18
หน่วยที่ 2 วงจรไฟฟ้ าเบื ้องต ้น สาระสาคัญ วงจรไฟฟ้าคือการนาเอาแหล่งจ่ายไฟฟ้ามาจ่ายแรงดันและกระแสให ้กับโหลด โดยผ่านลวดตัวนา และใช ้ สวิตช์ในการเปิดปิดวงจรเพื่อตัดหรือต่อกระแสไฟฟ้าที่จ่ายให ้กับโหลด ในทางปฏิบัติจะมีฟิวส์ในวงจรเพื่อป้องกัน ปัญหาข ้อผิดพลาดที่จะเกิดกับวงจรและอุปกรณ์ เช่น โหลดเกิน หรือไฟฟ้าลัดวงจร วงจรไฟฟ้าเบื้องต ้นที่ควร ศึกษามีอยู3 ลักษณะคือ วงจรอนุกรม, วงจรขนานและวงจรผสม จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. อธิบายองค์ประกอบของวงจรไฟฟ้าได ้ 2. เปรียบเทียบหน้าที่ความแตกต่างของวงจรไฟฟ้าแบบต่าง ๆได ้ 3. ประกอบวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม, ขนาน และผสมได ้ 4. คานวณและวัดค่าแรงดัน, กระแส, ความต ้านทานของวงจรได ้ 5. ประยุกต์ใช ้ในชีวิตประจาวันได ้ องค์ประกอบของวงจรไฟฟ้ า วงจรไฟฟ้าคือการนาแหล่งจ่ายไฟฟ้า จ่ายแรงดันและกระแสให้กับโหลดโดยใช ้ลวดตัวนา แสดงองค์ประกอบของวงจรไฟฟ้า ในวงจรไฟฟ้ากระแสตรง จะต่อจากขั ้วบวกไปยังขั้วลบ และใช ้สวิตช์ เป็นตัวเปิดปิดการไหลของ กระแสไฟฟ้า การที่จะทาให้แรงดัน และกระแสไหลผ่านโหลดได ้ จะต ้องมีองค์ประกอบ ของวงจรไฟฟ้าดังนี

หน่วยที่ 2 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้นacademic.kus.ku.ac.th/ctech/e-book/F_2/pages/book.pdf · หน่วยที่ 2 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น

  • Upload
    others

  • View
    6

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: หน่วยที่ 2 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้นacademic.kus.ku.ac.th/ctech/e-book/F_2/pages/book.pdf · หน่วยที่ 2 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น

หน่วยที ่2 วงจรไฟฟ้าเบือ้งต้น

สาระส าคญั

วงจรไฟฟ้าคอืการน าเอาแหลง่จา่ยไฟฟ้ามาจ่ายแรงดันและกระแสใหก้บัโหลด โดยผา่นลวดตัวน า และใช ้

สวติชใ์นการเปิดปิดวงจรเพือ่ตดัหรอืตอ่กระแสไฟฟ้าทีจ่า่ยใหก้ับโหลด ในทางปฏบิัตจิะมฟิีวสใ์นวงจรเพือ่ป้องกันปัญหาขอ้ผดิพลาดทีจ่ะเกดิกับวงจรและอปุกรณ์ เชน่ โหลดเกนิ หรอืไฟฟ้าลดัวงจร วงจรไฟฟ้าเบือ้งตน้ทีค่วรศกึษามอียู ่3 ลักษณะคอื วงจรอนุกรม, วงจรขนานและวงจรผสม

จดุประสงคเ์ชงิพฤตกิรรม

1. อธบิายองคป์ระกอบของวงจรไฟฟ้าได ้2. เปรยีบเทยีบหนา้ทีค่วามแตกตา่งของวงจรไฟฟ้าแบบตา่ง ๆได ้3. ประกอบวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม, ขนาน และผสมได ้4. ค านวณและวดัคา่แรงดัน, กระแส, ความตา้นทานของวงจรได ้5. ประยกุตใ์ชใ้นชวีติประจ าวนัได ้

องคป์ระกอบของวงจรไฟฟ้า

วงจรไฟฟ้าคอืการน าแหลง่จา่ยไฟฟ้า จา่ยแรงดันและกระแสใหก้ับโหลดโดยใชล้วดตัวน า

แสดงองคป์ระกอบของวงจรไฟฟ้า

ในวงจรไฟฟ้ากระแสตรง จะตอ่จากขัว้บวกไปยังขัว้ลบ และใชส้วติช ์เป็นตัวเปิดปิดการไหลของกระแสไฟฟ้า การทีจ่ะท าใหแ้รงดัน และกระแสไหลผา่นโหลดได ้ จะตอ้งมอีงคป์ระกอบ ของวงจรไฟฟ้าดังนี้

Page 2: หน่วยที่ 2 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้นacademic.kus.ku.ac.th/ctech/e-book/F_2/pages/book.pdf · หน่วยที่ 2 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น

21

1. แหลง่จา่ยไฟฟ้า คอือปุกรณ์ทีท่ าหนา้ทีใ่นการจา่ยแรงดันและกระแสใหก้ับวงจร เชน่ แบตเตอรี,่

ถา่นไฟฉาย, เครือ่งจา่ยไฟ, ไดนาโม และ เจนเนอรเ์รเตอร ์ เป็นตน้

แสดงแหลง่จา่ยไฟฟ้าแบบตา่งๆ

2. ลวดตวัน า คอื อปุกรณ์ทีน่ ามาตอ่กับแหลง่จา่ยไฟฟ้า จากขัว้หนึง่ไปยังอกีขัว้หนึง่ เพือ่จา่ยแรงดันและ

กระแสไฟฟ้าใหก้ับโหลด ลวดตัวน าทีน่ ากระแสไฟฟ้าไดด้ทีีส่ดุคอื เงนิ แตเ่นือ่งจากเงนิมรีาคาแพงมาก จงึนยิมใช ้

ทองแดง ซึง่มคีณุสมบัตใินการน าไฟฟ้าไดด้พีอสมควรและราคาไมแ่พงมากนัก นอกจากนีย้ังยังมโีลหะชนดิอืน่ ๆ ทีส่ามารถน าไฟฟ้าได ้เชน่ ทองค า, ดบีกุ,เหล็ก, อลมูเินยีม, นเิกลิ ฯลฯ เป็นตน้

แสดงอปุกรณ์ทีน่ ามาใชต้อ่เป็นลวดตวัน า

Page 3: หน่วยที่ 2 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้นacademic.kus.ku.ac.th/ctech/e-book/F_2/pages/book.pdf · หน่วยที่ 2 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น

22

3. โหลดหรอืภาระทางไฟฟ้า คอือปุกรณ์ทางไฟฟ้าและอเิล็กทรอนกิส ์ทีน่ ามาตอ่ในวงจร เพือ่ใชง้าน เชน่

ตูเ้ย็น, โทรทัศน,์ พัดลม, เครือ่งปรับอากาศ, เตารดี, หลอดไฟ, ตัวตา้นทาน เป็นตน้

แสดงอปุกรณ์ทีน่ ามาตอ่เป็นโหลดทางไฟฟ้า

4. สวติช ์คอือปุกรณ์ทีใ่ชใ้นการปิดหรอืเปิดวงจร ในกรณีทีเ่ปิดวงจรก็จะท าใหไ้มม่กีระแสไฟฟ้าจา่ยใหก้ับโหลด

ในทางปฏบิัตกิารตอ่วงจรไฟฟ้า จะตอ้งตอ่สวติชเ์ขา้ไปในวงจรเพือ่ท าหนา้ทีต่ัดตอ่และควบคมุการไหลของกระแสไฟฟ้า

แสดงอปุกรณ์ทีใ่ชเ้ป็นสวติชใ์นวงจร

Page 4: หน่วยที่ 2 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้นacademic.kus.ku.ac.th/ctech/e-book/F_2/pages/book.pdf · หน่วยที่ 2 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น

23

5. ฟิวส ์คอือปุกรณ์ทีท่ าหนา้ทีใ่นการป้องกันไมใ่หว้งจรไฟฟ้าหรอือปุกรณ์ไดรั้บความเสยีหาย เนือ่งจากการ

ท างานผดิปกตขิองวงจร เชน่ โหลดเกนิ หรอื เกดิการลัดวงจร เมือ่เกดิการผดิปกตฟิิวสจ์ะท าหนา้ทีใ่นการเปิดวงจรทีเ่รยีกวา่ ฟิวสข์าดน่ันเอง

แสดงอปุกรณ์ทีใ่ชเ้ป็นฟิวสใ์นวงจร

วงจรอนกุรม

วงจรอนุกรมคอื การน าโหลดมาตอ่เรยีงกัน โดยใหป้ลายของโหลดตัวแรก ตอ่กับปลายของโหลดตัวถัดไป หรอือกีนัยหนึง่หมายถงึ การน าโหลดตัง้แตส่องตัวมาตอ่เรยีงกันไปแบบอันดับ ท าใหก้ระแสไหลทศิทางเดยีวกัน (ในหนังสอืเลม่นีจ้ะขอใชต้ัวตา้นทานแทนโหลดท่ัว ๆ ไป)

แสดงการตอ่โหลดแบบอนุกรม+

Page 5: หน่วยที่ 2 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้นacademic.kus.ku.ac.th/ctech/e-book/F_2/pages/book.pdf · หน่วยที่ 2 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น

24

การค านวณคา่ความตา้นทาน

Page 6: หน่วยที่ 2 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้นacademic.kus.ku.ac.th/ctech/e-book/F_2/pages/book.pdf · หน่วยที่ 2 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น

25

การวดัคา่ความตา้นทาน

1. น ามัลตมิเิตอรต์ัง้ยา่นวดัโอหม์ ในกรณีทีเ่ป็นมเิตอรแ์บบเข็มใหท้ าการปรับคา่ศนูย ์(Zero Ohm Adjust) กอ่นทีจ่ะด าเนนิการขัน้ตอนตอ่ไป

2. น าสายวดัของมัลตมิเิตอรเ์สน้ทีห่นึง่สมัผัสกับขาของตัวตา้นทานดา้นหนึง่ 3. น าสายวดัของมัลตมิเิตอรเ์สน้ทีส่องสมัผัสกับขาของตัวตา้นทานอกีดา้นหนึง่ 4. อา่นคา่ความตา้นทาน

Page 7: หน่วยที่ 2 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้นacademic.kus.ku.ac.th/ctech/e-book/F_2/pages/book.pdf · หน่วยที่ 2 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น

26

แสดงการวัดคา่ความตา้นทาน

การวดัคา่ความตา้นทานรวมของวงจร

1. น ามัลตมิเิตอรต์ัง้ยา่นวดัโอหม์ แลว้ท าการปรับคา่ศนูย ์(Zero Ohm Adjust) 2. น าสายวดัของมัลตมิเิตอรเ์สน้ทีห่นึง่สมัผัสกับขาของความตา้นทานตัวแรก 3. น าสายวดัของมัลตมิเิตอรเ์สน้ทีส่องสมัผัสกับขาของความตา้นทานตัวสดุทา้ย 4. อา่นคา่ความตา้นทาน

แสดงการวัดคา่ความตา้นทาน

Page 8: หน่วยที่ 2 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้นacademic.kus.ku.ac.th/ctech/e-book/F_2/pages/book.pdf · หน่วยที่ 2 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น

27

การวดัคา่แรงดนัตกครอ่ม

1. น ามัลตมิเิตอรต์ัง้ยา่นวดัแรงดันไฟตรง (DCV) ใหม้ากกวา่แหลง่จา่ย (E) 2. น าสายดา้นไฟบวกของมัลตมิเิตอร ์สมัผัสกับดา้นไฟบวกของตัวตา้นทาน R1 3. น าสายดา้นไฟลบของมัลตมิเิตอร ์สมัผัสกับดา้นไฟลบของตัวตา้นทาน R1 4. อา่นคา่แรงดันตกครอ่มความตา้นทาน R1 5. ท าขัน้ตอนที ่1-4 เพือ่วดัคา่แรงดันตกครอ่มตัวตา้นทาน R2 และ R3

แสดงการวัดคา่แรงดนัตกครอ่มตวัตา้นทานแตล่ะตวั

การวดัคา่กระแสไฟฟ้าในวงจรอนกุรม

1. น ามัลตมิเิตอรต์ัง้ยา่นวดักระแส (mA) ใหม้คีา่สงูไวก้อ่น 2. น าสายดา้นไฟบวกของมัลตมิเิตอรต์อ่อนุกรมเขา้กับดา้นไฟบวกของแหลง่จา่ยไฟ 3. น าสายดา้นไฟลบของมัลตมิเิตอรต์อ่อนุกรมเขา้กับดา้นไฟลบของแหลง่จา่ยไฟ 4. อา่นคา่กระแสทีไ่หลผา่นในวงจร

Page 9: หน่วยที่ 2 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้นacademic.kus.ku.ac.th/ctech/e-book/F_2/pages/book.pdf · หน่วยที่ 2 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น

28

แสดงการวัดคา่กระแสไฟฟ้าในวงจรอนุกรม

วงจรขนาน

วงจรขนานคอื การน าโหลดมาตอ่ขนานกันหรอืตอ่ครอ่มกัน ตัง้แตส่องตัวขึน้ไปโดยน าจดุตอ่ของปลายทัง้สองขา้งของโหลดแตล่ะตัวมาตอ่รว่มกัน (ในหนังสอืเลม่นีจ้ะขอใชต้ัวตา้นทานแทนโหลดท่ัว ๆ ไป)

แสดงการตอ่โหลดแบบขนาน

Page 10: หน่วยที่ 2 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้นacademic.kus.ku.ac.th/ctech/e-book/F_2/pages/book.pdf · หน่วยที่ 2 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น

29

การค านวณคา่ความตา้นทาน

แสดงการตอ่ตวัตา้นทานแบบขนาน

Page 11: หน่วยที่ 2 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้นacademic.kus.ku.ac.th/ctech/e-book/F_2/pages/book.pdf · หน่วยที่ 2 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น

30

Page 12: หน่วยที่ 2 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้นacademic.kus.ku.ac.th/ctech/e-book/F_2/pages/book.pdf · หน่วยที่ 2 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น

31

ในการคดิค านวณคา่ความตา้นทานทีต่อ่ขนานกัน 2 ตัว จะใชส้ตูรใดในการค านวณก็ได ้ผลรวมจะไดเ้ทา่กัน และถา้คา่ความตา้นทานมคีา่เทา่กันทัง้ 2 ตัว ค าตอบทีไ่ดจ้ะลดลงครึง่หนึง่

การวดัคา่แรงดนัตกครอ่มในวงจรขนาน

1. น ามัลตมิเิตอรต์ัง้ยา่นวดัแรงดันไฟตรง (DCV) ใหม้ากกวา่แหลง่จา่ย (E) 2. น าสายดา้นไฟบวกของมัลตมิเิตอร ์สมัผัสกับดา้นไฟบวกของตัวตา้นทาน R1 3. น าสายดา้นไฟลบของมัลตมิเิตอร ์สมัผัสกับดา้นไฟลบของตัวตา้นทาน R1 4. อา่นคา่แรงดันตกครอ่มความตา้นทาน R1 5. ท าขัน้ตอนที ่1-4 เพือ่วดัคา่แรงดันตกครอ่มตัวตา้นทาน R2 และ R3

Page 13: หน่วยที่ 2 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้นacademic.kus.ku.ac.th/ctech/e-book/F_2/pages/book.pdf · หน่วยที่ 2 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น

32

แสดงการตอ่ตวัตา้นทานแบบขนาน

การวดัคา่กระแสไฟฟ้าในวงจรขนาน

1. น ามัลตมิเิตอรต์ัง้ยา่นวดักระแส (mA) ใหม้คีา่สงูไวก้อ่น 2. น าสายดา้นไฟบวกของมัลตมิเิตอรต์อ่อนุกรมเขา้กับดา้นไฟบวกของแหลง่จา่ยไฟ 3. น าสายดา้นไฟลบของมัลตมิเิตอรต์อ่อนุกรมเขา้กับดา้นไฟลบของแหลง่จา่ยไฟ 4. อา่นคา่กระแสทีไ่หลผา่นในวงจร

แสดงการวัดคา่กระแสในวงจรขนาน

Page 14: หน่วยที่ 2 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้นacademic.kus.ku.ac.th/ctech/e-book/F_2/pages/book.pdf · หน่วยที่ 2 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น

33

วงจรผสม

วงจรผสมคอื การน าโหลดมาตอ่อนุกรมและขนานรว่มกันภายในวงจรเดยีวกัน (ในหนังสอืเลม่นีจ้ะขอใชต้ัวตา้นทาน แทนโหลดท่ัว ๆ ไป)

แสดงการตอ่แบบผสม

การค านวณคา่ความตา้นทาน

การค านวณคา่ความตา้นทานจะใชว้ธิพีจิารณาวงจร ในกรณีทีต่อ่แบบอนุกรมจะน าคา่ความตา้นทานมาบวกกัน ในกรณีทีว่งจรตอ่แบบขนาน จะใชส้ตูรขนานในการคดิค านวณ จากรปูที ่6.17 สามารถทีจ่ะค านวณคา่ความตา้นทานไดด้ังนี ้

Page 15: หน่วยที่ 2 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้นacademic.kus.ku.ac.th/ctech/e-book/F_2/pages/book.pdf · หน่วยที่ 2 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น

34

เขยีนวงจรใหมไ่ดด้งันี ้

เขยีนวงจรใหมไ่ดด้งันี ้

Page 16: หน่วยที่ 2 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้นacademic.kus.ku.ac.th/ctech/e-book/F_2/pages/book.pdf · หน่วยที่ 2 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น

35

Page 17: หน่วยที่ 2 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้นacademic.kus.ku.ac.th/ctech/e-book/F_2/pages/book.pdf · หน่วยที่ 2 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น

36

เขยีนวงจรใหมไ่ดด้งันี ้

Page 18: หน่วยที่ 2 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้นacademic.kus.ku.ac.th/ctech/e-book/F_2/pages/book.pdf · หน่วยที่ 2 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น

37

เขยีนวงจรใหมไ่ดด้ังนี ้

การวดัคา่แรงดนัตกครอ่มในวงจรผสม

1. น ามัลตมิเิตอรต์ัง้ยา่นวดัแรงดันไฟตรง (DCV) ใหม้ากกวา่แหลง่จา่ย (E) 2. น าสายดา้นไฟบวกของมัลตมิเิตอร ์สมัผัสกับดา้นไฟบวกของตัวตา้นทานทีจ่ะวดั 3. น าสายดา้นไฟลบของมัลตมิเิตอร ์สมัผัสกับดา้นไฟลบของตัวตา้นทานทีจ่ะวดั 4. อา่นคา่แรงดันตกครอ่มความตา้นทาน

การวดัคา่กระแสไฟฟ้าในวงจรผสม

1. น ามัลตมิเิตอรต์ัง้ยา่นวดักระแส (mA) ใหม้คีา่สงูไวก้อ่น 2. น าสายดา้นไฟบวกของมัลตมิเิตอรต์อ่อนุกรมเขา้กับดา้นไฟบวกของแหลง่จา่ยไฟ 3. น าสายดา้นไฟลบของมัลตมิเิตอรต์อ่อนุกรมเขา้กับดา้นไฟลบของแหลง่จา่ยไฟ 4. อา่นคา่กระแสทีไ่หลผา่นในวงจร