูกค้า –เน้นการท างานเป็นทมีและการปรับปรุงอย่างต่อเน่ือง –การค้นหาแนวทางที่ดีกว่าอย่างไม่สิน้สุด – คุณภาพที่ผนวกเข้าไปในกระบวนการ –กระบวนการปฏบิัตงิานที่เป็นระบบระเบียบ –มีการพฒันาอย่างไม่หยุดน่ิง

  • 47

    บทสรุปของ TOYOTA WAY • การจะก้าวไปเป็นผู้ผลิตแบบลีนจ าเป็นต้องมีแนวคิดมุง่สร้างสายการไหลผ่านกระบวนการเพิ่มคณุคา่โดยปราศจากการขดัจงัหวะ

    • การไหลแบบทีละชิน้ในระบบการผลิตแบบดงึ ซึง่มีกลไกที่สง่ทอดมาจากความต้องการของลกูค้าก็ตอ่เม่ือมีการดงึผลิตภณัฑ์ออกไปจากจดุปฎิบตัิการถดัไปในช่วงเวลาสัน้ๆ

    • รวบรวมองค์กรในรูปแบบที่ทกุคนมุง่มัน่ที่จะปรับปรุงอยา่งตอ่เน่ือง

    • หากจะอธิบายการปฎิบตัิงานในสว่นของการผลิตจะต้องพิจารณาช่วงเวลาตัง้แตล่กูค้าสัง่ซือ้และได้รับค าสัง่ซือ้จากลกูค้า

  • 48

    “อุตสาหกรรมเส้ือผ้าและส่ิงทอ” การใช้กลยทุธ์โลจิสตกิส์เป็นเร่งสินค้าออกสู่ตลาด

    กรณีศึกษา

  • 49

    • โดยปกต ิอตุสาหกรรมสิ่งทอและเสือ้ผ้าแฟชัน่จะเป็นสินค้าตามฤดกูาลและเป็นสินค้าที่มีการเปลี่ยนแปลงอยา่งรวดเร็วมาก

    • ความต้องการของลกูค้าหรือตลาดมีการเปลี่ยนแปลงอยา่งรวดเร็วมาก

    • การแขง่ขนัภายในอตุสาหกรรมคอ่นข้างรุนแรงมาก

    • นอกจากนีก้ระบวนการออกแบบและการผลิตก่อนออกสู่จ าหน่ายตามท้องตลาดที่คอ่นข้างนานมาก (โดยปกติประมาณ 3-6 เดือน)

  • 50

    Li And Fung (L&F)

    • บริษัท Li And Fung (L&F) ท่ีฮ่องกงก่อตัง้มานานกวา่ 90 ปี

    • มีสนิค้าประเภทเสือ้ผ้า เคร่ืองแตง่กาย อปุกรณ์กีฬา สนิค้าใช้ในบ้าน

    • มีประสบการณ์อยา่งแท้จริงในการค้าขายโดยไมมี่โรงงานผลติสินค้าของตนเอง

    • การค้าของ Li And Fung (L&F) ประมาณ 5.5 พนัล้านเหรียญฮ่องกงตอ่ปี

  • 51

    Li And Fung (L&F) • Li And Fung (L&F)มีโรงงานหรือหน่วยการผลิตที่ไว้ใจได้ในโลกมากกวา่ 7500 แหง่ใน 40 ประเทศ

    • Li And Fung (L&F) มีคนงาน 14000 คน ใน 40 ประเทศ

    • Li And Fung (L&F) มีโรงงาน 2500 แหง่ที่สามารถท างานตามค าสัง่ได้ทนัทีโดยชิน้สว่นหรือสินค้าทกุชิน้จากแตล่ะโรงงานจะเป็นไปตามรูปแบบมาตรฐานและเวลาที่ Li And Fung (L&F) ก าหนด

    • Li And Fung (L&F) จะสัง่ชิน้งานหรือสินค้าตามฤดกูาร หากโรงงานไหนท าได้โดยไม่พลาด Li And Fung (L&F) ก็จะให้งานมากขึน้

  • 52

    Li And Fung (L&F)

  • 53

    Li And Fung (L&F) • Li And Fung (L&F) จะเป็นผู้วางแผนการผลิตโดยคิดวา่จะหาวตัถดุิบจากที่ใด สง่ให้กบัโรงงานผลิตอะไร และจะสง่เสือ้ผ้าท่ีตดัเย็บเรียบร้อยแล้วให้ลกูค้าจากที่ใดไปที่ใด และมีการขนสง่แบบใด

    • Li And Fung (L&F) มีเครือขา่ยโรงงานที่คอ่ยรองรับในกรณีที่บางโรงงานมีปัญหาด้านโลจิสติกส์ไม่สามารถสง่สินค้าไปยงัลกูค้าได้

    • Li And Fung (L&F) ยงัคงหาโรงงานเพ่ิมขึน้เร่ือย พร้อมกบัมองหาช่องทางในการเพ่ิมสินค้าตวัใหม่

  • 54

    Li And Fung (L&F)

    แนวคิดในการผลิตและการจดัการซพัพลายเชน

    • เม่ือได้ค าสัง่มา จะท าอย่างไร จงึจะท าให้ค าสัง่ซือ้นัน้จบลงได้ด้วยความเรียบร้อย

    • เม่ือเลือกโรงงานที่ผลติได้แล้ว จะก าหนดการจดัการซพัพลายเชนในสนิค้าแตล่ะค าสัง่ซือ้เป็นการเฉพาะ

  • 55

    บทสรุปของ Li And Fung (L&F)

    • Li And Fung (L&F) มีการบริหารการผลิตแบบ Dispersed Manufacturing (การผลิตแบบกระจาย)

    • Li And Fung (L&F) มีการบริหารจดัการซพัพลายเชนแบบ Outsource และ Just-in-Time

    • Li And Fung (L&F) ให้ความส าคญักบัการลดเวลาในการสง่มอบหรือ cycle time

  • 56

    บทสรุป • หลกัการตา่งๆ ที่น ามาใช้ในการจดัการหว่งโซ่อปุทานและโลจิสติกส์นัน้เปรียบเสมือนเฟืองขบัเคลื่อนให้การจดัการดงักลา่วประสบความส าเร็จได้

    • ในการเลือกน าหลกัการดงักลา่วมาปฏิบตัิได้นัน้ ในแตล่ะองค์กรควรจะมีความพร้อมทัง้ด้านนโยบายและการด าเนินการ ความร่วมมือระหวา่งแผนกภายในองค์กรเดียวกนั หรือระหวา่งองค์กร การน าเทคโนโลยีเข้ามาสนบัสนนุการด าเนินการรวมถงึการบริหารจดัการ การด าเนินงานในแตล่ะกิจกรรมของการด าเนินธุรกิจด้วย