36
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒๔ วันที่ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ) ชมรมไอคิโด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อาคารกิจกรรมนักศึกษา (.มช.) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ . สุเทพ .เมือง . เชียงใหม่ 50200 ติดต่อได้ทปีใหม่ (ประธานชมรม) 087-1772511 ป๋อม (ผู้ประสานงานชมรม) 089-7017686 กบ (บรรณาธิการจดหมายข่าว) 081-4055379 Email: [email protected] Facebook: Aikido CMU หน้า AikidoCMU NEWSLETTER

#24 AikidoCMU

Embed Size (px)

DESCRIPTION

Chiang Mai University AikidoClub Newsletter #24 August 2010

Citation preview

Page 1: #24 AikidoCMU

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB!

ฉบับที่ ๒๔ วันที ่๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

ชมรมไอคิโด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อาคารกิจกรรมนักศึกษา (อ.มช.) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ถ. สุเทพ อ.เมือง จ. เชียงใหม่ 50200

ติดต่อได้ท ี่ ปีใหม่ (ประธานชมรม) 087-1772511

ป๋อม (ผู้ประสานงานชมรม) 089-7017686

กบ (บรรณาธิการจดหมายข่าว) 081-4055379

Email: [email protected] Facebook: Aikido CMU หน้า ๑

AikidoCMU NEWSLETTER

Page 2: #24 AikidoCMU

มารยาทบนเบาะ .....ดร.สมบัติ ตาปญญา ๓

พลังใจในการฝกไอคิโด .....อ.ธีระรัตน บริพันธกุล ๘เที่ยวบินที่ TG642 เดินทางสู HOMBU DOJO

... ชูชีพ สุนทรานนท ๑๒ คนหาความตองการที่แทจริงของคูพิพาท

... วิสุทธิ์ เหล็กสมบูรณ ๑๗

THE SPIRIT OF AIKIDO (2)

... KISSHOMARU UESHIBA ๒๐

สุภาษิตโกะกับขาพเจา ๖ : การโจมตีคือรูปแบบที่ดีของ การตั้งรับ ..... NOURNOURS’ MOM ๒๘ AIKIDO(KA) IN FOCUS วรัญญา สุขเลิศวิมล ๓๐

มาเยี่ยมมาเยือน .... JOE BRENT ๓๒ .... OLIVER THORNE ๓๓ AIKIDO FAMILY .... อาจารยประพันธ จิตตะปุตตะ มาเยี่ยมชาวเชียงใหม ๓๕ .... นองเอกไปเรียนตอที่อเมริกา ๓๖

อ.ธีระรัตน ์

บริพันธกุล

ดร.สมบัติ ตาปัญญา

สารบาญ

หน้า ๒

โฟกัส

Nounours’ Mom

นักเขียนในฉบับ

วิสุทธิ ์

เหล็กสมบูรณ์

KisshomaruUeshiba

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB!

ฉบับที่ ๒๔ วันที ่๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Introducing“Toey”

- the plastic man -

ชูชีพสุนทรานนท์

Page 3: #24 AikidoCMU

มารยาทบนเบาะผศ.ดร. สมบัติ ตาปญญา

มารยาทในสถานฝก-มารยาทในชีวิต บทเรียนในการอยูรวมกับผูอ่ืน

เม่ือไมนานมานี้มีสมาชิกถามผมบางเร่ืองเก่ียวกับการปฏิบัติตัวบนเบาะ เชน ถามวาถามีแขกมาเยี่ยมเยียนและรวมฝกกับเรา (โดยเฉพาะคนตางชาติ) สมาชิกควรแนะนำหรือชวยสอนเขาหรือไม และถาไปแนะนำเขาแลวเขาไมยอมรับ เชน มีฝร่ังคนหนึ่งเม่ือเราแนะนำเทคนิคให เขากลับบอกวาที่เคยเรียนมาเขาไมไดทำแบบนี้ หรือแบบที่เราสอนมันไมถูก เราควรจะทำยังไงดี เลยทำใหผมคิดวาเรามาทบทวนเร่ืองมารยาทในการฝกหรือมารยาทในสถานฝกกันเสียหนอยก็นาจะดี ผมเลยลองรวบรวมดูจากเวปไซทของสถานฝกหลายๆ แหงในตางประเทศ เพื่อเปรียบเทียบกันดูวาเขาเนนอะไรในเร่ืองนี้บาง

หน้า ๓

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB!

ฉบับที่ ๒๔ วันที ่๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 4: #24 AikidoCMU

จุดประสงคของการแสดงมารยาทในสถานฝกก็คือเพื่อแสดงความเคารพตอครูผูฝกและเพื่อนรวมฝกดวยกัน เพื่อชวยกันดูแลสถานฝกและกระบวนการฝกใหดำเนินไปไดอยางราบร่ืน และเพื่อความปลอดภัยของทุกคน นอกจากนั้นมารยาทในการฝกยังชวยใหเรามีสมาธิดีและพัฒนาฝมือของเราใหดีขึ้นและเร็วขึ้นอีกดวย มารยาทในสถานฝกอาจแบงออกเปนหลายดานดังตอไปนี้

การรักษาความสะอาด

❖การฝกไอคิโดเปนกิจกรรมที่ตองใกลชิดถึงเนื้อถึงตัวกัน การรักษาความสะอาดของรางกายและชุดฝก ตลอดจนเบาะและบริเวณรอบๆ จึงสำคัญมาก คงไมมีใครอยากฝกกับคนที่ตัวเหม็น ปากเหม็น เสื้อผาขึ้นราหรือเหม็นอับชื้น หรือเบาะและบริเวณรอบๆ ที่สกปรก มีคราบฝุนหรือของเหลวที่เหนียวหนึบติดเสื้อผาและเนื้อตัวเรา และบอยคร้ังที่เราตองเอาหนาแนบไปกับพื้นเบาะดวย สิ่งที่ควรปฏิบัติในเร่ืองนี้คือ

❖กอนมาฝกควรอาบน้ำ ถูฟน ลางมือ ลางเทา ใหสะอาด เตรียมชุดฝกที่สะอาดมาดวย

❖เพื่อรักษาความสะอาดของเบาะ ควรพกรองเทาแตะใสถุงไวในกระเปาใสชุดฝกและนำออกมาใชเวลาเดินไปมาในสถานฝก ถา

อยากเทแบบธรรมเนียมญี่ปุนจะหารองเทาแตะแบบญี่ปุนมาใสก็ได แตถาขี้เกียจแบกของเยอะ รองเทาฟองน้ำบางๆ ก็ยังดี ไมงั้นเราจะ

เหยียบเอาฝุนผงและความสกปรกรอบๆ เบาะขึ้นไปเลอะบนเบาะดวย (เก่ียวกับเร่ืองนี้ผมเห็นสมาชิกบางคนไมชอบเอาชุดฝกใสกระเปาหรือถุงมาใหเรียบรอย แตหอบมาพะรุงพะรัง ซึ่งดูไมเรียบรอยและนาจะทำใหสกปรกงาย จะเอาอุปกรณฝกอื่นๆ เชน ขวดน้ำ รองเทาแตะ ใสมาก็ไมสะดวก และเม่ือเปล่ียนชุดแลวก็ไมมีอะไรใสเสื้อผาและขาวของที่ใสมาอีก ตองเอาวางไวโลงๆ เสี่ยงตอการถูกขโมย จึงควรหาถุงผาหรือกระเปาใสชุดฝกและอุปกรณดวย)

หน้า ๔

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB!

ฉบับที่ ๒๔ วันที ่๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 5: #24 AikidoCMU

❖ งดเวนการประพรมน้ำหอมหรือใชเคร่ืองสำอางที่มีกล่ินฉุนรุนแรงเพราะบางคนอาจแพสิ่งเหลานี้ หรือแมวามันจะหอมสำหรับเรา แตสำหรับคนอื่นๆ บางคนเม่ือไดกล่ินแลวอาจไมถูกรสนิยมหรือสรางอารมณที่ไมเหมาะสมกับการฝกขึ้นมาได

ความปลอดภัย

ในการฝกไอคิโดเราตองบิดขอ ทุม ลม หรือมวนตัวไปมาทามกลางกลุมคน บางคร้ังอาจลมทับกัน ทำใหบาดเจ็บหรือเกิดอันตรายได เราจึงควรใหความสนใจกับเร่ืองความปลอดภัยเปนพิเศษ สิ่งที่ควรปฏิบัติ คือ

❖ คอยระวังไมใหเกิดอุบัติเหตุอยูเสมอ ขณะฝกไมควรคึกคะนอง แตควรสนใจระแวดระวังบริเวณรอบๆ ตัวตลอดเวลา เพื่อไมใหกระแทกหรือลมทับคนอื่นๆ เม่ือชน เหยียบหรือลมทับผูอื่นควรรีบโคงคำนับและกลาวขอโทษทันที และพยายามถือเปนบทเรียนใหระมัดระวังยิ่งขึ้น

❖ ขณะฝกควรคำนึงถึงระดับความสามารถและประสบการณของตนเองและคูฝก แลวฝกในระดับที่รูสึกสบายทั้งสองฝาย คุณไมควรที่จะพยายามกดดันหรือบังคับคูฝกเพื่อใหเกงเร็วขึ้น หรือใชกำลังและความเร็วอยางเต็มที่ตลอดเวลาโดยไมคำนึงถึงความเหมาะสมของคูฝก หลักงายๆ ในขอนี้ก็คือ เม่ือคูฝกมีฝมือและประสบการณสูงกวาเราและน้ำหนักไมตางกันมาก ควรฝกใหเต็มกำลัง แตถาอีกฝายมีปจจัยดังกลาว (ฝมือ ประสบการณ น้ำหนัก) นอยกวาเรา ควรลดความเร็วความแรงใหเหมาะกับเขา คือใหทาทายความสามารถแตไมใชกันไวหมดหรือแกลงทำใหเขาฝกไมไดเลย แตก็ไมควรออนปวกเปยกหรือเขาขยับนิดหนอยก็กระโดดลมตัวลอย ซึ่งก็จะไมชวยใหเขาไดพัฒนาฝมือเชนเดียวกัน การฝกไอคิโดไมใชเพียงแตจะฝกเพียงความสามารถดานรางกายเทานั้น แตการฝกจิตหรือทัศนคติที่เหมาะสมก็ตองทำไปพรอมกัน การไมรูจักอดทนตอผูอื่น (หงุดหงิดกับเขางาย) หรือไมอดทนกับตัวเอง ยอมเปนอุปสรรคตอความกาวหนาในวิธีแหงสันติของเราดวย

หน้า ๕

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB!

ฉบับที่ ๒๔ วันที ่๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 6: #24 AikidoCMU

❖ พยายามฝกในลักษณะที่นุมนวล ราบร่ืน สม่ำเสมอ ใหมากที่สุด การฝกแบบกระตุกกระชาก กระแทกกระทั้น ทำใหคูฝกรูสึกไมสบายและอาจเปนอันตรายตอผูฝกใหมที่ยังไมพรอมที่จะปรับตัวใหทันกับความรุนแรงของเทคนิคไอคิโดได

การแสดงความเคารพและใหเกียรติผูอ่ืน

ในการฝกไอคิโด (และศิลปะการตอสูปองกันตัวแบบอื่นๆ) เราจะเห็นวามีการเคารพกันบอยๆ ตลอดเวลา เหตุผลหนึ่งก็คือเรามีโอกาสที่จะกระทบกระทั่งหรือผิดพลาด สรางความเจ็บปวดหรือเสี่ยงอันตรายใหแกคูฝกได

เราจึงแสดงการเคารพเพื่อขอบคุณและขอโทษ เม่ือจะเร่ิมฝกดวยกันเราจึงมักถือธรรมเนียมกลาวเปนภาษาญี่ปุนวา a aaaaaaaaaaaa“โอเนไกชิมัสสึ” ซึ่งแปลวา “โปรดกรุณา (หรืออนุเคราะห) ขาพเจาดวย” และเม่ือฝกเสร็จก็จะกลาวคำขอบคุณวา “อาริกาโตะ โกไซมาชิตะ” แปลวา “ขอบคุณสำหรับสิ่งที่ทานไดกรุณาแกขาพเจาไปแลว” สวนการเคารพรูปปรมาจารย และเคารพครูฝกก็เปนการแสดงความออนนอมและขอบคุณในความเมตตาของปรมาจารยที่คิดคนวิชานี้ขึ้นมาใหเราไดเรียน และครูฝกที่กรุณาชวยฝกสอนใหเรานั่นเอง

ผมเขาใจวามารยาทในการเคารพผูอื่นนี้จะมีคุณคาก็ตอเม่ือเราทำอยางจริงใจและมีสติ ใหเกียรติ เคารพในศักด์ิศรีของผูอื่น และรูสึกขอบคุณจริงๆ จึงจะใหผลในการฝกลดความยึดติดในตัวตนหรือ “อัตตา” ซึ่งเปนสวนสำคัญของการฝกไอคิโด (เชนเดียวกับการฝกปฏิบัติดานจิตวิญญาณแบบอื่นๆ) ไมใชสักแตวาทำไปพอเปนมารยาทหรือทำตามธรรมเนียมเทานั้น

หน้า ๖

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB!

ฉบับที่ ๒๔ วันที ่๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 7: #24 AikidoCMU

หน้า ๗

จะวาไปแลวมารยาทในสถานฝกนาจะเปรียบเทียบกับมารยาทในการดำรงชีวิตรวมกับผูอื่นได เพราะการมีมารยาทเปนการแสดงออกวาเราหวงใยความรูสึกของคนที่เราอยูดวยในขณะนั้น ตั้งแตเร่ืองพื้นๆ งายๆ เชน การแสดงออกของรางกาย เชน การไมหันหลังให ไมสบตา (เพราะเรากำลังดูทีวีหรือเลนเกมคอมฯสนุกๆ อยู) หรือลวงโทรศัพทมาเลนเวลาเขาพูดกับเรา ไมหาว เรอเสียงดัง หรือแมกระทั่งผายลมออกมาตอหนาเขา ไปจนถึงเร่ืองที่ละเอียดออน เชน การคอยสังเกตดูแลไมใหเขารูสึกอึดอัด ไมสบายทั้งดานรางกายหรือจิตใจ หากเราทำเชนนี้ไดดี เราก็จะอยูรวมกับคนอื่นไดอยางมีความสุข

บางคนอาจบอกวา ผมไมอยากเสแสรง อยากทำตัวเปนธรรมชาติ แตเราคงตองแยกแยะใหดีกอน ระหวางการเกรงใจผูอื่นกับการเสแสรง เพราะถาจะใหเปนธรรมชาติจริงๆ เราก็คงไมตองนุงผา หรือจะทำธุระ “สวนตัว” อะไรตางๆ ในที่สาธารณะก็ทำไดโดยไมตองแครสายตาใคร ซึ่งผมแนใจวาไมมีใครที่สามารถทำไดอยางสบายใจ (ยกเวนคนไขโรคจิตที่ผมเห็นเดินไปมาตามขางถนนเปนบางคร้ัง ซึ่งไมเคยอาบน้ำ ตัดผม หรือพูดคุยกับใครเลย) หรือถาคุณกำลังพยายามทำอยางนี้อยูก็อาจเปนเพราะคุณกำลังเสแสรงหรือหลอกตัวเองมากกวา

เร่ืองมารยาทในสถานฝกไอคิโดยังมีอีกหลายดาน ซึ่งเพื่อไมใหบทความนี้ยาวเกินควรคงจะตองนำมาเสนอตออีกใน

ตอนตอไป แตสำหรับคำถามที่เกร่ินไวขางตนบทความวาเราควรสอนเทคนิคใหกับผูรวมฝก

ที่มาเยี่ยมเยียน หรือผูมีประสบการณนอยกวาเราหรือไม มีแนวทางจากสถานฝกบางแหงที่แนะนำเก่ียวกับเร่ืองนี้เหมือนกัน เชน จาก http://www.aikido-west.org/ handbook/dojo_etiquette. html บอกวา

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB!

ฉบับที่ ๒๔ วันที ่๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 8: #24 AikidoCMU

หน้า ๘

❖เราควรแสดงความเคารพผูที่มีอาวุโสกวาเรา ไมควรโตแยงเก่ียวกับเทคนิค

❖คุณมาที่นี่เพื่อฝกฝนตนเอง อยา

ยัดเยียดความคิดของคุณใหคนอื่น ๆ

❖ถาคุณรูเทคนิคที่ครูกำลังใหฝกอยู แตคูฝกของคุณไมรู คุณอาจชวยนำทางใหเขาทำเทคนิคนั้นไดในระดับหนึ่ง แตไมควรพยายามแกไขหรือสอนคูฝกอยางจริงจัง ถาคุณไมใชครูผูชวยฝกที่ไดรับการแตงตั้งอยางเปนทางการ

❖ ควรพูดคุยใหนอยที่สุด เพราะการฝกไอคิโดเปนเร่ืองของการสั่งสมประสบการณ ไมใชการถกเถียงทางวิชาการหรือทางความคิด

a ในกรณีที่ผูฝกไมยอมทำเทคนิคตามที่ครูฝกแนะนำ โดยอางวาที่เคยฝกมาไมใชแบบนี้นั้น นาจะเปนความออนดอยทางมารยาทหรือความคับแคบของจิตใจของเขาเองมากกวา เพราะเทคนิคไอคิโดมีหลากหลายจนนับไมถวน ไมมีอันใดอันหนึ่งที่ถูกที่สุด แลวอยางอื่นๆ ผิดหมด

a เราจึงควรพยายามฝกสิ่งที่ครูแนะนำและเปดใจรับใหกวางไวดีกวา เพื่อจะไดเติบโตและพัฒนา ไมเชนนั้นเราก็จะยึดอยูกับแตสิ่งที่เราคุนเคย ไมไดขยายโลกทัศนของตนเอง และไมพัฒนาในที่สุด

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB!

ฉบับที่ ๒๔ วันที ่๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 9: #24 AikidoCMU

อ.ธีระรัตน บริพันธกุล

พลังใจในการฝกไอคิโด

การฝกไอคิโดก็เชนเดียวกับการทำกิจกรรมอื่นๆของชีวิต เชน ความรักที่ครั้งหนึ่งหวานปานจะ

กลืนกินก็อาจจืดจางและเลิกรากันไป ในดานการเรียนเราก็มักจะไมสามารถตั้งใจเรียนไดอยางตอเนื่อง การฝกไอคิโดก็เชนกันที่บางครั้งเราก็ขยันหรือรูสึก

คึกคักในการฝกซอมแตบางครั้งเราก็ขี้เกียจและมีขออางสารพัดที่จะทำใหเราไปฝกซอมไมได

หน้า ๙

ภาพจ

าก h

ttp://

ww

w.ya

chig

usar

yu.

com

/blo

g/pi

cs/c

arto

on_k

i.jpg

ปรากฏการณดังกลาวเปนเรื่องธรรมดาและเปนไปตามธรรมชาติของวงจรการเกิดขึ้น ตั้งอยูและดับไป เพียงแตวาหากเบื่อหนายในการฝกซอมก็ขอใหไมเบื่อยาวจนเกินไปถาจะใหดีก็

ควรมองหาสาเหตุที่ทำใหเรารูสึกเชนนั้นและหาทางแกไขแรงจูงใจของเรา แงมุมที่ดีอยางหนึ่งของความเบื่อหนายและขี้เกียจก็คือเปนการพักตัวการเรียนรูและเปนการชารจพลังชีวิตขึ้นมาใหม เราเคยสงสัยไหมครับวาอาจารยสายสูงๆหลายคนมีไฟในการฝกซอมอยางสม่ำเสมอจนอาจกลาวได

วาฝกกันซอมจนกวาจะตายไปขางหนึ่ง มีอาจารยฝรั่งคนหนึ่งถึงแมจะมีอายุมากแลวทานก็ยังฟนดาบไมวันละ 1,000 ครั้งโดยไมมีวันหยุดสุดสัปดาหเลย

พฤติกรรมของมนุษยเกิดจากแรงจูงใจและเรื่องแรงจูงใจเปนเรื่องที่นักจิตวิทยาใหความสนใจและพยามศึกษาคนความากที่สุด แนวคิดเกาเรื่องแรงจูงใจถูกมองวาเปนเรื่องเฉพาะตัว เชน คนที่ติดเหลา หากเขาไมคิดที่จะเลิกเองก็ไมมีใครที่จะชวยอะไรเขาได แตจากการศึกษาในเรื่อง

แรงจูงใจในปจจุบันทำใหเรามีมุมมองใหมและมีทัศนคติใหมที่นาสนใจดังนี้

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB!

ฉบับที่ ๒๔ วันที ่๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 10: #24 AikidoCMU

✤ แรงจูงใจเปนหัวใจของการเปลี่ยนแปลง การฝกไอคิโดจะตอเนื่องยาวนานเพียงใดและจะประสบความสำเร็จหรือไมขึ้นอยูกับแรงจูงใจ

ของแตละคน บางคนเริ่มฝกแค 2-3 ครั้งแลวก็ไมมาอีกเลย แตบางคนฝกตลอดชีวิตจนกวาจะถึงวาระสุดทายของชีวิตก็มีมากเชนกัน

✤แรงจูงใจเปนเรื่องที่สลับซับซอน แรงจูงใจเปนเรื่องที่อยูในระดับ

จิตใตสำนึกและระดับจิตสำนึก แรงจูงใจบางอยางมาจากภายในตัวของเราเองและแรงจูงใจบางอยางก็มาจากภายนอกตัวเรา เชนบางคนตองฝกอาจ

เพราะมีความกลัวทีจะถูกทำราย บางคนฝกเพื่อควบคุมอารมณกาวราวของตนเอง บางคนเนนความสำเร็จ บางคนเนนความสุขและสุขภาพ บางคนอาจตองการการเขาสังคม บางคนมาฝกเพราะถูกขอรองแกมบังคับ

ฯลฯ

✤แรงจูงใจเปนสิ่งที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา บางครั้งเราก็รูสึกคึกคัก

ในการไปฝกแตบางครั้งเราก็รูสึกเบื่อหนายกับการฝก อุปสรรคที่จะบั่นทอนแรงจูงใจอาจมาจากภายใจจิตใจ เชนความรูสึกเบื่อหนาย ความรูสึกวาเรียนรูชา สวนอุปสรรคภายนอกเชนปญหาการเดินทาง

ภาระงานอื่นๆที่มีมาก

✤ แรงจูงใจอยูภายใตอิทธิพลของปฏิสัมพันธทางสังคม แรงจูงในการฝกอาจถูกกระตุนจาก

ความสัมพันธที่ดีระหวางเพื่อนสมาชิกในชมรมรวมถึงการไดรับการสนับสนุนดานกำลังใจจากคนในครอบครัว

นอกจากที่ไดกลาวไวขางตนแลวยังมีสถานการณบางอยางที่จะชวยกระตุนหรือเรงเรา

ใหเกิดแรงจูงใจในการในการฝกดังนี้

✤ ระดับของความเครียด เรามักจะขยันชวงที่ใกลสอบเพราะเรามีความเครียดที่มากกวา

ปกติ การฝกไอคิโดก็เชนกันหากเราตัดสินใจที่จะสอบเลื่อนสายแลวละก็จะทำใหเรากระตือรือรนในการฝกมากกวาปกติ

หน้า ๑๐

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB!

ฉบับที่ ๒๔ วันที ่๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 11: #24 AikidoCMU

✤ วิกฤติการณในชีวิต นักไอคิโดหลายคนเคยถูกทำรายหรือไมก็ถูกรังแกมากอน วิกฤติดังกลาวทำใหเขาสนใจที่จะฝกอยางจริงจังรวมทั้งยังมีแรงบันดาลใจที่จะสอนคนอื่นใหรูจัก

การปองกันตัวดวย

✤ การใชสติปญญาในการประเมินคุณคา ผูที่ฝกเปนเวลานานๆแทบจะไมนาสงสัยเลยวาพวกเขาประเมินแลววาการฝกฝนที่ตองทุมเททั้งกำลังกายกำลังใจ ตองเสียทั้งเวลาและ

การเดินทาง ไหนจะตองลดกิจกรรมบางอยางที่ชอบในชีวิตประจำวันไปแตพวกเขาก็ถือวาเปนสิ่งที่คุมคากับการลงทุน อาจเขาไดกับคำกลาวที่วา “our loss is our gain” แต

ถาใครที่ประเมินแลววา “our gain is our loss “ ก็คงตองยุติการฝกไปเปนธรรมดา

✤ การตระหนักถึงผลดีผลเสียที่เกิดจากพฤติกรรมของตนเอง หากการฝกสามารถที่จะตอบสนองตอแรงจูงใจสวนตัวไดหลายหลายประการ เชน การฝกชวยใหเกิดความเชื่อมั่น มี

สุขภาพดีขึ้น มีความสนุกกับการฝก ไดเพื่อนที่ดีมีน้ำใจ ชวยใหหายเหงา ฯลฯ การฝกก็เสมือนหนึ่งไดรับรางวัลหรือการเสริมแรง แตถาหากการฝกนั้นไมไดรับประโยชนใดๆแถม

ยังไดรับบาดเจ็บหรือถูกตำหนิตอวา แรงจูงใจในการฝกก็ยอมจะหมดไป

✤ ทาทีของครูผูสอน ครูผูสอนที่มีทาทีใสใจและเห็นอกเห็นใจรวมทั้งเปนแบบอยางที่ดีแกนักเรียนจะชวยใหนักเรียนมีแรงบันดาลใจในการฝกซอม ในทางตรงทาทีที่ไมใสใจแถมยัง

มีความไมเปนมิตรแฝงของครูจะสงผลใหนักเรียนไมอยากที่จะมาฝกซอม

แรงจูงใจหรือพลังใจในการฝกจึงเปน

กุญแจสำคัญของความสำเร็จไมเพียงในการฝกไอคิโดเทานั้นแตยังจำเปนสำหรับกิจกรรมตางในชีวิตประจำวัน

ดวย Einstein เคยกลาวไวอยางถอมตัววาทานไมไดเกงไปกวาคนทั่วๆไปแต

ทานมีกำลังใจความมุงมั่นที่จะใชศักยภาพที่มีอยูไดอยางเต็มที่เทานั้นเอง

หน้า ๑๑ภาพจาก http://www.aikidofaq.com/bilder/humor/logo.gif.html

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB!

ฉบับที่ ๒๔ วันที ่๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 12: #24 AikidoCMU

àเ´ดç็¡ก¤ค¹นËห¹นÖึè่§งäไ´ด�ŒàเÃรÔิè่ÁมµตÑัé้§งäไ¢ข�‹ãใ¹นÇวÔิ¶ถÕีáแËห�‹§งäไÍอ¤คÔิâโ´ดãใ¹นªชÁมÃรÁมäไÍอ¤คÔิâโ´ดÁมËหÒาÇวÔิ·ท∙ÂยÒาÅลÑัÂยàเªชÕีÂย§งãใËหÁม�‹ âโ´ดÂย¤คÇวÒาÁม¡กÃรØุ³ณÒา¢ขÍอ§ง·ท∙�‹Òา¹นÍอÒา¨จÒาÃรÂย�ÊสÁมºบÑัµตÔิ áแÅลÐะÍอÒา¨จÒาÃรÂย�¸ธÕีÃรÐะÃรÑัµต¹น� ÊสÔิºบÊสÍอ§ง»ป�‚¼ผ�‹Òา¹นäไ»ป àเ´ดç็¡กÁมÑั¸ธÂยÁม¤ค¹น¹นÑัé้¹น¡กç็ÂยÑั§ง¤ค§งÂยÖึ´ดÁมÑัè่¹นãใ¹นËห¹น·ท∙Òา§งäไÍอ¤คÔิâโ´ด Ëห¹นÖึè่§งãใ¹น¤คÇวÒาÁม½ฝ�˜¹น¢ขÍอ§งàเ¢ขÒา áแÅลÐะ¹น�‹Òา¨จÐะàเ»ป�š¹น¢ขÍอ§ง¹นÑั¡กäไÍอ¤คÔิâโ´ดáแ·ท∙ºบ·ท∙Øุ¡ก¤ค¹น¡กç็¤ค×ืÍอ ¡กÒาÃรäไ´ด�ŒÃร�‹ÇวÁม½ฝ�ƒ¡กãใ¹นªชÑัé้¹นàเÃรÕีÂย¹นäไÍอ¤คÔิâโ´ด·ท∙Õีè่ÊสÓำ¹นÑั¡กãใËห­Þญ�‹ HOMBU DOJO áแÅลÐะãใ¹น·ท∙Õีè่ÊสØุ´ด... ¤คÇวÒาÁม½ฝ�˜¹น¢ขÍอ§งàเ¢ขÒา¡กç็àเ»ป�š¹น¨จÃรÔิ§ง

àเ·ท∙Õีè่ÂยÇวºบÔิ¹น·ท∙Õีè่ TG642àเ´ดÔิ¹น·ท∙Òา§งÊสÙู�‹

HOMBU DOJO

หน้า ๑๒

äไÍอ¤คÔิâโ´ด ÇวÔิ¶ถÕีáแËห�‹§งÊสÑั¹นµตÔิ Ëห¹นÖึè่§งãใ¹นÈศÔิÅล»ปÐะáแËห�‹§ง¡กÒาÃร»ป�‡Íอ§ง¡กÑั¹นµตÑัÇว·ท∙Õีè่¶ถ×ืÍอ¡กÓำàเ¹นÔิ´ดãใ¹น»ปÃรÐะàเ·ท∙Èศ­ÞญÕีè่»ปØุ�†¹นâโ´ดÂย·ท∙�‹Òา¹น»ปÃรÁมÒา¨จÒาÃรÂย�âโÁมÃรÔิàเÎฮ ÍอØุàเÍอÐะªชÔิºบÐะ

(植芝盛平)

âโ´ดÂย ªชÙูªชÕี¾พ ÊสØุ¹น·ท∙ÃรÒา¹น¹น·ท∙�

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB!

ฉบับที่ ๒๔ วันที ่๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 13: #24 AikidoCMU

เที่ยวบินที่ TG642 เดินทางสูทาอากาศยานนาริตะ ประเทศญี่ปุน เปนเที่ยวบิน

ที่เติมเต็มความฝนของนักไอคิโดคนหนึ่ง ผมทำหนาที่เปนนักบินผูชวยในเที่ยวบินนี้

การไปปฏิบัติหนาที่ในการบินครั้งนี้ ผมจะมีเวลาอยูในญี่ปุนเพียง 24 ชั่วโมง ดวยเวลาอันจำกัด เพื่อไมใหพลาดชั้นเรียนไอคิโดที่มีการกำหนดไวอยางชัดเจน ผมจึงตองทำการบานเกี่ยวกับการเดินทางระหวางโรงแรมที่ผมพักกับ HOMBU DOJO อยางละเอียด

เชาวันใหมขณะที่พระอาทิตยเริ่มสองแสงลงสูแผนดินของเมืองโตเกียว ลอเครื่องบินสัมผัสพื้นรันเวย

ที่สนามบินนาริตะผมรูสึกตื่นเตนอยางบอกไมถูก เมื่อเสร็จภารกิจจากการปฏิบัติหนาที่การบินแลว ลูกเรือทุกคนก็เขาสูหองพักที่โรงแรมนาริตะวิว ซึ่งอยูหางจากสนามบินเพียงสิบนาทีเมื่อเขาหองพักผมรีบจัดเตรียมชุดฝก แผนที่ และสิ่งจำเปนทุกอยางสำหรับการเดินทาง จากนั้นก็เอนตัวลงนอนลงบนที่นอนสีขาวเขาสูหวงแหงความฝนดวยความเหนื่อยลาจากการบินเพื่อพักผอนเอาแรงสำหรับการฝกในชวงบายอันรอนอบอาวที่สุดในรอบปของญี่ปุน

เพียงชวง 2 ชั่วโมงกวาๆ เสียงนากาปลุกไดคอยๆดึงผมขึ้นมา จากความฝนหนึ่งสูอีกความฝนหนึ่งที่ผมกำลังจะทำมันใหเปนจริง

ผมรีบลุกขึ้นมาดวยความสดชื่นแตงตัวแลวควากระเปาขึ้นรถเดินทางสูใจกลางกรุงโตเกียว ซึ่งก็คือยาน Shinjuku อันโดงดัง จากโรงแรมผมตองขึ้นรถทั้งหมด 4 ตอ รวมเวลาเดินทางและเวลาตอรถก็ประมาณเกือบ 3 ชั่วโมง แมจะทำการบานมาเปนอยางดี (ญี่ปุนมีปายภาษาอังกฤษนอยมาก สวนมากเปนภาษาญี่ปุน) ในที่สุดผมก็ไปถึงที่ฝกประมาณ 10 นาทีกอนชั่วโมงฝก (ตองย้ำวาวิ่งจริงๆ วิ่งจากสถานีรถไฟใตดินจนถึงโดโจ เพราะเกือบไมทันชั้นเรียน)

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB!

ฉบับที่ ๒๔ วันที ่๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

หน้า ๑๓

Page 14: #24 AikidoCMU

HOMBU DOJO เปนตึก 5 ชั้น พื้นที่สำหรับการฝกมีอยู 3 ชั้น แตละชั้นมีหองฝกขนาดใหญปูดวยเบาะ TATAMI สีขาวอยางดี กอนเขาฝกตองไปติดตอที่หองสำนักงานเพื่อลงทะเบียนขอเขาฝก พนักงานไดถามถึงสมุดสมาชิกของ The Aikikai Foundation พรอมหยิบตัวอยางใหผมดู (รูสึกวาจะเปนเลมสีแดงๆ) แตผมไมมี เคาจึงถามถึงชื่อเสียงเรียงนามของอาจารยที่เราฝกอยูดวย ผมจึงแจงชื่ออาจารยของผมทั้งหมดไปจนถึงชื่ออาจารยใหญของเรา (จนถึงชื่อนี้คงไมมีใครที่ไมรูจัก) เคาจึงยอมใหเขารวมฝกโดยจายคาธรรมเนียมรายครั้ง 1,575 เยน จริงๆแลวสามารถเขาฝกไดทั้งวันเลย แตผมสามารถอยูไดชั้นเรียนเดียว เพราะมิฉะนั้นจะไมสามารถกลับทันรถโรงแรมเที่ยวสุดทาย คงไดนอนขางทางเปนแน

หลังจากจายคาธรรมเนียม ผมรีบถอดรองเทาสอดไวในชั้นรองเทาขนาดใหญตรงทางเขา มองแลดูแลวเปนระเบียบยิ่งนัก ชั่วโมงฝกนี้จะทำการฝกที่ชั้นสาม ผมรีบเปลี่ยนชุดเพื่อขึ้นเบาะใหตรงเวลาโดยเดินขึ้นเบาะผานประตูหลัง มีนักไอคิโดเขารวมฝกในวันนั้นประมาณเกือบ 40 คน ผมเปนสายดำเพียงคนเดียวที่ไมไดใสฮากามา (ถาไมคิดไปเองก็มีนักไอคิโดจำนวนไมนอยที่มองผมดวยความสงสัย)

เวลา 17.30 น. ตรง Seki Shihan - 7th dan เดินขึ้นเบาะจากประตูหนา นักไอคิโดทุกคนนั่งเรียงแถวดวยความเปนระเบียบ ทุกคนเงียบแสดงถึงความพรอมในการฝก เสียงที่ไดยินคงมีแตเพียงเสียงฝเทาของอาจารยที่เสียดสีกับเบาะเทานั้นจริงๆ บรรยากาศดูขลังเปนอันมาก ที่นี่การนั่งเคารพกอนการฝกนั้นไมจำเปนตองเรียงลำดับจากสายสูงถึงสายขาว อาจเปนเพราะเปนความยากที่จะเรียงลำดับเพราะสวนใหญ 80 - 90 เปอรเซ็นตเปนสายดำทั้งหมดเมื่อทำการเคารพตามลำดับขั้นเรียบรอยแลวก็เขาสูชั่วโมงฝก

ทานอาจารยนำวอรมเพียงครูเดียวไมนานนัก ก็เขาสูการฝกเทคนิคเลย วันนี้เนนหนักทางเทคนิคการเขาจับจากดานหลัง (Ushiro) แลวแกดวยเทคนิคตางๆ วิธีการที่ทานนำฝกนั้นทานจะทำการสาธิตเทคนิคตางๆ โดยไมมีคำพูดแมแตคำเดียว เปนการสอนดวยรางกายลวนๆ ศิษยทุกคนตองตั้งใจเก็บเกี่ยวเทคนิคของทานดวยความตั้งใจดวยตัวเอง หน้า ๑๔

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB!

ฉบับที่ ๒๔ วันที ่๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 15: #24 AikidoCMU

เมื่อทานสาธิตเทคนิคเปนที่เรียบรอย ทุกคนตองรีบหาคูฝกโดยเร็ว ผมก็ไมรอชาที่จะเคารพคนที่นั่งขางๆ คูฝกของผมเปนชายรางเล็ก ใสแวนแลดูใจดี เปนคนญี่ปุนแทๆ เลยอายุนาจะราวๆ 60 กวาๆได แลวผมก็เลือกคนไมผิด ผมไดเรียนรูจากชายคนนี้อยางมากมายดวยรางกาย โดยรับรูทั้งขณะที่ตนเองฝกเปนนาเงะและอุเกะ

ระหวางชั่วโมงฝก ผมไดรับรูถึงระดับความแตกตางระหวางฝมือของผมและคูฝกของผมคูฝกของผมคนนี้ไมเพียงแตฝกเทคนิคตามทานอาจารยเพื่อฝกความชำนาญในเทคนิคสำหรับตัวเองเทานั้น แตทานไดพยายามเคลื่อนไหวรางกายในแตละเทคนิคชาๆ และชัดเจน ทำใหผมรูวาผมควรเนนหรือแกไขการเคลื่อนไหวสวนใดของรางกายในแตละเทคนิคไดไมยากนักถึงแมวาทานจะไมพูดอะไรออกมาก็ตามแตผมรับรูไดดวยตัวเองวาทานกำลังตั้งใจสอนผมอยู

การฝกแตละเทคนิคที่นี่ใชเวลาคอนขางนานฉะนั้นถึงแมวาแตละชั้นเรียนจะฝกเพียง 1 ชั่วโมงก็ตาม ในชวงที่รอนที่สุดของญี่ปุนเชนนี้ ก็เหนื่อยไมนอยเลย

ในระหวางแตละคูไดฝกเทคนิคของตัวเอง ทานอาจารยจะเดินดูเราฝกไปเรื่อยๆ เมื่อใดที่ทานเดินดูแลวจะแกเทคนิคของเราใหถูกตองยิ่งขึ้น ทานจะใหเราไปเปนอุเกะของทานเลย แลวใหเรารูสึกและสัมผัสถึงเทคนิคของทานดวยตัวเอง โดยที่ทานจะไมพูดอะไรเลย ซึ่งบางครั้งถาคูฝกคูใด

สนใจที่จะใหทานฝกสอนให คูนั้นก็จะนั่งรอเพื่อเขาไปเปนอุเกะของทานเพื่อเรียนรู

และสัมผัสการเคลื่อนไหวในเทคนิคของทานดวยตัวเองภาพเซกิเซนเซจาก http://old. koinobori.ru/eng/seki.shtml

หน้า ๑๕

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB!

ฉบับที่ ๒๔ วันที ่๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 16: #24 AikidoCMU

เมื่อวันนี้ไดมาอยูบนเบาะแหงนี้แลว ผมก็ไมปลอยโอกาสใหผานไป ผมจึงเปนหนึ่งในนักเรียนหลายๆคนที่ขออนุญาตไปเปนอุเกะของทานดวยตัวเอง อาจารยคอนขางเนนการจับของอุเกะใหถูกตองกอนที่ทานจะสาธิตเทคนิค การเคลื่อนไหวของทานคอนขางชัดเจน รวบรัดและฉับไว และทุกการเคลื่อนไหวของทานนั้นทำใหผมเสียสมดุลของรางกายตลอดเวลาจนกระทั่งตัวเองลงไปสัมผัสกับพื้นเบาะ เมื่อทานกลับมายืนตั้งหลักผมก็รีบลุกขึ้นมาจับทานตออยางรวดเร็ว ประมาณ 5 ถึง 6 ครั้งทานก็ใหนักเรียนคนอื่นที่นั่งรออยูไดลุกขึ้นมาเปนอุเกะของทานบาง เปนอยางนี้ไปตลอดทั้งชั่วโมง

การฝกไดดำเนินตอไปอยางตอเนื่องจนถึงทายชั่วโมง ทุกคนกลับนั่งเขาแถวอยางเปนระเบียบ โดโจเขาสูความเงียบสงบอีกครั้งหนึ่งเมื่อทุกคนทำความเคารพเพื่อเปนการขอบคุณสำหรับการฝกในวันนี้เสร็จเรียบรอยแลว ทานอาจารยไดเดินออกทางประตูดานหนาซึ่งเปนประตูเดียวกับที่ทานเดินเขามา นักเรียนทุกคนนั่งรอจนทานอาจารยเดินออกจากประตูเปนที่เรียบรอยแลว เราจึงทำการขอบคุณคูฝกของเราอีกครั้งหนึ่ง

ผมไดสนทนากับคูฝกของผมเพียงสั้นๆเทานั้น เพราะทานพูดภาษาอังกฤษไดไมมากนักไมนานผมก็เขาไปเปลี่ยนชุดเพื่อเดินทางกลับสูโรงแรมที่ผมพักอยู

ระหวางเดินทางกลับสูโรงแรมนั้นผมไดทบทวนหลายสิ่งหลายอยางที่ไดจากการฝก พรอมดวยความรูสึกอิ่มเอิบใจอยางยิ่ง อีกหานาทีจะเที่ยงคืนผมกาวลงจากรถเดินเขาโรงแรมเดินเขาสูหองนอนเดิม อาบน้ำชำระรางกายเพื่อเตรียมนอนหลับพักผอนเพื่อเดินทางกลับสูประเทศไทยในเชาวันรุงขึ้น

คืนนี้เปนคืนที่หลับสบายอยางบอกไมถูก ไมรูวาเปนเพราะหมดแรงหรือมีความสุขกันแน

หน้า ๑๖

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB!

ฉบับที่ ๒๔ วันที ่๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 17: #24 AikidoCMU

ค้นหาความต้องการที่แท้จริงของคู่พิพาท

สโมสรผูนำเยาวชนเพื่อการศึกษาและพัฒนาชุมชน อำเภอปางมะผา จังหวัดแมฮองสอน

วิสุทธิ ์เหล็กสมบูรณ์

ปลายเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา  ผมมีโอกาสไปฝึกอบรมหลักสูตรผู้ประนีประนอมไกล่เกลี่ยข้อพิพาทที่จัดขึ้นโดยสํานักระงับข้อพิพาท  กระทรวงยุติธรรม  ผู้เข้าอบรมมาจากทั่วประเทศครับ  ส่วนใหญ่เป็นผู้ไกล่เกลี่ยประจําศาลต่างๆ  ผมมาในนามผู้พิพากษาสมทบศาลจังหวัดแม่ฮ่องสอนแผนกคดีเยาวชนและครอบครัว  ได้โอกาสมารับบทบาทนี้ด้วยอีกบทบาทหนึ่ง  ถือเป็นกําไรชีวิตที่จะได้เรียนรู้และทําความดีเพิ่มครับ

! การอบรมเปนหลักสูตรเชิงปฏิบัติการรวมทั้งสิ้นหาวัน วิทยากรเปนบรรดาผูพิพากษาที่มี

ประสบการณในการไกลเกลี่ยคดีตางๆ ผมเห็นวาหลักสูตรนี้ใหความรูที่นาสนใจหลายอยาง  งาน

ไกลเกลี่ยขอพิพาทก็คือการสรางความยุติธรรมใหคูพิพาทสามารถยุติปญหาแลวกลับมาฟนความ

สัมพันธที่ดีตอกันตอไป ไมใชชนะขอกฎหมาย แลวจากนั้นไมมองหนากันอีกเลย ซึ่งถึงแมจะเปน

สันติวิธีแบบหนึ่ง คือตกลงกันดวยกฎหมาย แตไมสรางสมานฉันท ความขัดแยงก็อาจจะไมจบ

การไกลเกลี่ยขอพิพาทซึ่งเปนกระบวนการยุติธรรมที่เนนความสมานฉันทไดดีที่สุดในขณะนี้  

! งานไกลเกลี่ยเปนงานสำคัญที่ระบบยุติธรรมปจจุบันใหความสำคัญมากครับ เปนวิถีทาง

แกปญหาโดยสันติและทำใหทุกฝายหันหนามาคุยกันเพื่อหาทางออกรวมกันได ผมกลับมาคิด

เลนๆวาไอคิโดเราเองก็เปนวิถีสันติวิธีอยางหนึ่ง นาจะมีอะไรที่ดึงสาระที่แฝงเรนในไอคิโดออกมา

สัมพันธกับการไกลเกลี่ยขอพิพาทได ก็เลยเขียนบทความนี้ขึ้นมาครับ 

! ขอแตกตางระหวาง ไอคิโด กับงานไกลเกลี่ยของศาล ก็มีในเรื่ององคประกอบบุคคลนะ

ครับ คือ ผูไกลเกลี่ยจะเปนคนกลางในการชวนคูพิพาททั้งสอง หรือสาม สี ่คน มาคุยกัน โดยผูไกล

เกลี่ยวางตัวเปนกลางนะครับ ในขณะที่ไอคิโด ไมไดมีคนกลางเฉพาะแยกออกมา แตตัวเราคือ

นาเงะ หรือ ผูรับการจูโจม ทำหนาที่ไกลเกลี่ยขอพิพาท (ความรุนแรง) ที่อุเกะ หรือผูจูโจมสงเขา

มา

หน้า ๑๗

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB!

ฉบับที่ ๒๔ วันที ่๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 18: #24 AikidoCMU

! ผมจึงมองวา อุเกะ ในไอคิโด คือผูทำหนาที่ประนีประนอมไกลเกลี่ย ที่มีความเปนก

ลางเหมือนกัน คือไมผูกพันตัวเองกับความขัดแยง ทำตัวเปนเสมือนสื่อกลาง หรือกระจก

สะทอนแงมุมของปญหาเพ่ือชวยใหมองเห็นทางออกหลายๆทาง

! หลักการไกลเกลี่ยขอพิพาทอีกขอที่สำคัญที่สุดเลย คือผูไกลเกลี่ยตองคนหาความ

ตองการของคูพิพาททั้งสองฝายใหเจอนะครับ เชน บางกรณีดูสำนวนขอพิพาทเปนเรื่องเงิน แต

จริงๆ อาจเปนเรื่องศักดิ์ศร ี ไมยอมลงใหกัน หรือมีความตองการอื่นแอบแฝงอยู แลวพยายาม

สื่อสารสองทางใหคูพิพาทมองเห็นปญหา และแสวงหาทางออกรวมกัน แบบ win-win

! ในไอคิโดก็เชนกันครับ ผมคิดวากอนจะ

สัปประยุทธกันนี ่ ถาเปนไปได เราก็ควรจะ

สังเกตหรือถามีเวลาพอก็อาจพูดคุยกับอีกฝาย

หนึ่งกอน เพ่ือสำรวจดูความตองการที่แทจริง

ของเขาวาทำไมเขาจึงตองการจะตอสู หรือ

ทำรายเรา ถาเขายอมเจรจากันกอนก็อาจชวย

ดับอารมณที่พลุงพลาน สื่อสารกลับไปทำให

เขามีสต ิ แลวเปลี่ยนมุมมอง นาจะลดดีกรี

ความกาวราว ลดทอนแรงปะทะจากอีกฝาย

ไดไมนอย  หรืออาจจะเปลี่ยนทัศนคติของเขา

ไปกอนที่เขาจะมาถึงตัวเรา (เปลี่ยนทิศทาง

แรง)

! อีกหลักการหนึ่งที่ผูทำหนาที่ไกลเกลี่ย

ขอพิพาทตองมี  คือ การเปนผูฟงที่ดีครับ ผู

ไกลเกลี่ยตองฟงอยางตั้งใจถึงขอมูลที่คูพิพาทแตละคนใหมา และซักถามเพื่อใหไดความ

ชัดเจน เพ่ือชวยใหคูพิพาทมองเห็นทางออกรวมกัน เฉกเชน ผูใชเทคนิคไอคิโด ตองสัมผัสใหรู

ถึงแรงของผูจูโจม ทั้งขนาด และทิศทางของแรง เพ่ือใหความรุนแรงสงบลงโดยไมมีการตอ

ตาน ไมใชเอาแตแรงของตัวเองเปนตัวตั้ง แตให “ฟง” แรงของอีกฝายดวยวาจะพากันไปสูจุด

ยุติไดอยางไรโดยที่ไดประโยชนทั้งสองฝาย (คือบาดเจ็บนอยที่สุด และความขัดแยงคลี่คลาย

ลงอยางสมานฉันท)

หน้า ๑๘

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB!

ฉบับที่ ๒๔ วันที ่๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 19: #24 AikidoCMU

 F “แยกคนออกจากปญหา  แข็งกับปญหา แตออนกับตัวบุคคล”

! ในการไกลเกลี่ย ผูไกลเกลี่ยตองสื่อกับคูพิพาททั้งสองวาเราไมไดจัดการคูพิพาท แตเรา

จัดการขอพิพาท

! ในไอคิโด เราไมไดจัดการกับผูจูโจม แตเราจัดการกับแรงที่เขาปะทะเขามา ทำอยางไร

จึงจะจัดการกับขอพิพาท จัดการกับแรงพิพาทที่อุเกะหรือผูจูโจมสงเขามา โดยใหตัวเขาเองได

เรียนรู ที่จะหาทางออกไปพรอมกันกับเราอยางกลมกลืน ใหความสัมพันธของคูพิพาทกลับมา

คืนดีกัน เฉกเชน ความสัมพันธของนาเงะกับอุเกะกลับมาเปนเพ่ือนกันไดในทายสุด

! จริงๆแลวกระบวนการไกลเกลี่ยขอพิพาทมีความซับซอน แตก็มีหลักการที่นาสนใจ

คลายคลึงกับไอคิโด ผมก็เลยนำมาฝากเปนเกร็ดความรู จริงๆแลว มนุษยเราใชการไกลเกลี่ย

ขอพิพาทในชีวิตประจำวันกันอยูแลว  เชน พอแมที่ตองไกลเกลี่ยขอพิพาทของลูกๆ  ผูบริหาร

ที่ตองไกลเกลี่ยขอขัดแยงระหวางพนักงานในองคกร หรือครูที่ตองไกลเกลี่ยปญหานักเรียนใน

ชั้น ถาผูฝกไอคิโด สามารถนำเอาทักษะจากโดโจไปใชในการไกลเกลี่ยขอพิพาทได โดยเทียบ

กับหลักการขางตน ก็นาจะมีประโยชนไมนอยครับ

หน้า ๑๙

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB!

ฉบับที่ ๒๔ วันที ่๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 20: #24 AikidoCMU

The Spirit of AikidoKisshomaru Ueshiba เขียนTaitetsu Unno แปลอังกฤษ

! ! คำนำ

! การขยายตัวของไอคิโดในระดับโลกในชวงเวลาเร็วๆนี้ถือวาเปนปรากฏการณ ประชากรผูฝกไอคิโดในวันนี้ มากกวาหนึ่งลานคน (ในปค.ศ. 1984 - ปที่หนังสือเลมนี้พิมพครั้งแรก- ผูแปล) และสมาพันธไอคิโดนานาชาติ (International Aikido Federation) ก็เติบโตอยางเขมแข็งอยางมาก ซึ่งขาพเจาเชื่อวา เหตุผลนี้ก็ขึ้นอยูกับความเปนไอคิโดนั่นเอง ที่ไดแสดงหลักการและรูปแบบการปฏิบัติในระดับสูงสุดของศิลปะการปองกันตัวที่มีความงามและจิตวิญญาณที่เปนผลิตผลจากวัฒนธรรมตามขนบของญี่ปุน

! ไอคิโดเปนที่ประจักษในสภาพความเปนจริงอันเปนที่สุดของ : การเคลื่อนไหวที่ลื่นไหลอยางเปนธรรมชาติ ภายในพลังที่อัดแนนจนไมสามารถเปรียบเทียบไดของ “คิ” ! !เปาหมายก็คือ การกอรูปของมนุษยในอุดมคติที่ผสานรางกายและจิตใจใหเปนหนึ่ง ผานทางการฝกจิตใหมีพลังและการฝกฝนทางรางกายจนบรรลุถึงพลวัตแหงชีวิตไมวาจะอยูนิ่งหรือทำกิจกรรมใดๆอยูก็ตาม แกนที่ทำใหไอคิโดมีกิตติศัพทกวางไกลในระดับนานาชาติก็คือจิตวิญญาณที่เปนหลักการพื้นฐานและเหตุผลของการฝกปฏิบัติไอคิโด

! ความกาวหนาทางวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และวิวัฒนาการดานวัตถุในยุคสมัยใหมไดสงผลรายแรงตอจิตวิญญาณของมนุษย กอใหเกิดความกระสับกระสาย รูสึกไมปลอดภัย และสับสนจนหลงทิศทาง ตัวอยางการทำลายลางที่รุนแรงที่สุดก็คือการลางเผาพันธุดวยระเบิดปรมาณู มนุษยชาติในทุกวันนี้ยืนอยูบนขอบเหวของความหายนะ

! ในยุคแหงการลดคุณคาความเปนมนุษยอยางสุดขั้ว ไอคิโดจึงดึงดูดความสนใจจากผูคนเปนพิเศษ โดยเฉพาะความจริงที่่แตละคนไดคนพบไมวาจะอายุเทาใด เพศไหน หรือมีทักษะทางกีฬาหรือไม ตางก็เรียนรูผานการฝกฝนที่ผสานเอาความสรางสรรคในหลักการพื้นฐานของ คิ ที่แผซานทั่วไปในจักรวาล และ คิ ของปจเจกบุคคล หลอหลอมเขารวมกันดวยอานุภาพแหงลมหายใจ การผสานเปนหนึ่งนี้ก็คือแหลงกำเนิดแหงพลังชีวิต ที่ไมเพียงแคเติมเต็มความวางเปลาทางจิตวิญญาณแตยังใหความหมายและ หน้า ๒๐

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB!

ฉบับที่ ๒๔ วันที ่๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 21: #24 AikidoCMU

แกนแทสำหรับการดำเนินชีวิตประจำวันอีกดวย

! ศิลปะการตอสูของญี่ปุนตางมีตนกำเนิดมาจากความบันดาลใจที่จะไปสูเปาหมายแหงชัยชนะในสนามรบ แตชัยชนะเหลานี้มีอายุสั้น มันผานมาแลวก็ผานไปอยางรวดเร็ว บางคนอาจยินดีปรีดาไปกับความมีชัยของตนในสงคราม แตนั่นก็ยังไมใชชัยชนะในฉากสุดทาย ดังนั้น มันก็คงจะขัดแยงหากเราอุทิศชีวิตทุมเทใหกับการฝกฝนเพื่อจะไปถึงเปาหมายที่ไมจีรังยั่งยืน

! แตความขัดแยงนี้จะไมเกิดขึ้นในไอคิโด ซึ่งเปนตัวแทนของศิลปะการตอสูสมัยใหมที่อยูแนวหนาของ บูโด (วิถีแหงศิลปะของการสูรบ) ไอคิโดสอนวิธีที่จะเขาถึงชัยชนะที่สมบูรณแบบที่อยูบนปรัชญาของการไมแขงขัน การไมแขงขันหมายถึงการไมใหความสำคัญกับความกาวราว ความกระหายที่จะตอสู หรือสัญชาติญาณแหงการทำลายลางที่อยูในตัวเขา แตเปดชองทางใหเขาไดเขาสูพลังแหงความรักที่สรางสรรค ปรัชญานี้เองจะกระจางชัดเมื่อนำมาสอนในศิลปะการตอสู และนี่ก็คือแกนแทของไอคิโดนั่นเอง

! ดวยเหตุที่ไอคิโดแพรหลายไปทั่วโลกอยางรวดเร็ว เราจึงรูสึกวา ความหมายที่แทจริงของศิลปะแขนงนี้ ไมคอยจะไดรับการถายทอดและฝกฝนอยางเหมาะสมเทาที่ควร หากเรายอมรับไอคิโดที่กาวเขาสูระดับนานาชาติ แตขาดซึ่งรักษาปรัชญาพื้นฐานและอุดมคติที่หลอหลอมโดยปรมาจารยโมริเฮอิ อูเอชิบะ คงเปนเรื่องนาเสียดายอยางยิ่ง ดวยเหตุนี้เองเราจึงมีความรูสึกอยางแรงกลาที่ตองรับผิดชอบและทำงานอยางตอเนื่องที่จะปรับปรุงใหสถานการณนี้ดีขึ้น

! นับวาเปนเวลาอันเหมาะสม ที่หนังสือของขาพเจา Aikido no kokoro ไดรับการแปลเปนภาษาอังกฤษในชื่อ The Spirit of Aikido โดยศาสตราจารยไทเทตสึ อุนโน แหงสมิธคอลเล็จซึ่งก็เปนนักเรียนที่ฝกฝนไอคิโดมาอยางยาวนาน ตนฉบับฉบับภาษาญี่ปุนไดพิมพเมื่อป ๑๙๘๑ เพื่อเปนการรวมเฉลิมฉลองครบรอบ ๕๐ ปแหงสำนักงานใหญไอคิโด หนังสือนี้ไดกลาวถึงอุดมคติและมุมมองเชิงประเพณีมากมายของชาวเอเซีย บางอยางก็อาจยากตอความเขาใจ แตขาพเจาก็หวังวา แนวคิดหลัก ซึ่งก็คือพลังแหงชีวิตที่อยูบนพื้นฐานแหงการรวมตัวเปนหนึ่งระหวางจักรวาลกับ“คิ”ของแตละบุคคล สิ่งนี้จะสามารถเปนที่เขาใจไดผานทางฝกฝนในภาคปฏิบัติ

! ขาพเจาหวังเปนอยางยิ่งวา งานเขียนชิ้นเล็กๆนี้หากจะเปนประโยชนก็โดยเฉพาะตอนักเรียนไอคิโดทุกทาน แตถาทำใหผูอานทั่วไปจะสามารถเขาใจไอคิโดไดในรูปแบบของปรัชญาที่ไมสนับสนุนความรุนแรงแตเอื้อใหเกิดความกลมกลืนในโลก เชนนั้นแลว ขาพเจาก็จะปติยินดีเปนอยางยิ่ง

หน้า ๒๑

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB!

ฉบับที่ ๒๔ วันที ่๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 22: #24 AikidoCMU

หน้า ๒๒

คิแหงจักรวาลและ

คิ ของปจเจก

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB!

ฉบับที่ ๒๔ วันที ่๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 23: #24 AikidoCMU

ลักษณะเฉพาะของไอคิโด

! ไอคิโด เปนการเกิดขึ้นที่สำคัญอยางยิ่งของศิลปะการปองกันตัวสมัยใหมของญี่ปุนตามธรรมเนียมโบราณ (Budo) การสืบทอดจิตวิญญาณและศิลปะการสูรบไดรับบันทึกเปนครั้งแรกในงานนิพนธเชิงประวัติศาสตรในสมัยศตวรรษที่ ๘ ชื่อ Kojiki (บันทึกแหงบรมครูโบราณ) และ Nihongi (จดหมายเหตุแหงญี่ปุน) แตไมไดหมายความวาไอคิโดจะยึดถือสืบทอดประเพณีแหงศิลปะการตอสูโบราณอยางไมลืมหูลืมตาโดยมุงแตเพียงรักษาและคงไวซึ่งแตรูปแบบดั้งเดิมของมันในโลกสมัยใหม

! ศิลปะการตอสูในอดีตคือมรดกตกทอดทางประวัติศาสตรและวัฒนธรรมที่กอกำเนิดขึ้นในสนามรบในชวงสงครามกลางเมืองและตอมาในสมัยโตกุกาวะ (๑๖๐๓ - ๑๘๖๘) ก็ไดกอรางเปนบูโด หรือศิลปะแหงการสูรบซึ่งจำเปนตองไดรับยกยองเชิดชูอยางเหมาะสม แตรูปแบบดั้งเดิมเหลานั้นกลับไมเปนที่ยอมรับตอผูคนในปจจุบันและไมเหมาะสำหรับโลกสมัยใหมของญี่ปุนที่เริ่มตั้งแตยุคการบูรณะฟนฟูเมจิ (ป ๑๘๖๘)

! ปรมาจารยโมริเฮอิ อุเอชิบะผูกอตั้งไอคิโด เกิดวันที่ ๑๔ ธันวาคม ๑๘๘๓ ในชวงญี่ปุนกำลังอลหมานกับการเปลี่ยนแปลงเปนยุคสมัยใหม ทานไดอุทิศตนใหกับการสถาปนาศิลปะการปองกันตัวที่เปนที่ตองการของคนรวมสมัยและไมตกยุค ปจจัยหลายอยางที่เปนแกนสำคัญที่ปรมาจารยตระหนักถึงเปนเรื่องแรกๆ ก็คือ ความรักอยางมั่นคงที่มีตอศิลปะการปองกันตัว การดูแลปกปองไมใหเกิดการตีความผิดๆ และความหวังอยางแรงกลาที่จะฟนฟูคุณภาพแหงวิญญาณของบูโด ทานไดแสวงหาทางอยางไมยนยอที่จะทำใหเปาหมายของทานสัมฤทธิ์ผล จนไดพบกับสัจธรรมแหงบูโดหลังจากที่ทานทุมเทฝกฝนศิลปะการตอสูอยางตอเนื่องตลอดชวงประวัติศาสตรที่ผันแปรของญี่ปุน

! ในที่สุด ปรมาจารยอูเอชิบะก็ไดสรุปวา จิตวิญญาณที่แทจริงของบูโดนั้นไมอาจพบไดในการแขงขันและบรรยากาศแหงการสูรบที่เต็มไปดวยพละกำลังที่โหดรายอันมีเปาหมายสูงสุดเพื่อใหไดชัยชนะที่เกิดจากการสูญเสีย ทานสรุปวา เราจำเปนตองตระหนักถึงการเสาะแสวงหาความเปนมนุษยที่สมบูรณทั้งรางกายและจิตใจ คอยๆสั่งสมผานทางการฝกฝนอยางยาวนานดวยจิตวิญญาณที่ออนโยนของศิลปะการปองกันตัว

! สำหรับทานแลว การปรากฏของบูโดที่แทเทานั้นที่จะเปนความหมายสำหรับโลกสมัยใหม และคุณลักษณะที่แทนั้นก็ดำรงอยูเหนือกาลเวลาและวัฒนธรรมใดวัฒนธรรมหนึ่ง ดวยความลึกซึ้งในความศรัทธาของศาสนา ปรมาจารยไดสรุปในหนึ่งประโยควาเปาหมายของทาน คือ “ความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันของรากฐานแหงองคประกอบที่สรางสรรค นั่นคือ คิ แหงจักรวาล กับ คิ ของแตละปจเจกบุคคล”

หน้า ๒๓

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB!

ฉบับที่ ๒๔ วันที ่๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 24: #24 AikidoCMU

! ทั้งสองสิ่งนี้ไมสามารถแบงแยกได เพราะ คิที่แผซานอยูทั่วจักรวาลก็คือหนึ่งเดียว กับคิจากพลังแหงลมหายใจของแตละคนนั่นเอง ซึ่งรวมกันไดดวยการฝกฝนจิตใจและรางกายอยางสม่ำเสมอ และการรวมกันเปนหนึ่งนั้นปรากฏใหเห็นผานการเคลื่อนไหวอยางลื่นไหล เปนพลวัตร การเคลื่อนไหวของคินั้นเปนอิสระและราบรื่น ทำลายไมไดและเอาชนะไมได นี่คือแกนแทของศิลปะการตอสูของญี่ปุนที่ปรากฏเปนรูปเปนรางผานไอคิโด

! ดวยอัจฉริยภาพของปรมาจารยอูเอชิบะ ทานไดคิดคนระบบการฝกฝนจิตและกายอยางตอเนื่อง อันถือเปนวินัยพื้นฐานสำหรับมนุษยที่จะเดินเขาสูวิถีแหงจิตวิญญาณ หลักการเบื้องตนของบูโดจึงไดถูกนำมาปฏิบัติและพัฒนาใหเปนศิลปะการปองกันตัวที่รวมสมัย นั่นคือ ไอคิโด ซึ่งในทุกวันนี้คนนับไมถวนทั่วโลก ทุกฐานะและชนชั้นในสังคมตางอาแขนรับและฝกฝนไอคิโดในฐานะศิลปะการปองกันตัวที่เหมาะสมกับยุคสมัยของเรา

! การที่ไอคิโดเปนบูโดสมัยใหม แตก็ไมไดหมายความวา ศิลปะการปองกันตัวสมัยใหมแบบอื่นๆจะผสานเอาจิตวิญญาณแหงบูโดโบราณเขาไวดวย เพราะแมวาศิลปะเหลานั้นจะสืบทอดวิถีแหงจิตวิญญาณที่มุงเนนการฝกฝนรางกายและจิตใจเชนเดียวกับในไอคิโด แตศิลปะการตอสูเหลานั้นก็ใหน้ำหนักไปที่การแขงขันและการประลองตางๆที่ใหความสำคัญกับความสามารถทางกีฬามากกวา และมุงหมายเอาชัยชนะเพื่อการรักษาตำแหนงของตนไวในโลกกีฬา

! ในทางตรงกันขาม ไอคิโดปฏิเสธที่จะเขาสูการแขงขันในรูปแบบกีฬา และปฏิเสธการประกวดประขันหรือการประลองตางๆ รวมทั้งการเทียบรุน ระบบการเลื่อนสายที่ขึ้นอยูกับจำนวนที่ชนะ หรือการมีเข็มขัดแชมเปยน สิ่งเหลานี้เปนเสมือนเชื้อเพลิงที่โหมใหกับอัตตา การเห็นแกตนเองโดยไมคำนึงถึงผูอื่น ความยั่วยวนที่มักลอหลอกใหคนเราเขาสูวงการแขงขันก็คือ ทุกคนอยากเปนผูชนะ แตความคิดนี้ตรงกันขามกับบูโด ที่เปาหมายสูงสุดคือการเปนอิสระจากตัวตน เขาสูภาวะไรอัตตา และตระหนักวาอะไรคือมนุษยที่แท

! นี่ไมไดเปนการวิพากษวิจารณศิลปะการตอสูอื่นๆที่เขาสูวงการกีฬา ดวยเพราะเหตุผลเพื่อการอยูรอดจึงเปนเรื่องที่หลีกเลี่ยงไมได ในประวัติศาสตรของญี่ปุนทันทีหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง ขณะนั้นศิลปะการตอสูทุกประเภทถูกสั่งหามโดยกองกำลังฝายสัมพันธมิตร ผูคนเปลี่ยนไปใหความสนใจกับกีฬาซึ่งดึงดูดทั้งผูชมและผูเลน จะวาไปแลวก็เปนสิ่งที่ดี เพราะคงจะปฏิเสธไมไดวา วัยรุนตางก็ใหความสนใจกับศิลปะการตอสูเนื่องจากการที่จะไดลงแขงขันเพื่อพิสูจนวาใครเกงที่สุดในสนาม ถึงกระนั้นก็ตาม ไอคิโดไมไดตามคานิยมเหลานี้ ไอคิโปฏิเสธที่จะเขารวมและยังคงตั้งมั่นอยูในเจตนาดั้งเดิมแหงบูโด คือการฝกฝนและพัฒนาจิตวิญญาณใหสูงสงยิ่งขึ้น

หน้า ๒๔

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB!

ฉบับที่ ๒๔ วันที ่๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 25: #24 AikidoCMU

! ในโลกของไอคิโด มีเสียงเรียกรองใหมีการแขงขันอยูตลอดเวลา ดวยเหตุผลของการอยูรอดในยุคปจจุบัน จึงตองการใหมีผูชมในระดับที่กวางขึ้น ที่จริงแลว นักไอคิโดบางทานไดตั้งสำนักเพื่อโฆษณา “ไอคิโดเพื่อการแขงขัน” นี่เปนเรื่องที่จริงจังมากเนื่องจากการเปลี่ยนรูปไอคิโดไปสูการเปนกีฬา ซึ่งในอนาคตก็อาจพัฒนาไปสูการแขงขันระดับชาติ หรือแมกระทั่งการเขาสูโอลิมปกเกม

! ไอคิโดไดขีดเสนกำหนดเขตแดนอยางชัดเจนตั้งแตวิธีคิดและเหตุผลที่ชัดเจน ที่จะธำรงไวซึ่งหลักคุณธรรมของบูโด และสืบตอจิตวิญญาณแหงศิลปะการตอสูตามจารีตดั้งเดิม คงไวซึ่งหลักการพื้นฐานของบูโดที่ปรมาจารยอูเอชิบะประกาศอยางชัดเจนถึงการฝกฝนจิตและกายอยางตอเนื่องอันถือเปนวินัยพื้นฐานมนุษยในการกาวเดินไปในวิถีแหงจิตวิญญาณ

! ดวยความยึดมั่นตออุดมคติของปรมาจารยและมั่นคงตอ “วิถี” โดยเครงครัดตอจารีตดั้งเดิมของบูโดนั้นอยูเหนือสิ่งอื่นใด เหตุผลที่สำคัญยิ่งที่ไอคิโดสามารถยืนหยัดอยูไดในโลกปจจุบันนี้ก็ดวยเอกลักษณของไอคิโดที่เปนอุดมคติของปรมาจารยอูเอชิบะ แมวาผูคนมักจะสรุปอยางงายๆวาเปนรูปแบบหนึ่งของศิลปะการตอสูเพื่อการแขงขันก็ตาม

! ไอคิโดมีเอกลักษณเฉพาะตัวที่แตกตางๆไปจากบูโดดั้งเดิมและสมัยใหมอยางชัดเจน ซึ่งทำใหคนที่มีความสนใจการตอสูแบบผิวเผินไมชื่นชอบไอคิโด อาจเปนไปไดวา ทั้งหลักการและการเคลื่อนไหวที่เปนลักษณะเฉพาะของไอคิโดอาจจะเปนอุปสรรคตอความนิยมของไอคิโดเองก็ได

! คนที่ฝกฝนไอคิโด มักไดรับคำถามอยูบอยๆวา “อะไรคือไอคิโด” แมวานักเรียนไอคิโดในระดับสูงก็ยังรูสึกยากที่จะหาคำตอบที่ตรงๆได ยิ่งไปกวานั้น คนที่เพิ่งจะเห็นเทคนิคของไอคิโดเปนครั้งแรกก็มักจะงุนงงสงสัยและตั้งคำถามตางๆมากมาย คนเหลานี้มีอยูสองกลุมคือ

! กลุมแรก คือ คนที่มองไอคิโดดวยสมมติฐานที่ทึกทักเอาเองเกี่ยวกับศิลปะการปองกันตัวตามที่ตนเองไดรูหรือไดอานมา เมื่อเห็นการสาธิตไอคิโดแลวปฏิกิริยาที่ไดก็คือความผิดหวัง เพราะเขาคาดวาจะไดเห็นการตอสูที่โหดเหี้ยม รุนแรง สะใจ ดวยเทคนิคที่อาจทำใหถึงแกชีวิตได พอเห็นไอคิโดเปนครั้งแรก การเคลื่อนไหวที่ลื่นไหลสวยงามดูไมรุนแรงจนดูเหมือนเรื่อยๆเอื่อยๆ คนเหลานี้ก็มักจะวิพากษวิจารณวา “ทุกอยางดูเหมือนออกแบบทาและเตี๊ยมกันไวแลว” “ไมมีไคลแมกซ ไมมีจุดปะทะ” “มันใชไมได

หน้า ๒๕

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB!

ฉบับที่ ๒๔ วันที ่๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 26: #24 AikidoCMU

หรอกในชวงเวลาวิกฤติ” และอื่นๆอีกมากมาย คำวิจารณเหลานี้นั้นเปนที่เขาใจได และมักจะมาจากคนหนุมสาวที่แสวงหาความตื่นเตนหวาดเสียวในการพิชิตชัยชนะ หรือไมก็เปนคนที่มีความเขาใจวาภาพศิลปะการตอสูก็คือการตะโกน ทำเสียงขู การเตะ ตอยและทำรายผูอื่น

! กลุมที่สอง คือ คนที่คุนเคยกับศิลปะการตอสูสมัยใหมโดยเฉพาะแบบแขงขัน จึงมองไอคิโดดวยมุมมองที่คิดวาตนเองเหนือกวา คำวิจารณก็มีหลากหลาย เชน “ทำไมไอคิโดไมมีการแขงขันแชมเปยนชิพทัวนาเมนตเหมือนกับยูโด คาราเต และเคนโด” “ทำไมจำกัดตัวเองแคการสาธิต พอคนเห็นครั้งเดียวก็เบื่อแลว” “พอไมมีการแขงขัน มันก็บอกไมไดวาใครเกงใครแย ใครเปนเด็กใหมและใครเปนนักไอคิโดระดับสูง” “ถาไมมีการแขงขัน คนก็จะไมฝกอยางตั้งอกตั้งใจ” เชนกัน คำวิจารณเชนนี้เปนที่เขาใจได เนื่องจากคนโดยทั่วไปอยากจะเห็นวาใครเกงที่สุด ใครดีที่สุด

! อีกคำถามหนึ่งที่ไมเดียงสาและมักถามบอยๆ “เราจะชนะการตอสูไดไหม ถาเราฝกไอคิโด”

! คำถามและคำวิจารณที่งายๆและผิวเผินเหลานี้แสดงใหเห็นความไมรูถึงหลักการพื้นฐานของไอคิโดและไมเขาใจถึงลักษณะที่สำคัญที่สุดของศิลปะการตอสู ซึ่งก็คือ การฝกฝนจิตวิญญาณ ถาคนที่ไมมีวินัยในตนเองแตชอบอวดพละกำลังหรือความสามารถและอยากจะฝกไอคิโดเพื่อเอาเทคนิคไปใชตอยตี เราก็ตองขอใหเขาเลิกฝก หากฝกไอคิโดโดยไมมีความอดทนดวยการมีประสบการณตรงกับการฝกฝนตนเองแลว คำถามตางๆจะไมไดรับคำตอบที่นาพอใจ

! การฝกไอคิโดเปนวิธีเดียวเทานั้นที่จะฉวยเอาสาระสำคัญและเกิดผลประโยชนทั้งที่จับตองไดและจับตองไมได ผูฝกไอคิโดสวนใหญก็ตองผานกระบวนการนี้ทั้งนั้น เริ่มตนดวยความเคลือบแคลงใจและตั้งคำถามมากมาย เริ่มตนเขาสูการฝกฝน แลวคอยๆคุนเคยกับวิธีและรูปแบบของไอคิโด ภายหลังก็ไดประสบกับเสนหที่ยากจะตานไดของไอคิโดจนในที่สุดก็ไดตระหนักถึงความลึกซึ้งอันไรขอบเขตของมัน คนที่ไดผานวงจรนี้ก็จะไดเรียนรูหลายสิ่งหลายอยางที่ทำใหไอคิโดเปนศิลปะการปองกันตัวที่มีเอกลักษณเฉพาะตัว

! สิ่งแรกก็คือ เขาจะประหลาดใจ มันไมเหมือนกับภาพ “ความนุมนวล” ที่เขาเห็นตอนที่มีการสาธิตทาไอคิโด แตมัน “แข็งแกรง” มีพลังและคลองแคลววองไว ทั้งประสิทธิภาพในการล็อคขอมือและการปะทะตรงๆ(อะเตมิ) มันขัดแยงกับสิ่งที่คนทึกทักเอาเอง ไอคิโดประกอบดวยเทคนิคที่สามารถสรางความเสียหายรุนแรงใหกับ

หน้า ๒๖

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB!

ฉบับที่ ๒๔ วันที ่๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 27: #24 AikidoCMU

ฝายตรงขาม โดยเฉพาะทาที่ใชสำหรับการปลดอาวุธและควบคุมบังคับศัตรู

! ตอมา เขาก็จะชอค (แมวาเขาจะยังเพิ่งเริ่มตนฝกก็ตาม) เมื่อคนพบความซับซอนและความยากที่จะทำทาเทคนิคพื้นฐานและการเคลื่อนไหวแบบตางๆ เชน การลม (อุเคะมิ) การวางระยะหางที่เหมาะสม (มาไอ) การกาวเขาไป (อิริมิ) และการเคลื่อนไหวรางกายแบบตางๆ (ไท สะบะคิ) ความจริงก็คือ ไมเฉพาะแขนหรือขาเทานั้น แตทั้งรางกายตองเคลื่อนอยางตอเนื่องประสานสอดคลองกัน และจะตองทำอยางรวดเร็ว กระฉับกระเฉง มีพลัง การแสดงเทคนิคอยางลื่นไหล เฉียบพลัน จำเปนอยางยิ่งที่จะตองมีสมาธิที่จดจอ ความคลองแคลว รวมถึงความสมดุลของรางกายและการมีปฏิกิริยาโตตอบที่รวดเร็วเกินระดับธรรมดาสามัญ

! เขาจะตระหนักถึงความสำคัญของการควบคุมการหายใจ ซึ่งก็รวมถึงการหายใจเขาออกธรรมดาทั่วไป แตมากกวานั้นตรงที่เชื่อมโยงเขากับพลังคิ การมีอำนาจบังคับบัญชาพลังแหงลมหายใจนั้นเปนพื้นฐานของทุกๆการเคลื่อนไหวและการกระทำทาเทคนิคตางๆ ซึ่งจะเปนหลักประกันถึงความลื่นไหลที่ตอเนื่องในทุกๆทวงทา ยิ่งไปกวานั้น มันก็สอดคลองอยางลึกซึ้งกับปรัชญาบูโดที่พัฒนาโดยปรมาจารยอูเอชิบะ ซึ่งเราจะไดเรียนรูตอไป

! สุดทาย ในฐานะนักเรียนในระดับสูง เขาจะทึ่งกับการประยุกตใชเทคนิคที่หลากหลายและเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆอยางไมมีที่สิ้นสุด ขึ้นอยูกับเหตุปจจัยและความเหมาะสมของแตละสถานการณ หลังจากที่เขาไดมีประสบการณตรงกับการฝกฝนทวงทาอันซับซอนของเทคนิคไอคิโดเทานั้น เขาจึงจะสามารถซาบซึ้งกับความเปนศูนยกลางแหงคิ ทั้งคิของปจเจกและคิของจักรวาล และเมื่อนั้นเอง เขาก็จะเริ่มตนที่จะสัมผัสไดถึงความลึกล้ำซับซอนของไอคิโดในฐานะของศิลปะการปองกันตัว

! กลาวโดยยอ การฝกฝนอยางจริงจังเทานั้น จึงจะทำใหคนผูนั้นกลายเปนผูที่ตระหนักถึงมิติที่สำคัญของบูโด การฝกฝนรางกายและจิตใจอยางตอเนื่องก็คือวินัยพื้นฐานของมนุษยที่ดำเนินในวิถีแหงจิตวิญญาณ และเมื่อนั้น เขาก็จะเห็นคุณคาในการปฏิเสธการแขงขันและการประลองฝมือตางๆ เขาจะชื่นชมและเขาใจเหตุผลในการสาธิตตอสาธารณชนที่เผยใหเห็นผลงานที่มาจากการฝกปรืออยางตอเนื่อง ไมใชมาจากการอวดศักดาของอัตตาตัวตน

หน้า ๒๗

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB!

ฉบับที่ ๒๔ วันที ่๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 28: #24 AikidoCMU

สุภาษิตโกะกับขาพเจา

(๖) โดย Nounours’ Mom

! บนกระดานหมากรุก หนึ่งหมากคือหนึ่งโอกาส

! หมากชั้นเลิศคือหมากที่สรางประโยชนไดหลายทาง แมยามโจมตีก็ยังปองกัน หมากอื่นๆไปพรอมๆกัน การโจมตีไมใชเพื่อทำลาย แตเพื่อเก็บเกี่ยวผลประโยชน

! การโจมตีนั้นก็มีหลายแบบ ทั้งแบบจูโจมและแบบคอยเปนคอยไป ซึ่งก็ขึ้นอยูกับสถานการณที่จะเอื้ออำนวย

! “จิยูวาซา” หรือ “แรนโดริ” คือการที่อูเกะโจมตีอยางอิสระ มักจะโจมตีพรอมๆกันมากกวาหนึ่งคน หากเราตองรับมือกับผูโจมตีหลายๆคนทีเดียวพรอมกันนั้น เราตองหาวิธีเอาตัวรอดจากกลุมผูโจมตีโดยที่ไมทราบวาเขาจะเขามาโจมตีเราในรูปแบบใด

!

! “ขาพเจาเปนเพียงผูเริ่มฝกหัดเลนโกะเทานั้น และยังโงเขลาที่จะเขาใจแกนแทของโกะอยางลึกซึ้ง แตถาเปนจิตวิญญาณของไอคิโดแลว ขาพเจาไมปฏิเสธเลยวามันเปนธรรมชาติและชีวิตของขาพเจาไปแลว

! จากหนังสือ โกะ อัจฉริยะเกมแหงพิภพ โดย วันชัย ประชาเรืองวิทย ที่ขาพเจาไดรับมาจากเพื่อนผูหนึ่ง ทำใหขาพเจาพบสุภาษิตโกะบางขอที่จุดประกายความคิดใหขาพเจาไดเขียนบทความนี้ขึ้นมาเพื่อเผยแพรสุภาษิตโกะที่

ขาพเจาเห็นวาสอดคลองกับหลักไอคิโดที่ขาพเจายึดถือเปนแนวทางในการใชชีวิตอยางสงบสุขตามความเขาใจของขาพเจา โดยมิไดยึดติดวาผูใดจะตองเห็นดวย”

“การโจมตีคือรูปแบบที่ดีของการตั้งรับ”

หน้า ๒๘

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB!

ฉบับที่ ๒๔ วันที ่๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 29: #24 AikidoCMU

! เพื่อจะเอาตัวรอด เราตองตั้งสติและมีจิตใจแนวแน สรางแรงกดดันใหกลุมผูโจมตีไมสามารถเขามาควบคุมเราไดโดยการเปนผูโจมตีกอน เราตองบังคับใหกลุมผูโจมตีเกิดการเคลื่อนไหวตลอดเวลา เพื่อใหเกิดความสับสนและแตกขบวนจนไมสามารถเห็นชองทางเขามากระทำได และในที่สุด เราก็จะเห็นโอกาสที่จะกลับเปนฝายเขาโจมตีได

! การเขาหาแบบโอโมเตะคือการเขาไปทางดานหนาของผูโจมตี โดยเลือกคนที่อยูใกลสุด จัดการใหเขากลายเปนอุปสรรคขัดขวางคนอื่นๆที่เขามาโจมตีเรา ขณะเดียวกัน เราก็ตองไมปกหลักหยุดการเคลื่อนที่อยูที่จุดใดจุดหนึ่งเปนอันขาด เราจำเปนตองเคลื่อนไปจุดอื่นๆที่ทำใหตัวเราอยูที่ตำแหนงที่ไดเปรียบที่สุด

ติดต่อ Nounours’ Mom ได้ที ่ <http://NounoursMom.hi5.com>

! การรับมือคูตอสูทีเดียวหลายคนหรือแรนโดรินี้ เราตองเปนฝายโจมตีกอนอยางสม่ำเสมอไมหยุดนิ่ง ไมปลอยใหเขาคาดเดาไดวาเราจะใชเทคนิคอะไร และตองพยายามเขาควบคุมคูตอสูใหไดไมวาจะอยูในสถานการณใด ไมปลอยใหเขาเคลื่อนที่ไดมากกวาเรา ไมลังเล ไมสับสน

! ที่สำคัญคือการมองเห็นภาพรวมของสถานการณทั้งหมด โดยเคลื่อนที่ไปรอบๆแบบ โอโมเตะไมปลอยใหพวกเขาเขามาลอมเราไวได

! หากเราควบคุมสถานการณไวได เราก็เปนผูไดเปรียบและรักษาตัวรอดปลอดภัย

ภาพจ

าก h

ttp://

ww

w.ai

kiea

st.c

om/s

emin

ars.

htm

l

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB!

ฉบับที่ ๒๔ วันที ่๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

หน้า ๒๙

Page 30: #24 AikidoCMU

Aikido(ka) in Focus ตั๊กเล่าเรื่องของตัวเองให้ฟังหน่อยได้ไหม ?

เราเริ่มตั้งคําถามง่ายๆกับสาวตัวเล็กๆในร้านอาหารที่เรากินกันไปคุยกันไป

ตั๊ก : ชื่อจริงคือนางสาววรัญญา สุขเลิศวิมล ค่ะ เกิดที่กรุงเทพฯแต่ย้ายมาเชียงใหม่ตั้งแต่เด็กๆ ตั๊กจบคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รหัส 4605490

จบเมื่อป ี2550 ก็ไปทํางาน aupair (พี่เลี้ยงเด็ก)ที่อเมริกาอยู่ปีกว่า แล้วกลับมารับปริญญาก็เลยไม่ได้ไปอีก ได้งานโรงแรมค่ะ ทําอยู่ปีครึ่งก็ไปทําบริษัททัวร์ แล้วควบไปกับเปิดร้านเล็กๆขายของอยู่หน้ามอ ทําบริษัททัวร์อยู่ประมาณปีครึ่งก็เห็นว่าทําธุรกิจของตัวเองดีกว่า ตอนนี้ก็เลยเหลืองานที่ร้านอย่างเดียวไปเปิดเฉพาะตอนเย็น ทําให้มีเวลาว่างมาก เลยอยากหาอะไรทําเพิ่มเติม

ที่มาเจอไอคิโดทีA่ll Gym นี่ก็เพราะปกติจะเป็นคนชอบทานมาม่าผัดร้านหน้าโรงเรียนเรยีนาฯ และผ่านยิมนี้บ่อยเลยลองเข้ามาถาม โชคดีที่ได้มาเจอครูฝน(ครูเทควันโด) ก่อนหน้านี้ไม่เคยรู้จักไอคิโดเลย ครูฝนได้แนะนําให้ลองเรียนไอคิโดเพราะเห็นว่าตั๊กเป็นผู้หญิงตัวเล็กๆ ครั้งแรกที่มาเรียนก็จะมีพี่ป๋อมกับแบงค์ ช่วยสอนก็สนุกดีกลิ้งเยอะจัง พอจบคลาสแบงค์ก็ถาม “จะเรียนมั้ย” สั้นๆห้วนๆ ก็เลย “เรียนค่ะเรียน”

FOCUS : คนรอบขางวาอยางไรบางที่รูวาต๊ักเรียนไอคิโด

ตั๊ก : อยางเพื่อนๆก็จะถามวา มันคืออะไร แกไปเรียนเตะเรียนตอยอะไร เหมือนเทควันโดไหม

เพื่อนก็จะไมรูจักเพราะจริงๆต๊ักก็ไมเคยรูจักไอคิโดมากอนเลย อยูในมช. มา 4 ปก็ไมเคยสังเกต

(คณะวิทยฯก็ติดกันกับที่ฝกนั่นแหละ) สวนพอกับแมก็ไมวาอะไรลูกชอบอะไรพอกับแมก็

เห็นดวยเพราะต๊ักไมใชคนชอบเที่ยวเตร พอแมก็ไวใจ ต๊ักมักเอาไอคิโดไปลอง

เลนกับพอแตก็ทำไมได(ฮาฮา) หน้า ๓๐

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB!

ฉบับที่ ๒๔ วันที ่๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 31: #24 AikidoCMU

FOCUS : มาฝกไดสักระยะหนึ่งแลวเนี่ยคิดอยางไรบาง

ตั๊ก : ตอนนี้ก็รูสึกดีคะ รูสึกดีที่ไดฝกและก็ไดฝกเรื่องของสมาธินิดนึง

แลวรูสึกวาเรื่องของวิชาเนี่ยทำใหเราเทคแคร(ดูแลเอาใจใส) คนอื่น

มากข้ึน ตอนที่ต๊ักนั่งดูทำใหรูสึกวาเราฝกกันเปนคูมันไดชวยเหลือ

กัน เราไมไดฝกอยูคนเดียว

FOCUS : ไมเบื่อเหรอฝกแตทาเดิมๆ

ตั๊ก : ยังคะยังไมเบื่อ ทาเดิมๆยังทำไมดีเลยอยากทำใหไดดีกวานี้

อยากฝกไปเรื่อยๆเอาไวปองกันตัวดวย อยากไดสายดำดวย

FOCUS : เรียนรูอะไรจากไอคิโดบาง

ตั๊ก : หนึ่งก็รูจักการดูแล เอาใจใสกันเหมือนที่พูดไปแลว สองก็

มิตรภาพ ไดพบเพื่อนใหม สามก็ทำใหใจเย็นข้ึน

FOCUS :ยังไง

ตั๊ก : ต๊ักเรียนในคลาสเด็กคะมันก็เลยฝกแบบรุนแรงไม

ได บางทีเด็กก็ไมอยูนิ่งก็ตองชวยพี่ปอมจับเด็กใหนิ่งๆ

คอยเลนกับเด็กๆคะมันทำใหเราใจเย็นอารมณเย็นรูสึก

วามันออนโยนดีคะ

FOCUS : พี่ปอมฝากมาบอกวาขอบคุณต๊ักมากที่เปนพี่

เลี้ยงคอยดูแลเด็กๆในคลาสใหอีกแรง ขอยกใหเปนนางงาม

ประจำคลาส(รักเด็กคะ) โอกาสนี้เราขอประชาสัมพันธไอคิโด

คลาสเด็กไปดวยเลย

Y เราเรียนในวันจันทร-พุธ-ศุกร เวลา16.30-17.30 น. และวันเสาร-อาทิตย เวลา

17.30-18.30 น. มีพี่ปอมกับแบงคสอนและปงกับพี่ออมก็ไปชวยตอนวางๆ

ไปลองซะ...แลวจะรูวาไอคิโดแบบเด็กๆเปนยังไง... หน้า ๓๑

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB!

ฉบับที่ ๒๔ วันที ่๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 32: #24 AikidoCMU

! I want to sincerely thank Sensei Sombat and Sensei Tee, Kop, and all the members of the CMU Aikido dojo for a warm welcome to me and my wife Kathy on Friday evening, July 9.  ! You were very gracious to allow me to participate in your class that evening to take pictures.  I thoroughly enjoyed the instruction and the interaction with each student.  Everyone was very friendly and the Aikido that was practiced was representa-tive of the true spirit of Aikido.  My evening spent with you will always be a special memory to me.  ! Thank you also for your gift as well. I hope to return to Chiang Mai and visit with you all again very soon.Blessings!

Dr. Joe Brent

มาเยี่ยมมาเยือน

Dr.Joe Brent (1st Kyu)AmericanRepresenting Myanmar AikikaiYangon, Myanmar

Chief Instructor - U Mya SeinMyanmar Aikikai(New Organization)No,86/B, Arzarni street, Bahan TownshipYangon, Myanmar(East Side of Shwedagon Pagoda) Phone – 706689www.myanmaraikikai-neworganization.com/

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB!

ฉบับที่ ๒๔ วันที ่๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 33: #24 AikidoCMU

Olly’s  Interview  (โดยเต้ย  ปิง  ปีใหม่)★ How  did  you  started  training  aikido?

ได้รู้จักกับไอคิโดจากการที่ได้ไปอ่านประวัติของท่านปรมาจารย์โมริเฮอิ อุเอชิบะผู้ก่อตั้งวิชาไอคิโดขณะที่ยังเรียนคาราเต้อยู่ ก็เลยสนใจและหาข้อมูลจากอินเตอร์เน็ทเพื่อค้นหาที่ฝึกไอคิโด ในที่สุดก็ไปอาศัยพร้อมทั้งฝึกไอคิโดที่โดโจในสวิสเซอร์แลนด์เป็นเวลา 1  ปี

★ What  do  you  like  in  aikido?

เมื่อได้เข้ามาฝึกไอคิโด ก็ชอบในหลายอย่างๆ ที่เป็นไอคิโด ไม่ว่าจะเป็นหลักการฝึกที่เป็นการช่วยกันฝึกระหว่างอุเกะและนาเงะ หลักการที่ไอคิโดไม่มีการแข่งขันเพื่อการต่อสู้ การที่สามารถนําไอคิโดไปปรับใช้ได้จริงในการป้องกันตัว แนวคิดที่สุดท้ายการฝึกไอคิโดเป็นการฝึกเพื่อพัฒนาตนเอง และประสบการณ์แปลกใหม่ที่ไม่ซ้ํากันเมื่อได้ฝึกไอคิโดในทุกๆ คร้ัง

★How  do  you  feel  about  your  third  visit  in  Chiang  Mai?

รู้สึกชอบและชื่นชมว่าชมรมไอคิโดของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่มีการฝึกซ้อมที่ดีทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นเพราะระดับสายและฝีมือของคนเก่าๆ ที่เคยเจอในการมาที่เชียงใหม่ครั้งก่อนนั้นมีการพัฒนาสูงขึ้น

หน้า ๓๓

Oliver Thorne (Ni-dan)

มาเยี่ยมมาเยือน

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB!

ฉบับที่ ๒๔ วันที ่๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 34: #24 AikidoCMU

★ When  did  you  started  learning  about  the  connec@on  with  partner?

สําหรับตัวเองนั้น ได้เริ่มฝึกการต่อแรงตั้งแต่เริ่มฝึกเพราะอาจารย์ท่านให้ความสําคัญทั้งด้านตัวเทคนิคของท่าต่างๆ และการเรียนรู้เรื่องของแรง ในขณะที่อาจารย์หลายๆ ท่านเลือกที่จะสอนเฉพาะเทคนิคของท่าก่อนแล้วค่อยให้เริ่มฝึกการรับรู้เกี่ยวกับแรงเมื่อฝึกมาได้หลายปีแล้ว

★ What  is  your  favorite  technique  in  Aikido?

โดยปกติแล้ว จะให้ความสําคัญกับท่าเทคนิคพื้นฐานมากกว่าทําท่าทีชอบที่สุด ฉะนั้นท่า Ikkyo    จึงเป็นท่าที่ฝึกมากที่สุดในช่วงเวลาที่ผ่านมา

★ How  about  your  aikido  training  in  Japan?

ได้ไปญี่ปุ่นครั้งแรกเมื่อประมาณ 5  ปีที่แล้ว ตอนนั้นไปฝึกที่เมืองฮิโรชิมา สําหรับการฝึกในครั้งนั้นก็เป็นประสบการณ์ที่ดีเพราะได้เจอกับอาจารย์ที่ดี ส่วนครั้งที่สองที่เพิ่งผ่านมาเร็วๆ นี้นั้น ก็ตั้งใจเพื่อที่จะไปเรียนภาษาญี่ปุ่นมากกว่าจะไปฝึกไอคิโด ทําให้ไม่ค่อยได้ไปฝึกเท่าไรนัก  แต่นั่นก็เพียงพอแล้วที่จะทําให้ชอบและหวังที่จะไปอยู่ประเทศญี่ปุ่น

★ What  would  you  like  to  tell  Aikido  students  in  Chiang  Mai  University?

ขอชมว่านักเรียนไอคิโดที่เชียงใหม่มีการฝึกที่ดีขึ้นทุกครั้งที่เขาได้กลับมา ก็เลยอยากจะให้คนที่เชียงใหม่ตั้งใจฝึกแบบนี้กันต่อไปเรื่อยๆ นะครับ

หน้า ๓๔

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB!

ฉบับที่ ๒๔ วันที ่๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 35: #24 AikidoCMU

เมื่อวันอาทิตย์ที ่๔ กรกฎาคม อ.ประพันธ์ได้เมตตาแวะมาสอนชาวไอคิโดม.ช. ทั้งที่ท่านขึ้นเชียงใหม่มาเพื่อร่วมงานแต่งงานแต่ก็ยังอุตส่าห์หอบชุดฝึกมาด้วย ทางชมรมไอคิโดม.ช.จึงขอขอบพระคุณในเมตตาจิตของอาจารย์มา ณ ที่นี้

Aikido Family

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB!

ฉบับที่ ๒๔ วันที ่๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Page 36: #24 AikidoCMU

หน้า ๓๖

ปฏิทินกิจกรรม! ฝกประจำสัปดาห! ! จันทร-พุธ-ศุกร ๑๘.๐๐ - ๒๐.๓๐ น.11 1 1 1 1 สถานที่ฝก ชมรมไอคิโด มหาวิทยาลัยเชียงใหม

1 1 1 1 ใตถุนตึกอาคารกิจกรรมนักศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม

Aikido Familyขอร่วมแสดงความยินดีกับน้องเอก ศรัณญ์พงศ์ แดงเดช นักเรียนชั้น ม.4 โรงเรียนนานาชาติเปรม ติณสูลานนท์ ที่ตอนนี้กําลังไปศึกษาต่อที่โรงเรียน Glendale Adventist รัฐแคลิฟอร์เนีย ขอเอาใจช่วยให้ประสบความสําเร็จในการศึกษา และหากมีเวลาก็แวะไปฝึกไอคิโดด้วยนะจ๊ะ

น้องเอกใจดีแวะมาฝึกเพื่อเป็นการร่ําลาก่อนเดินทาง

แถมยังเอาโดนัทมาฝากพี่ๆด้วย

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB!

ฉบับที่ ๒๔ วันที ่๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)