21

คํานํา · สารบัญ หน า คํานํา สารบัญ บทที่ 1 บทนํา - ความเป นมา 1

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: คํานํา · สารบัญ หน า คํานํา สารบัญ บทที่ 1 บทนํา - ความเป นมา 1
Page 2: คํานํา · สารบัญ หน า คํานํา สารบัญ บทที่ 1 บทนํา - ความเป นมา 1

คํานํา

จังหวัดชัยภูมิประสบกับภาวะภัยแลงและอุทกภัยเปนประจําทุกป สรางความเสียหายในพื้นที่เกษตรกรรมและชุมชนเมืองกอใหเกิดความสูญเสียดานชีวิตและทรัพยสินนอกจากน้ีปญหาการบริหารจัดการทรัพยากรนํ้าของจังหวัดชัยภูมิ ยังไมสามารถนําไปสูการปฏิบัติได เน่ืองจากปจจัยหลายอยาง ไมวาจะเปนลักษณะภูมิประเทศ ปญหาภัยธรรมชาติ ปญหาภัยแลง อุทกภัย คุณภาพนํ้า ประกอบกับการบูรณาการของหนวยงานภาครัฐ แผนบริหารจัดการทรัพยากรนํ้าแบบบูรณาการ จังหวัดชัยภูมิ เปนการนําแผนยุทธศาสตรการบริหารจัดการทรัพยากรนํ้าไปสูการปฏิบัติ ซึ่งยึดหลักการบริหารจัดการนํ้าในลุมนํ้าอยางย่ังยืน แนวนโยบายของรัฐบาล ทิศทางการพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และผลการวิเคราะหสถานการณนํ้า ความตองการใชนํ้า ปญหาการขาดแคลนนํ้า นํ้าทวม/อุทกภัยและคุณภาพนํ้า แผนงาน/โครงการกําหนดใหสอดคลองกับกลยุทธและเปาหมายในพื้นที่แตละลุมนํ้า ซึ่งแผนยุทธศาสตรไดกําหนดเปาหมายไวในภาพรวม มาเปนแนวทางในการปฏิบัติ

ดังน้ัน เพื่อเปนการการแกไขปญหาอุทกภัย/ภัยแลง พื้นที่จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ รวมกับกองกําลังรักษาความสงบเรียบรอยจังหวัดชัยภูมิ โครงการชลประทานจังหวัดชัยภูมิ และสํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัดชัยภูมิ จึงไดริเริ่มจัดทําแผนบริหารจัดการทรัพยากรนํ้าแบบบูรณาการจังหวัดชัยภูมิ ป 2559/2560 ข้ึนเพื่อใหการดําเนินงานเปนไปดวยความเรียบรอยและผลสัมฤทธ์ิตามเปาหมายที่ไดกําหนดไว

พลตรี นาย (พุฒิเศรษฐ ภาคการ) (ชูศักด์ิ ตรีสาร)

ผูบัญชาการกองกําลังรักษาความสงบเรียบรอยจังหวัดชัยภูม ิ ผูวาราชการจังหวัดชัยภูม ิ

Page 3: คํานํา · สารบัญ หน า คํานํา สารบัญ บทที่ 1 บทนํา - ความเป นมา 1

สารบัญ หนา

คํานํา

สารบัญ

บทท่ี 1 บทนํา - ความเปนมา 1 - หลักการและเหตุผล 1 - หลักฐาน/อางอิง 2 - วัตถุประสงค 3 - เปาหมาย 3 - กรอบแนวคิดในการดําเนินงาน 4 - วิธีการดําเนินงาน 5 - ระยะเวลาดําเนินงาน 9 - งบประมาณ 10 - ตัวช้ีวัดผลการปฏิบัติงาน 10 - ผลที่คาดวาจะไดรับ 10

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก สภาพทั่วไปของจังหวัดชัยภูมิ 11-14

ภาคผนวก ข สภาพปญหาดานทรัพยากรนํ้า 15-18

ภาคผนวก ค แผนงาน/โครงการบริหารจัดการและพัฒนาลุมนํ้า แบบบูรณาการจังหวัดชัยภูมิ ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2559 19-66

ภาคผนวก ง แผนงาน/โครงการบริหารจัดการและพัฒนาลุมนํ้า แบบบูรณาการจังหวัดชัยภูมิ ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2560 67-96

ภาคผนวก จแผนงาน/โครงการพัฒนาแหลงนํ้าขนาดใหญขนาดกลาง กรมชลประทาน 97-104

ภาคผนวก ฉ แผนงาน/โครงการภาครัฐ ปงบประมาณ พ.ศ.2559 สํานักงานชลประทานที่ 6 กรมชลประทาน 105-108

ภาคผนวก ช แผนงาน/โครงการภาครัฐ ปงบประมาณ พ.ศ.2560 สํานักงานชลประทานที่ 6 กรมชลประทาน 109-112

ภาคผนวก ซ แผนที่ลุมนํ้าชี 113-115

ภาคผนวก ญ แผนที่ลุมนํ้าสาขา(8ลุมนํ้า) จังหวัดชัยภูม ิ 116-123

ภาพกิจกรรม

Page 4: คํานํา · สารบัญ หน า คํานํา สารบัญ บทที่ 1 บทนํา - ความเป นมา 1

1

แผนบริหารจัดการทรัพยากรนํ้าแบบบูรณาการ จังหวัดชัยภูม ิประจําป ๒๕๕๙/๒๕๖๐

------------------------------------------- บทนํา

๑. ความเปนมา

นํ้า เปนทรัพยากรพื้นฐานที่มีความสําคัญอยางย่ิงตอการดํารงชีวิตของมนุษย ทั้งการอุปโภคบริโภค การทําการเกษตรกรรม การอุตสาหกรรม การคมนาคม การผลิตพลังงาน การทองเที่ยวและกีฬา รวมถึงมีความสําคัญที่ชวยรักษาความอุดมสมบูรณของระบบนิเวศตาง ๆ ดวย แตเน่ืองจากการเพิ่มข้ึนของประชากรประกอบกับการขยายตัวของภาคเศรษฐกิจ ทําใหมีความตองการใชนํ้าเพิ่มมากข้ึน ในขณะที่ปาตนนํ้าถูกบุกรุกทําลายอยางตอเน่ือง สงผลใหเกิดปญหาการชะลางพังทลายของดิน ความสามารถในการเก็บกักนํ้าหรือการชะลอนํ้าตามธรรมชาติลดลง ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ จึงนําไปสูปญหานํ้าทวมในฤดูฝน และขาดแคลนนํ้าในฤดูแลง ซึ่งมีแนวโนมที่จะทวีความรุนแรงเพิ่มข้ึน

คณะรักษาความสงบแหงชาติไดมีคําสั่งที่ ๘๕ /๒๕๕๗ ลงวันที่ ๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ แตงต้ังคณะกรรมการกําหนดนโยบายและการบริหารจัดการทรัพยากรนํ้าโดยมีพลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ เปนประธาน เพื่อกําหนดกรอบนโยบายและแผนงานการบริหารจัดการทรัพยากรนํ้า การปองกันและแกไขปญหาอุทกภัย ภัยแลง และคุณภาพนํ้าของประเทศใหเปนไปอยางมีเอกภาพและบูรณาการซึ่งไดจัดทําแผนยุทธศาสตรการบริหารจัดการทรัพยากรนํ้า (ป พ.ศ. ๒๕๕๘-๒๕๖๙) เสนอคณะรัฐมนตรีใหความเห็นชอบ เมื่อวันที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ตามที่คณะกรรมการกําหนดนโยบายและการบริหารจัดการทรัพยากรนํ้าเสนอ และมอบหมายใหคณะกรรมการทรัพยากรนํ้าแหงชาติ (กนช.) นําแผนยุทธศาสตรการบริหารจัดการทรัพยากรนํ้า(ป พ.ศ. ๒๕๕๘-๒๕๖๙) ไปปฏิบัติเพื่อใหการพัฒนาและบริหารจัดการทรัพยากรนํ้าของประเทศไทย เปนไปอยางรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ ปองกันและบรรเทาภัยพิบัติใหกับประชาชนอยางแทจริง

๒. หลักการและเหตุผล

ที่ผานมาจังหวัดชัยภูมิประสบกับภาวะภัยแลงและอุทกภัยอยางรุนแรงสรางความเสียหายในพื้นที่เกษตรกรรมและชุมชนเมืองกอใหเกิดความสูญเสียดานชีวิตและทรัพยสินสงผลทางเศรษฐกิจสังคม และตอประชาชนทั่วไป

สถานการณปญหาลุมนํ้าชีพื้นที่จังหวัดชัยภูมิ พบวาจะทวีความรุนแรงมากข้ึนสภาพพื้นที่ปาไมมีปริมาณลดลงอยางมากจากอดีตที่ผานมา สืบเน่ืองมาจากการบุกรุกทําลายปาตนนํ้า การขยายพื้นที่การเกษตร สงผลกระทบตอการชะลางพังทลายของดิน ฝนไมตกตองตามฤดูกาล นอกจากน้ันยังสงผลใหสถานการณนํ้าในอางเก็บนํ้ามีปริมาณเก็บกักนอย ตลอดจนนํ้าทาในลํานํ้าชี มีปริมาณนํ้าไหลผานนอย ประกอบกับปริมาณฝนมีแนวโนมลดลง อาจทําใหปริมาณนํ้าของเข่ือน/อางเก็บนํ้า และปริมาณนํ้าในลํานํ้าชีมีนอยจนเขาสูภาวะวิกฤติ ซึ่งในปจจุบันมีปริมาณนํ้าที่จะใชเพื่อการประปา การอุปโภค-บริโภค และระบบนิเวศเทาน้ัน

Page 5: คํานํา · สารบัญ หน า คํานํา สารบัญ บทที่ 1 บทนํา - ความเป นมา 1

2

ปญหานํ้าทวม ไดแก นํ้าทวมขัง นํ้าไหลลนตลิ่ง นํ้าปาไหลหลาก และดินโคลน ซึ่งสาเหตุของปญหาอุทกภัยเกิดจากฝนตกหนักในพื้นที่ลุมนํ้า บริเวณตนนํ้ามีลักษณะภูมิประเทศเปนปาเขามีความลาดชันสูง และมีการบุกรุกทําลายปาไมตนนํ้าลําธารทางตอนลางของพื้นที่ลุมนํ้าชีเปนที่ราบลุม และมีลํานํ้าหลายสายไหลมารวมกัน ทําใหเกิดปญหาในการระบายนํ้าจากพื้นที่ลุมนํ้า แหลงเก็บกักนํ้าและระบบชะลอนํ้าหลากยังไมเพียงพอ ลํานํ้าธรรมชาติต้ืนเขิน และมีการบุกรุกของราษฎรริมฝงลํานํ้า ทําใหไมสามารถระบายนํ้าหลากไดทันการบริหารจัดการนํ้าในอางเก็บนํ้าขนาดใหญ ในชวงฤดูฝนของบางปตองระบายนํ้าออกเปนปริมาณมาก เน่ืองจากพื้นที่ตนนํ้ามีปริมาณฝนรายปมากทําใหเกิดปญหานํ้าทวมทางดานทายนํ้าและพื้นที่ตอนลางของลุมนํ้ามากข้ึน(ภาคผนวก ข)

ปญหาภัยแลง สวนมากขาดแคลนนํ้าเพื่อการเกษตร โดยเฉพาะพื้นที่เกษตรนํ้าฝน มักจะประสบปญหารุนแรงในชวงกรณีฝนทิ้งชวงถึงแมวาจะมีปริมาณฝนเฉลี่ยอยูในเกณฑปานกลาง แตก็มีปญหาฝนตกไมสม่ําเสมอและไมกระจายทั่วทั้งพื้นที่(ภาคผนวก ข)

นอกจากน้ีปญหาการบริหารจัดการทรัพยากรนํ้าของจังหวัดชัยภูมิ ยังไมสามารถนําไปสูการปฏิบัติได เน่ืองจากปจจัยหลายอยาง ไมวาจะเปนลักษณะภูมิประเทศ ปญหาภัยธรรมชาติ ปญหาภัยแลง อุทกภัย คุณภาพนํ้า ประกอบกับการบูรณาการของหนวยงานภาครัฐ สวนกลาง ภูมิภาคและทองถ่ิน ยังเกิดชองวางและการเช่ือมโยงกัน ทําใหการบริหารจัดการทรัพยากรนํ้าของจังหวัดชัยภูมิ จึงไมสามารถเปนไปไดอยางเต็มรูปธรรม

แผนบริหารจัดการทรัพยากรนํ้าแบบบูรณาการ จังหวัดชัยภูมิ เปนการนําแผนยุทธศาสตรการบริหารจัดการทรัพยากรนํ้าไปสูการปฏิบัติ ซึ่งยึดหลักการบริหารจัดการนํ้าในลุมนํ้าอยางย่ังยืน แนวนโยบายของรัฐบาล ทิศทางการพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และผลการวิเคราะหสถานการณนํ้า ความตองการใชนํ้า ปญหาการขาดแคลนนํ้า นํ้าทวม/อุทกภัยและคุณภาพนํ้า แผนงาน/โครงการกําหนดใหสอดคลองกับกลยุทธและเปาหมายในพื้นที่แตละลุมนํ้า ซึ่งแผนยุทธศาสตรไดกําหนดเปาหมายไวในภาพรวม มาเปนแนวทางในการปฏิบัติ

ดังน้ัน เพื่อเปนการการแกไขปญหาอุทกภัย/ภัยแลง พื้นที่จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ รวมกับกองกําลังรักษาความสงบเรียบรอยจังหวัดชัยภูมิ โครงการชลประทานจังหวัดชัยภูมิ และสํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัดชัยภูมิ จึงไดริเริ่มจัดทําแผนบริหารจัดการทรัพยากรนํ้าแบบบูรณาการจังหวัดชัยภูมิ ป ๒๕๕๙/๒๕๖๐ ข้ึนเพื่อใหการดําเนินงานเปนไปดวยความเรียบรอยและมีผลสัมฤทธ์ิตามเปาหมายที่ไดกําหนดไว

๓.หลักฐาน

๓.๑เอกสารอางอิง

๓.๑.๑คําสั่งที่ ๘๕ /๒๕๕๗ ลงวันที่ ๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ แตงต้ังคณะกรรมการกําหนดนโยบายและการบริหารจัดการทรัพยากรนํ้า ๓.๑.๒ โครงการจัดทําแผนบริหารจัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าแบบบูรณาการจังหวัดชัยภูมิ ของสถาบันแหลงนํ้าและสิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตรมหาวิทยาลัยขอนแกน, มีนาคม ๒๕๕๗ ๓.๑.๓ แผนปฏิบัติการปองกันและแกไขปญหาภัยแลงจังหวัดชัยภูมิ ป ๒๕๕๙ ๓.๑.๔ แผนการพัฒนาการชลประทานจังหวัดชัยภูมิ ประจําป ๒๕๕๙

Page 6: คํานํา · สารบัญ หน า คํานํา สารบัญ บทที่ 1 บทนํา - ความเป นมา 1

3

๓.๒แผนท่ีสังเขป ๓.๒.๑ แผนที่ลักษณะภูมิประเทศ จังหวัดชัยภูมิ ๓.๒.๒ แผนที่แสดงที่ต้ังและอาเขต ขอบเขตลุมนํ้าชี/ลุมนํ้ายอย จังหวัดชัยภูม ิ ๓.๒.๓ แผนที่ลุมนํ้าสาขา/ลุมนํ้ายอยในจังหวัดชัยภูม ิ ๓.๒.๔ แผนที่แสดงแมนํ้าสายหลักและลํานํ้าสาขาสําคัญจังหวัดชัยภูม ิ ๓.๒.๕ แผนที่แสดงสถานะการณภัยแลงซ้ําซากในพื้นที่จังหวัดชัยภูมิ ๓.๒.๖ แผนที่แสดงพื้นที่ประสบปญหาอุทกภัยในพื้นที่จังหวัดชัยภูมิ ๓.๒.๗ แผนที่ลุมนํ้าชี ๓.๒.๘ แผนที่ลุมนํ้าสาขา(๘ ลุมนํ้า) ลุมนํ้าชีจังหวัดชัยภูม ิ

๔. วัตถุประสงค

๔.๑เพื่อแกไขปญหาทรัพยากรนํ้าแบบบูรณาการลุมนํ้าในพื้นที่จังหวัดชัยภูมิ เพื่อปองกันอุทกภัยและภัยแลง

๔.๒ เพื่อใหประชาชนในพื้นที่ลุมนํ้า ไดมโีอกาสเขาถึงทรัพยากรนํ้าของทุกภาคสวนอยางเหมาะสม

๔.๓ เพื่อบูรณาการแผนงานและโครงการจากหนวยงานที่เกี่ยวของ ใหเกิดผลตอการแกปญหาดานนํ้าอยางมีประสิทธิภาพ

๕.เปาหมาย

๕.๑มีการจัดหาแหลงนํ้าตนทุนเพิ่มเติม สรางระบบชลประทานเพิ่มข้ึน เชน การสราง

อางเก็บนํ้าสะพุงเหนือโครงการแกมลิง หรืออางเก็บนํ้าขนาดกลาง-เล็ก หรือฝายทดนํ้า เพื่อกักเก็บนํ้าอัน

จะเปนการเพื่อแกไขปญหานํ้ามาก นํ้าหลากและนํ้านอย

๕.๒พัฒนาแหลงนํ้าตนทุนที่มีอยู หรืออางเก็บนํ้าขนาดกลาง-เล็ก เพื่อกักเก็บนํ้าในฤดู

ฝนไวใชฤดูแลง ลดปญหาการขาดแคลนนํ้า

๕.๓ปรับปรุงประสิทธิภาพแหลงนํ้า ฟนฟูแหลงนํ้าในพื้นที่ที่มีแหลงนํ้าเสื่อมโทรมและ

ขาดแคลนนํ้า ตามโครงการขุดลอกแหลงนํ้า คูคลอง เพิ่มข้ึน

๕.๔สามารถบูรณาการแผนงาน/โครงการพัฒนาแหลงนํ้า การปฏิบัติของหนวยงานตางๆ

ที่เกี่ยวของตลอดจนมาตรการสนับสนุน จากหนวยงานตางๆ เพื่อชวยเหลือราษฎร ใหสามารถดํารงชีพอยู

ไดตามความเหมาะสม

Page 7: คํานํา · สารบัญ หน า คํานํา สารบัญ บทที่ 1 บทนํา - ความเป นมา 1

4

๖. กรอบแนวความคิดในการดําเนินงาน

กระบวนการ ๑. การปฏิบัติกอนเกิดภัย ๑.๑ มาตรการปองกันและแกปญหาอุทกภัย/ภัยแลง

- การปรับระบบบริหารจัดการอุทกภัย - การปรับระบบบริหารจัดการภัยแลง - การจัดการระบบขอมูลสารสนเทศ

๑.๒ มาตรการการเตรียมความพรอม ๑.๒.๑ พัฒนาแหลงนํ้าบรรเทาอุทกภัย(นํ้าทวม) ก. แผนระยะส้ัน - ประชุมเตรียมความพรอมกอนฤดูนํ้าหลาก - พัฒนาและขุดลอกแหลงนํ้า/ลอกลําหวย - กําจัดส่ิงกีดขวางทางนํ้า/กําจัดวัชพืช/ขุดลอกคลองระยายนํ้า/ขุดลอกหนองนํ้าธรรมชาติ - เพิ่มปริมาตรเก็บกักของอางเก็บนํ้าขนาดใหญ เพื่อชะลอการเกิดนํ้าหลาก ข. แผนระยะกลาง - โครงการพัฒนาแกมลิงอางเก็บนํ้า/คลองสงนํ้า/ ฝาย

ทดนํ้า/กอสรางสถานีสูบนํ้า - กอสรางพนังก้ันนํ้าและอาคารระบายนํ้า ค. แผนระยะยาว - การพัฒนาแหลงนํ้าที่มีศักยภาพ(ขนาดใหญ) ลํานํ้าพรม, ลํานํ้าเชิญ - โครงการพัฒนาลุมนํ้าชีตอนบน - โครงการอางเก็บนํ้าโปรงขุนเพชร อ.หนองบัวระเหว - โครงการอางเก็บนํ้าลําสะพุง อ.หนองบัวแดง ๑.๒.๒พัฒนาแหลงนํ้าบรรเทาภัยแลง(นํ้านอย) - กอสราง/ซอมแซม/ปรับปรุงระบบสงนํ้า/กระจายนํ้า - แกมลิง เชื่อมกับลํานํ้าสายหลัก - กอสรางฝายชะลอนํ้า

- การเจาะนํ้าบาดาลในพื้นที่ประสบภัย - เตรียมรถบรรทุกนํ้า/เครื่องสูบนํ้า

๑.๒.๓ การพยากรณและแจงเตือนภัย ๒. การปฏิบัติระหวางเกิดภัย

- การจัดการในภาวะฉุกเฉินอุทกภัย เชน ติดตั้งสถานีสูบนํ้า/เสริมกระสอบทราย/กอสรางคันดิน/สรางทํานบปดทางนํ้า/ขุดลอกเพื่อผันนํ้า - การจัดการในภาวะฉุกเฉินภัยแลง - การเชื่อมโยงระบบการติดตอส่ือสาร - การประชาสัมพันธ

๓. การปฏิบัติการหลังเกิดภัย - การฟนฟูสภาพจิตใจและโครงสรางพื้นฐาน - การรายงานและติดตามประเมินผล

ผลผลิต - มีแหลงนํ้า ที่เพียงพอตอการเกษตรกรรม

- มีนํ้าอุปโภคบริโภคที่เพียงพอ

- มีรายไดเพิ่มขึ้น

- ลดรายจายในครัวเรือน

- เสริมสรางคุณภาพชีวิต

- ปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน

- อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ

ผลลัพธ - ความสามารถในการดํารงชีวิต อยูไดตามความเหมาะสม - ความพึงพอใจ

ปจจัยนําเขา

- กําลังคน

- การจัดการ

-งบประมาณ

- ขอมูลพื้นที่ประสบภัย

Page 8: คํานํา · สารบัญ หน า คํานํา สารบัญ บทที่ 1 บทนํา - ความเป นมา 1

5

๗.วิธีการดําเนินงาน

ขั้นตอนท่ี ๑ การปฏิบัติกอนเกิดภัย

๑.๑มาตรการปองกันและแกปญหาอุทกภัย/ภัยแลง

1.1.1 การปรับระบบบริหารจัดการอุทกภัย

(๑) จัดต้ังศูนยประสานงานและติดตามสถานการณนํ้าจังหวัดชัยภูมิโดยให

โครงการชลประทานจังหวัดชัยภูมิมีหนาที่ติดตามสถานการณนํ้าอยางใกลชิด และจัดทํารายงานรวมถึง

แจงขาวสารใหประชาชน หนวยงานที่เกี่ยวของไดรับทราบ

(๒) โครงการชลประทานจังหวัดชัยภูมิ กําหนดมาตรการแกไขปญหานํ้าทวม ซึ่ง

ไดแกการกอสรางคลองระบายนํ้าใหม เพื่อชวยใหมีการระบายนํ้าไดเร็วข้ึน (ภาคผนวก ค)

(๓) โครงการชลประทานจังหวัดชัยภูมิ ประสานความรวมมือในการบริหารจัดการนํ้าของอางเก็บนํ้าขนาดใหญและขนาดกลาง ที่อยูในความรับผิดชอบของกรมชลประทาน และการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย เข่ือนจุฬาภรณ เข่ือนหวยกุม เพื่อกําหนดการเก็บกักนํ้าและการระบายนํ้าใหเปนไปตามเกณฑการเก็บกักนํ้าในอาง (Rule Curve) ที่กําหนดไวในแตละชวงเวลา ไมกอใหเกิดผลกระทบจากสภาพนํ้าหลากลนอางเก็บนํ้าอยางรุนแรง และเกิดภาวะนํ้าทวมดานทายนํ้าตลอดจนเรงเก็บกักนํ้าใหเต็มอางเก็บนํ้าชวงปลายฤดูฝน (๔) โครงการชลประทานจังหวัดชัยภูมิบริหารจัดการนํ้าในพื้นที่การเกษตรโดยการพรองระดับนํ้าในพื้นที่การเกษตรกอนถึงฤดูฝนตกหนักใหมีที่วางพอสามารถรองรับนํ้าฝนหรือรับนํ้าหลากไดบางสวน ทั้งน้ีจะตองไมเกิดความเสียหายแกเกษตรกรในพื้นที่

1.1.2 การปรับระบบบริหารจัดการภัยแลง(ตามแผนบูรณาการปองกันและแกไขปญหาภัยแลง จังหวัดชัยภูมิ ประจําป ๒๕๕๙)

(๑) จัดกองอํานวยการปองกันและบรรเทาภัยแลงจังหวัดชัยภูมิมีโครงสรางซึ่ง

ประกอบดวยสวนหลักๆ คือ คณะที่ปรึกษา/ผูเช่ียวชาญ ศูนยขอมูลประชาสัมพันธรวม ศูนยประสานการ

ปฏิบัติ สวนปฏิบัติการ สวนอํานวยการ และสวนสนับสนุน โดยใหสํานักงานปองกันและบรรเทาสาธารณะ

ภัยจังหวัดชัยภูมิ เปนเลขาฯ

(๒) แนวทางการปฏิบัติรวมกับหนวยทหารใหมีผูแทนฝายทหารจาก กองกําลังรักษาความสงบเรียบรอยจังหวัดชัยภูม/ิบชร.๒ หรือหนวยทหารอื่นๆ ที่มาสนับสนุน กองอํานวยการเพื่อประสาน การปฏิบัติโดยยึดกรอบแนวทางการปฏิบัติตามมาตรา ๔๖ แหงพระราชบัญญัติปองกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.๒๕๕๐

๑.๑.๓การจัดการระบบขอมูลสารสนเทศ (๑) ใหสํานักงานสถิติจังหวัดชัยภูมิ รวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของจัดทําฐานขอมูล

สารสนเทศดานสาธารณภัย เพื่อเปนระบบขอมูลและสถิติในการคนควาขอมูลพื้นที่เสี่ยงภัย พื้นที่ประสบ

ภัย ใหกับหนวยงานที่เกี่ยวของและประชาชนทั่วไป ซึ่งจะเปนประโยชนตอการวางแผนการปฏิบัติรวมถึง

การลดผลกระทบที่จะเกิดข้ึนจากภัยดังกลาว

Page 9: คํานํา · สารบัญ หน า คํานํา สารบัญ บทที่ 1 บทนํา - ความเป นมา 1

6

1.2 มาตรการการเตรียมความพรอม

๑.๒.๑แผนงานดานการพัฒนาแหลงนํ้าและบรรเทาอุทกภัย(นํ้าทวม)

(ก) แผนระยะสั้น - จัดประชุมเตรียมความพรอมรับสถานการณกอนฤดูนํ้าหลากเพื่อทําความเขาใจเช่ือมประสานการปฏิบัติงานของหนวยงานตางๆที่เกี่ยวของแบบบูรณาการอยางมีประสิทธิภาพ(ชป.) - เพิ่มปริมาตรเก็บกักของอางเก็บนํ้าขนาดใหญเพื่อชะลอการเกิดนํ้าหลาก(ชป.) - โครงการชลประทานจังหวัดชัยภูมิไดแกโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการระบายนํ้า, โครงการปรับปรุงสิ่งกีดขวางทางนํ้า ,โครงการกําจัดวัชพืช , โครงการขุดลอกคลองระบายนํ้าและขุดลอกหนองนํ้าธรรมชาติ - สํานักงานทรัพยากรนํ้า ภาค ๔(ขอนแกน) ขุดลอกลํานํ้า ตามโครงการอนุรักษฟนฟูแหลงนํ้า ป ๒๕๕๙ จํานวน ๑๕๐ แหง(ภาคผนวก ค) แผนงบประมาณ ป ๒๕๖๐ จํานวน๒๖ แหง(ภาคผนวก ง) (ข)แผนระยะปานกลาง - โครงการชลประทานจังหวัดชัยภูมิไดแกโครงการปองกันและบรรเทาภัยจากนํ้า, โครงการพัฒนาแกมลิง และประตูระบายนํ้า เพื่อบริหารจัดการนํ้า,พนังกันนํ้าและอาคารประกอบ(ภาคผนวก ค,ง) - สํานักงานทรัพยากรนํ้า ภาค ๔(ขอนแกน) ปรับปรุงลํานํ้าที่ต้ืนเขิน หรือกําจัดสิ่งกีดขวางทางนํ้า ตามโครงการอนุรักษฟนฟูแหลงนํ้า สามารถลดปญหานํ้าทวมซ้ําซากลงไดระดับหน่ึง (ภาคผนวก ค,ง) - อปท. ดําเนินโครงการระดับทองถ่ิน ซึ่งเปนโครงการขนาดเล็ก ในการปรับปรุงลําหวย หรือคลองที่กระจายอยูตามพื้นที่ตางๆ ในลุมนํ้า(ภาคผนวก ค,ง) (ค)แผนระยะยาว - โครงการกอสรางอางเก็บนํ้าขนาดใหญ ขนาดกลาง เชน โครงการอางเก็บนํ้าชีบน อางเก็บนํ้ายางนาดี และอางเก็บนํ้าโปรงขุนเพชร ที่อยูในยุทธศาสตรดานพัฒนาแหลงนํ้าและบรรเทาภัยแลง สามารถชวยชะลอนํ้าจากบริเวณตอนบนของพื้นที่ลุมนํ้า และชวยกักเก็บนํ้าไวในชวงฤดูฝน หรือชวงนํ้าหลากไดสามารถชวยชะลอนํ้าปริมาณนํ้าที่ไหลจากพื้นที่รับนํ้าบริเวณตนนํ้าในจังหวัดชัยภูมิและสามารถลดอัตราการไหลสูงสุดบริเวณที่อําเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ ไดประมาณ ๑๐๐ลบ.ม./วินาที(ภาคผนวก ค,ง)

๑.๒.๒แผนงานดานการพัฒนาแหลงนํ้าและบรรเทาภัยแลง (๑) ใหสํานักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดชัยภูมิ จัดทําแผนเฉพาะกิจปองกันและแกไขปญหาภัยแลง โดยกําหนดแนวทางบริหารจัดการนํ้าอยางเปนระบบ ครอบคลุมทุกมิติ เช่ือมโยงและสัมพันธทั้งในระดับหมูบานตําบล อําเภอ จังหวัด โดยประกอบดวยสภาพปญหา แนวทางแกไข ลําดับความสําคัญของโครงการ กรณีแนวทางแกไขปญหาขอใหระบุขอจํากัดหรือขีดความสามารถ ในการดําเนินการแกไขปญหา ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว

Page 10: คํานํา · สารบัญ หน า คํานํา สารบัญ บทที่ 1 บทนํา - ความเป นมา 1

7

(๒)สํานักงานกอสรางชลประทานขนาดใหญที่ ๑๓ กรมชลประทาน ดําเนินงานตามแผนงาน/โครงการพัฒนาแหลงเก็บกักนํ้าเพิ่มเติมไดแก โครงการอางเก็บนํ้าชีบน อําเภอหนองบัวแดง อางเก็บนํ้ายางนาดี อําเภอบานเขวา และอางเก็บนํ้าโปรงขุนเพชร อําเภอหนองบัวระเหว จังหวัดชัยภูมิ (๓) โครงการชลประทานจังหวัดชัยภูมิ ดําเนินการพัฒนาระบบสงนํ้าและการกระจายนํ้าใหมีประสิทธิภาพสูงข้ึน เชน การกอสราง/ซอมแซม/ปรับปรุงระบบสงนํ้า (คลอง ทอ) สวนบริเวณที่แลงซ้ําซากไมสามารถพัฒนาแหลงเก็บกักนํ้าและระบบชลประทานจะเนนการพัฒนาแหลงนํ้าเพื่อการอุปโภค-บริโภค และแหลงนํ้าขนาดเล็กประเภทตางๆ เชน การปรับปรุงฟนฟูแหลงนํ้าธรรมชาติ (ลํานํ้า หวย คลอง หนอง บึง) การขุด/สรางสระนํ้าใหม การกอสรางปรับปรุงประปาชนบทการกอสราง/ซอมแซมบอบาดาล หรือบอนํ้าต้ืน การกอสราง/ซอมแซมถังนํ้าฝน

(๔) โครงการชลประทานจังหวัดชัยภูมิ พัฒนาระบบโครงขายแกมลิง โดยปรับปรุงแหลงนํ้าธรรมชาติ เช่ือมโยงกับลํานํ้าสายหลัก เพื่อบรรเทาอุทกภัยและภัยแลง เปนแหลงนํ้าสําหรับการเกษตรในฤดูแลง (๕) โครงการชลประทานจังหวัดชัยภูมิ สรางสถานีสูบนํ้าดวยไฟฟาและระบบสงนํ้าพื้นที่ลํานํ้าเชิญ,ลํานํ้าพรม และลําประทาว

(๖) การเจาะนํ้าบาดาลโดยสํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัดชัยภูมิ ประสาน กับสํานักทรัพยากรนํ้าบาดาลเขต ๕ เพื่อเจาะนํ้าบาดาลใหกับพื้นที่ภัยแลง พื้นที่จังหวัดชัยภูมิ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ จํานวน ๘๘ แหง

(๗) องคการบริหารสวนจังหวัดชัยภูมิ(อบจ.) พิจารณาใหความชวยเหลือเจาะบอนํ้าบาดาลเพื่อแกไขปญหาการขาดแคลนนํ้าอุปโภคบริโภค โดยสํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัดชัยภูมิ สนับสนุนขอมูลพื้นที่ศักยภาพช้ันนํ้าบาดาล

(๘) การจัดเตรียมรถบรรทุกนํ้าและเครื่องสูบนํ้าเพื่อแกไขภัยแลง โดยใหอําเภอและองคกรปกครองสวนทองถ่ินจัดเตรียมรถบรรทุกนํ้า เครื่องสูบนํ้าเพื่อแจกจายนํ้า อุปโภค บริโภค และสนับสนุนนํ้าเพื่อการเกษตร

๑.๒.๓การพยากรณและแจงเตือนภัย (๑) จัดทําระบบพยากรณและเตือนภัย เพื่อเตรียมการลดผลกระทบจากนํ้าทวมในพื้นที่เสี่ยงภัยนํ้าปาไหลหลากบริเวณตนนํ้า และพื้นที่เสี่ยงภัยตามลํานํ้าสายหลักเชน ลํานํ้าชี (๒) ชลประทานจังหวัดชัยภูมิและสํานักงานอุตุนิยมวิทยาจังหวัดชัยภูมิจัดใหมีระบบการแจงเตือนภัยลวงหนากอนเกิดภัย (๓) การวางระบบและติดต้ังระบบโทรมาตรเพื่อพัฒนาระบบพยากรณนํ้าและระบบติดตามขอมูลเตือนภัยนํ้าทวม (๔) จัดใหมีการเฝาระวังติดตามสถานการณตลอด ๒๔ ช่ัวโมง เพื่อใหขอมูลและขาวสาร แกหนวยงานที่เกี่ยวของและประชาชน ซึ่งจะเปนประโยชนในการประเมินสถานการณ เพื่อตัดสินใจในการเตรียมรับมือกับภัยที่จะเกิดข้ึน ขั้นตอนท่ี ๒ การปฏิบัติระหวางเกิดภัยอุทกภัย/ภัยแลง

Page 11: คํานํา · สารบัญ หน า คํานํา สารบัญ บทที่ 1 บทนํา - ความเป นมา 1

8

๒.๑การจัดการในภาวะฉุกเฉินอุทกภัย (๑) สํานักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดชัยภูมิ จัดต้ังศูนยปองกันและใหความชวยเหลือราษฎรที่ประสบอุทกภัยระดับจังหวัด (๒) โครงการชลประทานจังหวัดชัยภูมิ แจงเตือนภัยลวงหนากอนเกิดอุทกภัย โดยมีระบบโทรมาตรและการคาดการณเตือนภัยที่มีประสิทธิภาพ (๓) โครงการชลประทานจังหวัดชัยภูมิ การติดตามสถานการณสภาพภูมิอากาศสภาพนํ้าฝนสภาพนํ้าทาสภาพนํ้าในอางเก็บนํ้า สภาพนํ้าทวมและพายุจรเพื่อใหการบริหารจัดการนํ้าและการแกไขปญหาตางๆเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและรวดเร็วทันตอเหตุการณ (๔) ดําเนินงานตามแผนงานระหวางนํ้ามาหรือขณะเกิดภัยเปนแผนงานที่กําหนดข้ึนตามความเหมาะสมในแตละพื้นที่ โดยเสริมประสิทธิภาพของอาคารชลประทานในบริเวณตางๆรวมถึงการเสริมกระสอบทรายการกอสรางคันดินเล็กการกอสรางทํานบช่ัวคราวปดชองทางนํ้าที่ยังไมมีอาคารบังคับนํ้าการขุดลอก และการกําจดัวัชพืชเพิ่มเติมการผันนํ้าเขาทุงที่ลุมเพื่อลดปริมาณยอดนํ้าสูงสุด

๒.๒การจัดการในภาวะฉุกเฉินภัยแลง (ตามข้ันตอนแผนบูรณาการปองกันและแกไขปญหาภัยแลง จังหวัดชัยภูมิ ประจําป ๒๕๕๙)

๒.๓การเชื่อมโยงระบบการติดตอสื่อสาร (๑) ใหหัวหนาสํานักงานจังหวัดชัยภูมิ รับผิดชอบกํากับดูแลระบบสื่อสารใหกับศูนยบัญชาการเหตุการณจังหวัดกับพื้นที่ที่ประสบภัย เพื่อใชในภาวะฉุกเฉิน ตลอดจนเช่ือมตอฐานขอมูลตางๆและใหบริการอินเตอรเน็ต เพื่อใหทุกสวนที่เกี่ยวของไดรับขอมูลภัยแลงอยางทันเหตุการณ (๒) มีหนวยงานหลักติดตามการดําเนินการโครงขายสถานีตรวจวัดนํ้า เพื่อติดตามสถานการณนํ้าและสภาพนํ้าในลํานํ้าไดตลอดชวงของลํานํ้าและตลอดเวลา ทําใหสามารถคาดการณปริมาณนํ้า ณ จุดตางๆ ไดอยางถูกตองมากข้ึน ซึ่งผูบริหารระดับสูงสามารถตัดสินใจและบริหารจัดการนํ้าเพื่อปองกันและบรรเทาอุทกภัยไดอยางถูกตองและมีประสิทธิภาพมากข้ึน

๒.๔การประชาสัมพันธ (๑) ประชาสัมพันธจังหวัดชัยภูมิรับผิดชอบจัดต้ัง ศูนยประสานขอมูลรวมของจังหวัดชัยภูมิ

เพื่อเปนจุดปฏิบัติงานรวมกับสื่อมวลชนและหนวยงานดานขาวสารในการติดตามและเผยแพรขอมูลขาวสาร แนวโนน ความเปลี่ยนแปลงของสถานการณและตรวจสอบยืนยันความถูกตองของขอมูล

(๒) ใหกองอํานวยการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยอําเภอ องคกรบริหารสวนตําบลและเทศบาล จัดต้ังศูนยประสานขอมูลรวมของตนเชนเดียวกับจังหวัดตามขอ ๑ ขั้นตอนท่ี ๓ การปฏิบัติการหลังเกิดภัย

๓.๑การจัดการในการฟนฟูหลังเกิดอุทกภัย (๑) สํานักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดชัยภูมิ เปนหนวยงานหลักในการประเมินความเสียหายและความสูญเสียที่เกิดจากอุทกภัย ซึ่งการฟนฟูควรประกอบดวย ดานกายภาพ ดานชีวภาพ ดานคุณคาการใชประโยชนมนุษย และดานคุณภาพชีวิต โดยนําผลการประเมินดังกลาวมาเปนกรอบวางแผนในการฟนฟู

Page 12: คํานํา · สารบัญ หน า คํานํา สารบัญ บทที่ 1 บทนํา - ความเป นมา 1

9

(๒) ใหโครงการชลประทานจังหวัดชัยภูมิ เรงสํารวจความเสียหายของระบบชลประทานสํารวจพื้นที่การเกษตรในเขตชลประทานที่ไดรับผลกระทบนํ้าทวม เพื่อซอมแซมใหสามารถใชงานไดตามปกติโดยเร็ว (๓) การดําเนินการฟนฟูรวมกับประชาชนและชุมชน ใหใชกระบวนการมีสวนรวมโดยคํานึงถึงความตองการของชุมชนเปนหลัก ตลอดจนนําหลักการ “ประชารัฐ” เขามาแกไขปญหาความไมสงบเรียบรอยอันอาจจะเกิดข้ึน (๔) ใหสํานักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดชัยภูมิ ประสานกับกองกําลังรักษาความสงบเรียบรอยจังหวัดชัยภูมิเพื่อขอรับการสนับสนุนกําลังพลและเครื่องจักรเขามารวมดําเนินการฟนฟูพื้นที่ประสบภัยแลงตามความเหมาะสม (๕) ใหหนวยงานที่เกี่ยวของ รวมบูรณาการงานรวมกันในการติดตามและกํากับดูแลเพื่อใหการดําเนินการกอนเกิดภัย ระหวางเกิดภัย และฟนฟูหลังภัย บรรลุวัตถุประสงคตามภารกิจแตละหนวยงาน (๖) ใหหนวยงานความมั่นคง ประสานหนวยงานที่เกี่ยวของ ทําความเขาใจและปรับสภาพความเปนอยู หรือวิถีชีวิตใหสอดคลองกับสถานการณธรรมชาติที่เกิดข้ึนก็เปนอีกวิธีการหน่ึงที่จะลดความเสียหายได

๓.๒การจัดการในการฟนฟู หลังเกิดภัยแลง(ตามข้ันตอนแผนบูรณาการปองกันและแกไขปญหาภัยแลง จังหวัดชัยภูมิ ประจําป ๒๕๕๙)

๓.๓การฟนฟูสภาพจิตใจและโครงสรางพ้ืนฐาน ใหสํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดชัยภูมิ ประสานและกํากับดูแลการใหการสงเคราะหผูประสบภัยแลง โดยจัดหาปจจัย ๔ ที่จําเปนแกผูประสบภัยรวมทั้งเจาหนาที่และอาสาสมัครที่มาปฏิบัติงานดวย ๓.๔การอนุรักษทรัพยากรนํ้าและสิ่งแวดลอม โดยการวางแผนงาน/โครงการดังน้ี

(๑) การฟนฟูปาตนนํ้าเนนในพื้นที่ตอนบนของลุมนํ้า เพื่อสามารถเพิ่มปริมาณนํ้าในฤดูแลง โดยสามารถชวยในเรื่องนํ้าอุปโภค บริโภค

(๒) การปองกันและลดการชะลางพังทลายของดิน โดยเนนในพื้นที่ที่มีการเพาะปลูกในพื้นที่ลาดชัน พื้นที่เพาะปลูกพืชไร และในพื้นที่เหนืออางเก็บนํ้าที่ไดกอสรางไว

(๓) การฟนฟูปาตนนํ้า โดยเนนพื้นที่ตอนบนของลุมนํ้า เพื่อใหสามารถเพิ่มปริมาณนํ้าใน ฤดูแลง โดยสามารถชวยในเรื่องนํ้าอุปโภค บริโภค เปนหลัก ๓.๕การรายงานและติดตามประเมินผล - การติดตาม : ใหมีการติดตามประจําวัน สัปดาห และเดือน โดยรายงานตามแบบฟอรมที่กําหนดและจัดกลุมไลน เพื่อใหทันตอสถานการณปจจุบัน - การประเมินผล : ใหประเมินโดยคณะกรรมการที่ผูวาราชการจังหวัดแตงต้ังข้ึนโดยใชแบบสอบถาม ซึ่งมอบใหสํานักงานสถิติจังหวัดชัยภูมิเปนหนวยงานรับผิดชอบ ๘. ระยะเวลาดําเนินงาน : ต้ังแตบัดน้ีเปนตนไป

Page 13: คํานํา · สารบัญ หน า คํานํา สารบัญ บทที่ 1 บทนํา - ความเป นมา 1

10

๙. งบประมาณ

๙.๑ งบประมาณปกติสวนของราชการตางๆที่เกี่ยวของ และขององคกรปกครองสวน

ทองถ่ินไดแก องคกรบริหารสวนตําบล และเทศบาล

๙.๒ เงินทดรองราชการ ตามระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยเงินทดรองราชการ

เพื่อชวยเหลือผูประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๖ และหลักเกณฑการใชจายเงินทดรองราชการเพื่อ

ชวยเหลือผูประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๕๖

๑๐. ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน

๙.๑ ตัวช้ีวัดกอนเกิดภัย : รอยละของความพรอมเตรียมปองกันภัย

๙.๒ ตัวช้ีวัดระหวางเกิดภัย : ความรวดเร็วในการเขาแกไขปญหา

๙.๓ ตัวช้ีวัดหลังเกิดภัย

๙.๓.๑ ระยะสั้น

(๑) ปริมาณนํ้าที่มีใชอยางเพียงพอ

(๒) รอยละของการมีสุขภาพที่ดี

๙.๓.๒ ระยะยาว

(๑) รอยละของความสําเร็จตาม จปฐ.

(๒) ความพึงพอใจ

๑๑. ผลท่ีคาดวาจะไดรับ

๑๑.๑ สามารถแกปญหาอุทกภัยและภัยแลงใหกับราษฎรในพื้นที่จังหวัดชัยภูมิตามวัตถุประสงคที่กําหนดไว

๑๑.๒ประชาชนมีนํ้าที่เพียงพอตอการอุปโภคบริโภค และมีนํ้าเพื่อการเกษตรกรรม สามารถดํารงชีวิตอยูไดตามความเหมาะสม

๑๑.๓ การบูรณาการรวมกันของหนวยงานที่เกี่ยวของ สามารถตอบสนองความตองการของประชาชนในพื้นที่ได

...................................................

Page 14: คํานํา · สารบัญ หน า คํานํา สารบัญ บทที่ 1 บทนํา - ความเป นมา 1

11

ภาคผนวก ก สภาพท่ัวไปของจังหวัดชัยภูม ิ

1. ลักษณะภูมิประเทศ จังหวัดชัยภูมิมีเน้ือที่ประมาณ ๑๒,๗๗๘.๒๙ตารางกิโลเมตร หรือ

ประมาณ ๗,๙๘๖,๔๒๙ไร โดยทั่วไปทางทิศตะวันตกจรดทิศตะวันตกเฉียงเหนือเปนภูเขาสูง บริเวณตอนกลางของจังหวัดเริ่มเปนที่ลาดเชิงเขามีความลาดเทไปยังดานทิศตะวันออก และเปนที่ราบลุมริมนํ้าจากบริเวณตอนกลางไปยังทิศตะวันออก มีความสูงจากระดับนํ้าทะเลประมาณ ๑๖๐ - ๒๒๐เมตร

แผนท่ีแสดงลักษณะภูมิประเทศ จังหวัดชัยภูม ิ

ที่ ลักษณะภูมิประเทศ จํานวนพื้นที(่ไร) รอยละ

๑ ภูเขาและปาไม ๔,๐๒๖,๖๑๖ ๕๐.๔๒

๒ ที่ราบลุม ๓,๖๐๓,๙๙๔ ๔๕.๑๓

๓ ที่ราบสูงนอกเขตปาไม ๒๕๒,๔๑๓ ๓.๑๖

๔ พื้นนํ้า ๖๓,๔๓๑ ๐.๗๙

๕ เน้ือที่ดินดาน ดินเลนใชประโยชนไมได ๓๙,๙๗๕ ๐.๕๐

รวมทั้งส้ิน ๗,๙๘๖,๔๒๙ ๑๐๐.๐๐

Page 15: คํานํา · สารบัญ หน า คํานํา สารบัญ บทที่ 1 บทนํา - ความเป นมา 1

12

2. สภาพลุมนํ้าหลักและลุมนํ้ายอยในจังหวัดชัยภูมิจังหวัดชัยภูมิประกอบดวยลุมนํ้าหลัก ๓ ลุมนํ้า คือ ลุมนํ้าชี ประมาณ ๑๒,๕๙๗.๙๔ ตารางกิโลเมตร ลุมนํ้ามูลประมาณ ๒๘.๕๕ ตารางกิโลเมตร และลุมนํ้าปาสัก ๑๕๑.๘๐ ตารางกิโลเมตร มีลุมนํ้ายอย ๑๓ ลุมนํ้า ปริมาณนํ้าทาเฉลี่ยรายป ในคาบ ๓๐ป (๒๕๑๙-๒๕๔๗) รวมปละ ๒,๕๓๒.๘๑ลาน ลบ.ม.

แผนท่ีแสดงท่ีต้ังและอาเขต ขอบเขตลุมนํ้าชี/ลุมนํ้ายอย จังหวัดชัยภูม ิ

Page 16: คํานํา · สารบัญ หน า คํานํา สารบัญ บทที่ 1 บทนํา - ความเป นมา 1

13

แผนท่ีลุมนํ้าสาขา/ลุมนํ้ายอยในเขตจังหวัดชัยภูม ิ

ตารางแสดงปริมาณนํ้าทาในลุมนํ้าหลัก และลุมนํ้ายอยในเขตจังหวัดชัยภูม ิที่ ลุมน้ํา ลุมน้ํายอย พื้นที่ลุมน้ํา น้ําทา อําเภอในลุมน้ํา

หลัก ตร.กม. ลาน ลบ.ม.

๑ ช ี ลํานํ้าเชิญ ๑,๓๐๘.๐๐ ๒๖๓.๓๓ คอนสาร,แกงครอ,ภูเขียว,เกษตรสมบูรณ,บานแทน

๒ ช ี นํ้าพรม ๒,๒๗๐.๐๐ ๔๒๕.๖๘ คอนสาร,ภูเขียว,เกษตรสมบูรณ,บานแทน,หนองบัวแดง

๓ ช ี ลําสะพุง ๘๓๔.๐๐ ๑๗๗.๙๓ คอนสาร,เกษตรสมบูรณ,หนองบัวแดง

๔ ช ี ลํานํ้าชีสวนที๓่ ๒๐.๑๑ ๖.๙๓ บานแทน,คอนสวรรค,แกงครอ

๕ ช ี หวยสามหมอ ๖๒๐.๑๐ ๑๓๗.๔๔ ภูเขียว,เมืองชัยภูมิ,คอนสวรรค,แกงครอ

๖ ช ี ลํานํ้าชีตอนบน ๒,๓๘๕.๐๐ ๔๔๔.๔๑ คอนสาร,เมืองชัยภูมิ,เทพสถิต,ภักดีชุมพล,บานเขวา,เกษตรสมบูรณ,หนองบัวระเหว,หนองบัวแดง

๗ ช ี ลํากระจวน ๘๓๗.๔๐ ๑๗๘.๕๖ เทพสถิต,ภักดีชุมพล,หนองบัวแดง,บานเขวา,จัตุรัส

๘ ช ี ลําคันฉ ู ๑,๖๘๙.๐๐ ๓๒๙.๐๒ เทพสถิต,ก.เนินสงา,หนองบัวแดง,บานเขวา,จัตุรัส

๙ ช ี ลํานํ้าชีสวนที๒่ ๒,๘๓๑.๐๐ ๕๑๕.๙๙ ภูเขียว,เกษตรสมบูรณ,หนองบัวแดง,เทพสถิต,เนินสงา,คอนสวรรค,หนองบัวระเหว,เมืองชัยภูมิ,แกงครอ,บานเขวา,จัตุรัส

๑๐ มูล ลําเชิงไกร ๒๘.๕๕ ๙.๔๑ จัตุรัส,เนินสงา,บําเหน็จณรงค

๑๑ ปาสัก ลําสนธิ ๑๐๒.๗๐ ๒๘.๗๐ ภักดีชุมพล,เทพสถิต

๑๒ ปาสัก ปาสักสวนที๒่ ๑.๕๒ ๐.๗๓ หนองบัวแดง

๑๓ ปาสัก ปาสักสวนที๓่ ๔๗.๕๘ ๑๔.๖๘ ภักดีชุมพล

รวม ๑๒,๙๗๔.๙๖ ๒,๕๓๒.๘๑

Page 17: คํานํา · สารบัญ หน า คํานํา สารบัญ บทที่ 1 บทนํา - ความเป นมา 1

14

ปริมาณนํ้าฝน เฉลี่ยรายป ที่สถานี ชป. ชัยภูมิ บานหนองหลอด จังหวัดชัยภูมิ (พ.ศ.๒๔๙๗ - ๒๕๕๔) เทากับ๑,๑๑๙.๓มิลลิเมตรปริมาณฝนสูงสุดป ๒๕๔๓ เทากับ ๑,๗๕๓.๖มิลลิเมตร และปริมาณฝนตํ่าสุดป ๒๕๒๗ เทากับ ๗๗๙.๗มิลลิเมตร

ปริมาณนํ้าทา เฉลี่ยรายปในลุมนํ้าหลักและลุมนํ้ายอยในจังหวัดชัยภูมิ รวม ๑๓ ลุมนํ้ายอย รวมปละ ๒,๕๓๒.๘๑ ลาน ลบ.ม.

ลํานํ้าในจังหวัดชัยภูมิ เปนแหลงกําเนิดตนนํ้าลําธารหลายสาย กอใหเกิดลํานํ้าสายสําคัญ เชน ลํานํ้าชี ลํานํ้าพรม ลําคันฉูลําชีลอง ลําปะทาว ลําหวยสามหมอ และลํานํ้าก่ํา

แหลงนํ้าธรรมชาติ ในจังหวัดชัยภูมิมี หนอง บึงขนาดใหญ ที่มีพื้นที่มากกวา ๑๐๐ ไร เปน

แหลงนํ้าใชในชวงฤดูแลง รวม ๕๓แหง แยกเปน ลุมนํ้าชี ๓๖แหง ลุมนํ้าพรม-เชิญ จํานวน ๑๗แหง

แผนท่ีแสดงแมนํ้าสายหลักและลํานํ้าสาขาสําคัญจังหวัดชัยภูม ิ

Page 18: คํานํา · สารบัญ หน า คํานํา สารบัญ บทที่ 1 บทนํา - ความเป นมา 1

15

ภาคผนวก ข สภาพปญหาดานทรัพยากรนํ้า

1. ปญหาภัยแลง

ปญหาภัยแลง สวนมากขาดแคลนนํ้าเพื่อการเกษตร โดยเฉพาะพื้นที่เกษตรนํ้าฝน มักจะประสบปญหารุนแรงในชวงกรณีฝนทิ้งชวงถึงแมวาจะมีปริมาณฝนเฉลี่ยอยูในเกณฑปานกลาง แตก็มีปญหาฝนตกไมสม่ําเสมอและไมกระจายทั่วทั้งพื้นที่ ฤดูแลงทําการเพาะปลูกไดเฉพาะพื้นที่ในเขตชลประทานเทาน้ันเน่ืองจากมีปญหาและขอจํากัดดานสิ่งแวดลอมและดานสังคมในพื้นที่จังหวัดชัยภูมิ ทําใหไมสามารถพัฒนาแหลงนํ้าและเพิ่มสัดสวนพื้นที่ชลประทานไดมากนัก จึงทําใหประสบปญหาขาดแคลนนํ้าดังที่ปรากฏในปจจุบัน

แผนท่ีแสดงสถานะการณภัยแลงซ้ําซากในพ้ืนท่ีจังหวัดชัยภูม ิ

ขอมูล : โครงการชลประทานจังหวัดชัยภูมิ กรมชลประทาน: ๒๕๕๘

Page 19: คํานํา · สารบัญ หน า คํานํา สารบัญ บทที่ 1 บทนํา - ความเป นมา 1

16

2. ปญหานํ้าทวม

ปญหานํ้าทวม สวนใหญเปนพื้นที่การเกษตรพื้นที่ราบลุมริมลํานํ้า ไดแก พื้นที่ราบลุมลํานํ้าชีในทองที่อําเภอหนองบัวแดง หนองบัวระเหว บานเขวา จัตุรัส เนินสงา เมืองชัยภูมิ และคอนสวรรค พื้นที่ราบลุมลําคันฉู ในทองที่อําเภอบําเหน็จณรงค และจัตุรัส พื้นที่ราบลุมลํานํ้าพรม-เชิญในทองที่อําเภอเกษตรสมบูรณ ภูเขียว บานแทน และคอนสาร พื้นที่ชุมชนหนาแนนที่ไดรับผลกระทบรุนแรงไดแก พื้นที่ลุมนํ้าลําปะทาวในทองที่เทศบาลเมืองชัยภูมิ

สาเหตุเกิดจากปริมาณนํ้าหลากจากลํานํ้าชี ลําคันฉู ลํานํ้าพรม-เชิญ ลําปะทาว และลํานํ้าสาขาตางๆไหลหลากผานพื้นที่ดังกลาวเปนจํานวนมาก จนเกินความสารถในการระบายนํ้าของลํานํ้า ตลอดจนมีสิ่งกอสรางกีดขวางทางนํ้าไหล เชน ฝาย ทํานบดิน หรือทอลอดถนน สะพาน พนังกั้นนํ้า การถมที่ดินกีดขวางทางนํ้า ลํานํ้าบางชวงต้ืนเขิน แคบ คดเค้ียว คลายกระเพาะหมู มีวัชพืชข้ึนหนาแนน ทําใหระดับนํ้าทวมสูงและมีระยะเวลาทวมขังที่ยาวนานกวาในอดีต

แผนท่ีแสดงพ้ืนท่ีประสบปญหาอุทกภัยในพ้ืนท่ีจังหวัดชัยภูม ิ

ขอมูล : โครงการชลประทานจังหวัดชัยภูมิ กรมชลประทาน; ๒๕๕๓

Page 20: คํานํา · สารบัญ หน า คํานํา สารบัญ บทที่ 1 บทนํา - ความเป นมา 1

17

3. ปญหาคุณภาพนํ้า

ปญหาคุณภาพนํ้าผิวดิน เน่ืองมาจากลุมนํ้าสายตางๆ เปนแหลงรองรับนํ้าเสีย ไดแก นํ้าเสียจากชุมชน จากโรงงานอุตสาหกรรม และจากพื้นที่เกษตรกรรม บางพื้นที่มีปญหาคุณภาพนํ้าไมสามารถนําไปใชประโยชนในชวงฤดูแลง เชน ชวงที่ลําปะทาวไหลผานเทศบาลเมืองชัยภูมิ ชวงที่ลําคันฉูไหลผานโรงงานแปงมัน ในฤดูแลงมักจะมีนํ้าเสียเจือปนเขมขน นอกจากน้ียังมีปญหานํ้าเค็มในแหลงนํ้าบางแหงที่อยูในพื้นที่ดินเค็มรุนแรง เชน บึงระหาน บึงกะฮาด บึงนกโง ฯลฯ จากการตรวจสอบนํ้าในแมนํ้าชีใน ๒พื้นที่พบวาคุณภาพนํ้าอยูในเกณฑพอใชถึงเสื่อมโทรมโดยในบริเวณบานโนนนอย ตําบลลุมลําชีอําเภอบานเขวา พบวา คุณภาพนํ้าอยูในเกณฑพอใชสวนในบริเวณบานชัยเจริญตําบลลาดใหญ อําเภอเมืองชัยภูมิ พบวา คุณภาพนํ้าอยูในเกณฑเสื่อมโทรมนํ้ามีคาการนําไฟฟาสูง (๓,๕๐๐ไมโครโมลตอเซนติเมตร) มีปริมาณของแข็งทั้งหมด (๒,๐๒๓มก./ล.) และปริมาณของแข็งละลายสูง (๒,๐๐๘มก./ล.)จากการที่มีเกลือในพื้นที่ละลายในแมนํ้าบริเวณน้ี ดังน้ันควรระมัดระวังในการนําไปใชในการปลูกพืชและผลิตนํ้าประปา

4. ความตองการใชนํ้า

ความตองการใชนํ้าเพื่อการอุปโภคบริโภค การอุตสาหกรรม การชลประทาน การปศุสัตว และ

รักษาระบบนิเวศน ทั้งในปจจุบันและอนาคตสรุปได ดังน้ี

กิจกรรมการใชนํ้า(ลาน ลบ.ม./ป) ปจจุบัน (พ.ศ.

๒๕๕๒)

อนาคต (พ.ศ. ๒๕๗๒)

การอุปโภค-บริโภค ๔๑.๐๖ ๔๓.๐๔

การอุตสาหกรรม ๑๕.๔๕๖ ๒๐.๐๘๘

การชลประทาน ๖๖๕.๗๑๑ ๒,๐๗๑.๖๗๙

ความตองการใชนํ้าเพ่ือการปศุสัตว ๔.๗๒๔ ๕.๐๔๕

รักษาระบบนิเวศน ๖๖๐.๐๐ ๖๖๐.๐๐

รวม ๑,๓๘๗.๐๐ ๒,๗๙๙.๙๐

ปริมาณนํ้าทา ๒,๕๓๒.๘๑ ๒,๕๓๒.๘๑

ขอมูล : โครงการชลประทานจังหวัดชัยภูมิ กรมชลประทาน; ๒๕๕๘ สรุป : ความตองการนํ้าชลประทานปจจุบัน ๔๔๐,๑๐๐ ไร อนาคต ๑,๔๔๒,๙๔๒ ไร

5. การพัฒนาแหลงนํ้าท่ีมีอยูในปจจุบัน

Page 21: คํานํา · สารบัญ หน า คํานํา สารบัญ บทที่ 1 บทนํา - ความเป นมา 1

18

โครงการพัฒนาแหลงนํ้าที่ดําเนินการในจังหวัดชัยภูมิจากอดีตจนถึงปจจุบัน มีจํานวน

ทั้งหมด๔๔๒แหง โดยแบงเปนโครงการขนาดใหญ ๑ แหง โครงการขนาดกลางจํานวน ๑๒ แหง โครงการ

ขนาดเล็กจํานวน ๒๙๕ แหง และสถานีสูบนํ้าดวยไฟฟาพรอมระบบสงนํ้า ๙๔ แหง สามารถเก็บกักนํ้าได

ความจรุวมกัน ๓๙๗.๙๔๑ ลานลูกบาศกเมตร พื้นที่ชลประทาน(พื้นที่มีระบบสงนํ้า) ๓๐๖,๙๙๘ ไร พื้นที่

รับประโยชน (พื้นที่ที่ไมมีระบบสงนํ้า) ๑๘๗,๑๗๘ ไร

ประเภทโครงการ จํานวนโครงการ

ความจุเก็บกักนํ้า พ้ืนท่ีไดรับประโยชน (ไร)

(ลาน ลบ.ม.) พ้ืนท่ีมีระบบสงนํ้า พ้ืนท่ีไมมีระบบสงนํ้า

๑.โครงการขนาดใหญ ๑ ๑๘๘.๐๑๐ ๐ ๐

๒.โครงการขนาดกลาง ๑๒ ๑๗๘.๓๖๐ ๑๔๓,๕๐๘ ๐

๓.โครงการขนาดเล็ก ๒๙๕ ๓๑.๕๗๑ ๐ ๑๘๗,๑๗๘

๔. โครงการสูบนํ้าดวยไฟฟา ๐ ๐ ๑๖๓,๔๙๐ ๐

ท mu ขอมูล :โครงการชลประทานจังหวัดชัยภูมิ สํานักบริหารโครงการ กรมชลประทาน; ๒๕๕๔

แผนทีแ่สดงจุดที่ตั้งโครงการชลประทานขนาดกลาง