36
การจัดองค์ความรู้ในองค์กร (Knowledge Management : KM) องค์การบริหารส่วนตาบลท่าช้าง อาเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก

การจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM)thachang-nyk.go.th/UserFiles/File/041158/KM...LPA4.4.1.pdf · การจัดองค์ความรู้ในองค์กร(Knowledge

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • การจัดองคค์วามรู้ในองค์กร (Knowledge Management : KM)

    องค์การบริหารส่วนต าบลท่าช้าง อ าเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก

  • การจัดองค์ความรู้ในองค์กร(Knowledge Management)

    2

    ค าน า

    องค์การบริหารส่วนต าบลท่าช้าง ได้มีการจัดท าแผนจัดการองค์ความรู้ (Klnowledge Management : KM) โดยน าวิสัยทัศน์ พันธกิจและประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต าบลท่าช้าง มาก าหนดเป็นแนวทางในการจัดการองค์ความรู้ให้เหมาะสมกับองค์กร มีการจ าแนกความรู้ที่จ าเป็นต่อการผลักดันความส าเร็จในงานประจ าหรือยุทธศาสตร์ขององค์กร และก าหนดองค์ความรู้ที่จ าเป็นต่อการผลักดันความส าเร็จของงานสอดคล้องกับแผนการสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ ขององค์การบริหารส่วนต าบลท่าช้าง

    เพ่ือให้การปฏิบัติราชการขององค์การบริหารส่วนต าบลท่าช้าง อ าเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก เป็นไปตามหลักเกณฑ์และมีวิธีบริหารที่ดี จึงได้จัดการความรู้ (Knowledge Management) ซึ่งเป็นระบบการจัดการที่สามารถก าหนดขึ้นและสามารถน าไปปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยทางองค์กรได้จัดวางระบบการจัดการความรู้และแผนการด าเนินงานการจัดองค์ความรู้ รวบรวมมาไว้ ณ ที่นี ้ เพ่ือให้บุคลากรได้เข้าถึงองค์ความรู้ในด้านที่สนใจ และเป็นการก าหนดวิธีการกระจายความรู้จากผู้รู้สู่ผู้ที่สนใจ ต่อไป

    องค์การบริหารส่วนต าบลท่าช้าง อ าเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก

  • การจัดองค์ความรู้ในองค์กร(Knowledge Management)

    3

    สารบัญ

    เรื่อง หน้า

    1. ยุทธศาสตร์ขององค์การบริหารส่วนต าบลท่าช้าง 4 2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรบุคคลองค์การบริหารส่วนต าบลท่าช้าง 6 3. การจัดการความรู้ (Knowledge Management) 12 4. การจ าแนกความรู้ที่จ าเป็นต่อการผลักดันความส าเร็จขององค์กร 18 5. แนวทางการจัดการความรู้ 19 5. การติดตามและประเมินผล 35 6. ภาคผนวก 36

    ***********************

  • การจัดองค์ความรู้ในองค์กร(Knowledge Management)

    4

    วิสัยทัศน์

    “ท่าช้างเป็นชุมชนที่น่าอยู่ การเกษตรก้าวไกล พลานามัยสมบูรณ์ เป็นสังคมฐานความรู้ มุ่งสู่ประชาคมอาเซียน”

    - เป็นสังคมที่น่าอยู่ หมายถึง องค์การบริหารส่วนต าบลท่าช้าง มีเศรษฐกิจดี ประชาชนมีการกินดี อยู่ดี สาธารณูปโภคครบถ้วน สภาพแวดล้อมที่ดี ประชาชนมีคุณธรรมเป็นสังคมที่ปราศจากยาเสพติดมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน เป็นชุมชนที่เข้มแข็ง - การเกษตรก้าวไกล หมายถึง ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรและมีการเรียนรู้เทคโนโลยีสมัยใหม่ เพ่ือน ามาปรับปรุงผลผลิตของชุมชนให้มีคุณภาพ สามารถแข่งขันกับตลาดภายนอกได้ - พลานามัยสมบูรณ์ หมายถึง การที่ประชาชนในชุมชนนอกจากจะมีความเป็นอยู่ที่ดีแล้ว ประชาชนในชุมชนต้องมีสุขภาพดี ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บ - เป็นสังคมฐานความรู้ หมายถึง ประชาชนมีความสนใจในการเรียนรู้ สิ่งใหม่ๆ เพ่ือน าความรู้นั้นมาพัฒนาชุมชน พัฒนาตนเอง ให้เกิดประโยชน์ต่อส่วนรวมเป็นการเรียนรู้ทั้งในระบบและนอกระบบ - มุ่งสู่ประชาคมอาเซียน หมายถึง ประชาชนมีความเป็นอยู่ที่ดี สามารถประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจได้สะดวกมากขึ้น และประชาชนในอาเซียนมีความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันนอกจากนี้ ยังมีการเสริมสร้างความเชื่อโยงระหว่างกันในอาเซียน ใน 3 มิติ คือ ด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน ด้านกฎระเบียบ และความเชื่อมโยงระหว่างประชาชน

    พันธกิจ 1) ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีอาชีพ มีรายได้ มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปลอดภัยจากโรคภัยไข้เจ็บและยาเสพติด ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส ในสังคม ได้รับการดูแลเอาใจใส่และพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม 2) พัฒนาองค์การบริหารส่วนต าบลท่าช้าง ให้เป็นเมืองน่าอยู่ มีสภาพภูมิทัศน์ ที่สวยงาม มีความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยปราศจากมลภาวะ 3) องค์การบริหารส่วนต าบลท่าช้าง มีระบบการบริหารงานที่ มีประสิทธิภาพ โปร่งใส มีขีดความสามารถในการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อน ได้ตรงตามความต้องการของประชาชนภายใต้ระเบียบกฎหมายที่ก าหนด 4) พัฒนาด้านการศึกษาอย่างมีคุณภาพ เป็นสังคมแห่งภูมิปัญญาท้องถิ่น และเป็นการเรียนรู้ คิดเป็น ท าเป็นและสามารถแก้ไขปัญหาเป็น 5) จัดบริการขั้น พ้ืนฐานด้านสาธารณูปโภค สาธารณูปการ อย่ าง เ พียงพอและทั่ วถึ ง โดยควบคุมให้สอดคล้องกับระบบผังเมืองรวมและมีความพร้อมในการขยายตัวของชุมชนเมือง 6) พัฒนาชุมชนให้มีความเข้มแข็ง มีจิตส านึก มีศักยภาพในการร่วมคิด ร่วมท า ร่วมกันรับผิดชอบ สามารถแก้ไขปัญหาของชุมชนและพัฒนาชุมชนของตนเอง โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง 7) ประชาชน เจ้าหน้าที่ของรัฐ นักการเมือง ผู้น าท้องถิ่น ตระหนักถึงภาระหน้าที่ความรับผิดชอบในการปกครองระบอบประชาธิปไตย มีคุณภาพ คุณธรรม โปร่งใส และยุติธรรม ประชาชนมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น และมีส่วนร่วมในการเลือกตั้งทุกระดับ 8) บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมภายในองค์การบริหารส่วนต าบล ท่าช้าง

    ส่วนที่ 1 ยุทธศาสตร์องค์การบรหิารส่วนต าบลท่าช้าง

  • การจัดองค์ความรู้ในองค์กร(Knowledge Management)

    5

    โดยส่งเสริมให้ประชาชนมีความตระหนักและมีจิตส านึกที่ดีในการป้องกันและรักษาทรัพยากรธรรมชาติให้สวยงามอย่างยั่งยืน 9) การเตรียมความพร้อมเพ่ือรองรับการขยายตัวทางด้านการท่องเที่ยว การค้า และการบริการ เมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในปี พ.ศ. 2558

    ยุทธศาสตร์ ๑) ด้านเมืองน่าอยู่ 2) ด้านการพัฒนาการเกษตรก้าวหน้าแบบยั่งยืนโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

    3) ด้านการพัฒนาระบบการศึกษาและสังคมฐานความรู้ 4) ด้านการสังคมสงเคราะห์ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสทางสังคม 5) ด้านการมีสุขภาพอนามัยดี 6) ด้านการอนุรักษ์ส่งเสริมวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่น 7) ด้านการพัฒนาและสร้างโอกาสให้ชุมชน 8) ด้านการพัฒนาด้านพัฒนาประสิทธิภาพทางการเมือง การบริหารการจัดการและการพัฒนา บุคลากร

  • การจัดองค์ความรู้ในองค์กร(Knowledge Management)

    6

    การพัฒนาทรัพยากรบุคคลองค์การบริหารส่วนต าบลท่าช้าง ได้ก าหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายเชิงกลยุทธ์ และยุทธศาสตร์ในการพัฒนาก าลังคน เพ่ือเป็นกรอบแนวทางในการพัฒนาบุคลากรในความรับผิดชอบ ดังนี้

    วิสัยทัศน์ยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรบุคคล องค์การบริหารส่วนต าบลท่าช้าง “สร้างบุคลากรที่มีคุณภาพ ปฏิบัติงานด้วยความซื่อตรงเที่ยงธรรม ยึดมั่นธรรมาภิบาล” - สร้างบุคลากรที่มีคุณภาพ หมายถึง การเพ่ิมประสิทธิภาพด้านสมรรถนะ ทักษะ ความช านาญในการท างาน ตลอดจนปรับเปลี่ยนทัศนคติของบุคลากรทุกระดับให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและมุ่งไปสู่ความส าเร็จตามเป้าหมายขององค์กร - ปฏิบัติงานด้วยความซ่ือตรงเที่ยงธรรม หมายถึง การปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์ ไม่เอนเอียง ไม่คดโกง ไม่เลือกปฏิบัติต่อผู้รับบริการ - ยึดมั่นธรรมาภิบาล หมายถึง การปฏิบัติงานโดยยึดหลัก คุณธรรม นิติธรรม ความโปร่งใส การมีส่วนร่วม ความรับผิดชอบ และความคุ้มค่า มุ่งเน้นการบริการที่เป็นเลิศ พันธกิจ

    สร้างระบบการพัฒนาก าลังคนการจัดการความรู้ให้เป็นมาตรฐาน ส่งเสริมการงานแบบบูรณาการ ภายใต้หลักการมีส่วนร่วมเพ่ือสร้างทีมงานและเครือข่าย โดยเน้นการ

    มีสัมพันธภาพที่ดี ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการเรียนรู้บุคลากร อบต.ท่าช้างทุกส่วนราชการ/หน่วยงานอย่างเป็น

    ระบบต่อเนื่องและท่ัวถึง เสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการกับองค์กรต่างๆ ด าเนินการและพัฒนาการฝึกอบรม โดยการให้ความรู้ความเข้าใจทักษะและทัศนคติในกระบวนการ

    ท างาน ตลอดจนเสริมสร้างความเชื่อม่ันตนเอง และให้เกิดแก่บุคลการในสังกัดทุกหน่วยงาน

    เป้าหมายเชิงกลยุทธ์ บุคลากรองค์การบริหารส่วนต าบลท่าช้างสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมืออาชีพ (Knowledge

    Worker) สอดคล้องกับการพัฒนาระบบราชการ ระบบการพัฒนาก าลังคนองค์การบริหารส่วนต าบลท่าช้างมีมาตรฐานสามารถรองรับภารกิจการ

    พัฒนาบุคลากรของ อบต.ท่าช้าง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ วิชาการและระบบสารสรเทศการฝึกอบรมมีคุณภาพ ทันสมัย เหมาะสม และเพียงพอ กระบวนการเรียนรู้ของบุคลกรสังกัด อบต.ท่าช้าง มีความต่อเนื่อง สามารถสร้างองค์ความรู้และ

    เผยแพร่สาธารณะได้อย่างมีประสิทธิภาพ

    ส่วนที่ 2 ยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรบุคคลองค์การบริหารส่วนต าบลท่าช้าง

  • การจัดองค์ความรู้ในองค์กร(Knowledge Management)

    7

    การวิเคราะห์ทรัพยากรบุคคลเพื่อน าไปใช้ในการสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ การวิเคราะห์ทรัพยากรบุคคล ( HR Analysis) ใช้หลักการวิเคราะห์แบบ SWOT Analysis ซึ่งเป็น

    การวิเคราะห์แบบเดียวกับการวางแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนต าบลที่กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นก าหนดไว้ เพ่ือให้การอ่านผลการวิเคราะห์เป็นไปในทางเดียวกันและเข้าใจได้ง่าย ดังนี้ จุดแข็ง (Streng : S)

    1. บุคลากรมีความรู้ความสามารถในขอบเขตงานในต าแหน่งของตนเอง 2. บุคลากรมีการเข้าร่วมการฝึกอบรมเพ่ือพัฒนาความรู้ความสามารถในขอบเขตงานใน ต าแหน่งของตนเองอย่างต่อเนื่อง 3. มีการก าหนดแผนอัตราก าลังตามโครงสร้าง/การแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบในงาน และ การจัดโครงสร้างภายในที่เหมาะสมสอดคล้องกับภารกิจอย่างชัดเจน 4. บุคลากรส่วนมากมีประสบการณ์ในการท างาน 5. บุคลากรในองค์กรมีความต้องการในการพัฒนาตนเองอย่างสม่ าเสมอ

    จุดอ่อน (Weaknesses : W) ๑. การปฏิบัติงานภายในส่วนราชการและระหว่างภาคส่วนราชการยังขาดความเชื่อมโยง

    เกื้อหนุนซึ่งกันและกัน ๒. บุคลากรยังขาดความรู้ที่เป็นระบบและยังไม่สามารถประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมกับการ ปฏิบัติงาน

    ๓. บุคลากรมีความตระหนักในหน้าที่และความรับผิดชอบต่องานที่ปฏิบัติค่อนข้างน้อย ๔. บุคลากรขาดการสร้างสรรค์และการประยุกต์แนวคิดการปฏิบัติงานเพื่อให้เกิดนวัตกรรม ใหม่ๆท่ีสามารถน ามาใช้ในการปฏิบัติงานได้

    ๕. ท างานในลักษณะใช้ความคิดส่วนตัวเป็นหลัก 6. มีจ านวนบุคลากรไม่เพียงพอในการปฏิบัติงานท าให้บุคลากรต้องปฏิบัติงานหลายด้าน โอกาส (0pportunities : O)

    1. หน่วยงานมีการสนับสนุนให้บุคลากรเข้าร่วมรับการพัฒนาความรู้ ความสามารถอย่าง ต่อเนื่อง

    2. หน่วยงานมีการสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์รวมถึงเทคโนโลยีเพ่ือการปฏิบัติงานอย่าง สม่ าเสมอ

    3. มีการจัดสภาพแวดล้อมในการท างานเหมาะสมแก่การปฏิบัติงาน 4. หน่วยงานให้มีอิสระในการแสดงความคิดเห็น และเปิดโอกาสให้บุคลากร แสดง ความสามารถได้อย่างเต็มที

    อุปสรรค (Threats : T) ๑. บุคลากรยังขาดความรู้ความสามารถในการบูรณาการการปฏิบัติงานร่วมกัน ๒. กฎ ระเบียบในการปฏิบัติราชการบางเรื่องยังขาดความชัดเจน

    ๓. มีความก้าวหน้าในสายงานมีจ ากัด ๔. บุคลากรมีภาระต้องดูแลครอบครัว และต่อสู้ปัญหาเศรษฐกิจ ท าให้มีเวลาทบทวนองค์ ความรู้น้อยลง

    5. มีงานอ่ืนนอกเหนือจากงานประจ าค่อนข้างเยอะ

  • การจัดองค์ความรู้ในองค์กร(Knowledge Management)

    8

    ตารางการแสดงการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมขององค์กร (SWOT) ระดับบุคลากร

    นโยบายการเพิ่มประสิทธิภาพด้านทรัพยากรบุคคลขององค์การบริหารส่วนต าบลท่าช้าง

    1. ยกระดับขีดความสามารถบุคลากรองค์การบริหารส่วนต าบลท่าช้าง ให้มีทัศนคติ ความรู้ ทักษะ และความช านาญในการปฏิบัติงาน โดยค านึงถึงประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด 2. ปลูกฝังคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน เพ่ือให้บุคลากรองค์การบริหารส่วนต าบลท่าช้าง ให้สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยความโปร่งใส และต้องตรวจสอบได้ บนพื้นฐานของหลักธรรมาภิบาล

    จุดแข็ง(Strengths) 1. บุคลากรมีความรู้ความสามารถในขอบเขตงานในต าแหน่งของตนเอง 2. บุคลากรมีการเข้าร่วมการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถในขอบเขตงานในต าแหน่งของตนเองอย่างต่อเนื่อง 3. มีการก าหนดแผนอัตราก าลังตามโครงสร้าง/การแบ่งหน้าท่ีความรับผิดชอบในงาน และการจัดโครงสร้างภายในท่ีเหมาะสมสอดคล้องกับภารกิจอยา่งชัดเจน 4. บุคลากรส่วนมากมีประสบการณ์ในการท างาน 5. บุคลากรในองค์กรมีความต้องการในการพัฒนาตนเองอย่างสม่ าเสมอ

    จุดอ่อน(Weaknesses) ๑. การปฏิบตัิงานภายในส่วนราชการและระหว่างภาคส่วนราชการยังขาดความเช่ือมโยงเกื้อหนุนซึ่งกันและกัน ๒. บุคลากรยังขาดความรู้ที่เป็นระบบและยังไมส่ามารถประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมกับการปฏิบัติงาน ๓. บุคลากรมีความตระหนักในหน้าท่ีและความรับผดิชอบต่องานท่ีปฏิบัติค่อนข้างน้อย ๔. บุคลากรขาดการสร้างสรรค์และการประยุกต์แนวคิดการปฏิบัติงานเพื่อให้เกิดนวตักรรมใหม่ๆที่สามารถน ามาใช้ในการปฏิบัติงานได ้5. ท างานในลักษณะใช้ความคดิส่วนตัวเป็นหลัก 6. มีจ านวนบุคลากรไม่เพียงพอในการปฏิบัติงานท าให้บุคลากรต้องปฏิบัติงานหลายดา้น

    โอกาส(Opportunities) 1. หน่วยงานมีการสนับสนุนให้บคุลากรเข้าร่วมรับการพัฒนาความรู้ ความสามารถอย่างต่อเนื่อง 2. หน่วยงานมีการสนับสนุนวสัดอุุปกรณ์รวมถึงเทคโนโลยีเพื่อการปฏิบัติงานอยา่งสม่ าเสมอ 3. มีการจดัสภาพแวดล้อมในการท างานเหมาะสมแก่การปฏิบัติงาน 4. หน่วยงานให้มีอิสระในการแสดงความคิดเห็น และเปิดโอกาสให้บุคลากร แสดงความสามารถได้อย่างเตม็ที

    อุปสรรค(Threats) ๑. บุคลากรยังขาดความรู้ความสามารถในการบรูณาการการปฏิบัติงานร่วมกัน ๒. กฎ ระเบยีบในการปฏิบัติราชการบางเรื่องยังขาดความชัดเจน ๓. มีความก้าวหน้าในสายงานมจี ากัด ๔. บุคลากรมีภาระต้องดูแลครอบครัว และต่อสู้ปญัหาเศรษฐกิจ ท าให้มีเวลาทบทวนองค์ความรู้น้อยลง 5. มีงานอื่นนอกเหนือจากงานประจ าค่อนข้างเยอะ

  • การจัดองค์ความรู้ในองค์กร(Knowledge Management)

    9

    นโยบายปฏิบัติเพื่อผลผลิตหรือเพ่ิมประสิทธิภาพด้านทรัพยากรบุคคลขององค์การบริหารส่วนต าบลท่าช้าง

    1. ผลักดันการท างานเป็นทีมและการท างาน Cross Function ควบคู่กับการเร่งเสริมสร้างขีดความสามารถและพัฒนาศักยภาพของบุคลากรอย่าต่อเนื่องทั้งในเรื่องของหลักการ ระบบวิธีการ และความช านาญอ่ืน ๆ (Capacity Building) 2. จัดให้มีการเรียนรู้และถ่ายทอดองค์ความรู้ร่วมกันภายในองค์กร (จากผู้บริหารระดั บสูง สู่ระดับกลาง และสู่ระดับปฏิบัติการ) ซึ่งจะเป็นการสร้างฐานการท างานด้วยความรู้ขององค์การบริหารส่วนต าบลท่าช้างให้เข้มแข็งอย่างยั่งยืน 3. จัดอบรมเชิงสัมมนาและเชิงปฏิบัติการแก่บุคลากรขององค์การบริหารส่วนต าบลท่าช้าง เพ่ือยกระดับความช านาญในการปฏิบัติงาน รวมทั้งเชิญผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีความรู้และ ประสบการณ์ฯ เข้าร่วมสัมมนาเพ่ือแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ระหว่างบุคลากรภายในกับบุคลากรภายนอกขององค์กร อันจะน าไปสู่การปฏิบัติงานอย่างมืออาชีพและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน 4. จัดหาและติดตั้งระบบการเรียนรู้ด้วยตนเองเกี่ยวกับองค์ความรู้ในการบริหารโครงการทั้งจากภายในและภายนอกหน่วยงาน โดยติดตั้งผ่านระบบเครือข่ายอิเลคทรอนิกส์ที่ทันสมัยภายในองค์กรและสามารถสืบค้นได้ด้วยตนเอง 5. สร้างจิตส านึกให้พนักงานปฏิบัติงานตามหลักธรรมาภิบาล และสร้างความเข้าใจในการปฏิบัติงานตามแนวทาง “ประมวลจริยธรรมพนักงานส่วนต าบลองค์การบริหารส่วนต าบลท่าช้าง” นโยบายด้านการสร้างและพัฒนาระบบการบริหารจัดการองค์ความรู้ หรือองค์กรแห่งการเรียนรู้ 1. ส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจ ระบบการบริหารจัดการองค์ความรู้ (Leaning Organization) ให้เกิดขึ้นภายในองค์การบริการส่วนต าบลท่าช้าง 2. เสริมสร้างและพัฒนาระบบการบริหารจัดการองค์ความรู้ (Leaning Organization) ให้เกิดขึ้นภายในองค์การบริการส่วนต าบลท่าช้าง โครงสร้างการแบ่งส่วนราชการภายในและการจัดระบบงาน (ตามแผนอัตราก าลัง 3 ปี)

    เพ่ือรองรับภารกิจตามอ านาจหน้าที่ความรับผิดชอบให้สามารถแก้ปัญหาของต าบลท่าช้าง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และตอบสนองความต้องการของประชาชน ซึ่งองค์การบริหารส่วนต าบลท่าช้างเป็นองค์การบริหารส่วนต าบลขนาดกลาง มีโครงสร้างส่วนราชการ 4 ส่วน ประกอบด้วย 1. ส านักงานปลัด 2. กองคลัง 3. กองช่าง 4. กองการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม การก าหนดต าแหน่งในสายงานต่างๆ จ านวนต าแหน่ง และระดับต าแหน่ง ให้เหมาะสมกับภาระหน้าที่ความรับผิดชอบ ปริมาณงาน และคุณภาพของงาน รวมทั้งสร้างความก้าวหน้าในสายอาชีพของกลุ่มงานต่างๆ ประกอบด้วย

  • การจัดองค์ความรู้ในองค์กร(Knowledge Management)

    10

    1. ส านักงานปลัด อบต. - หัวหน้าส านักปลัด อ านวยการท้องถิ่น ต้น จ านวน 1 อัตรา - นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ช านาญการ จ านวน 1 อัตรา - นักพัฒนาชุมชน ช านาญการ จ านวน 1 อัตรา - นักทรัพยากรบุคคล ปฏิบัติการ จ านวน 1 อัตรา - เจ้าพนักงานธุรการ ปฏิบัติงาน จ านวน 1 อัตรา - นักวิเคราะห์นโยบายและแผน (ลูกจ้างประจ า) จ านวน 1 อัตรา - พนักงานจ้างตามภารกิจ จ านวน 4 อัตรา - พนักงานจ้างทั่วไป จ านวน 7 อัตรา สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต าบลท่าช้าง ด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1. ด้านเมืองน่าอยู่ 2. ด้านการพัฒนาการเกษตรก้าวหน้าแบบยั่งยืนโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3. ด้านการพัฒนาระบบการศึกษาและสังคมฐานความรู้ 4. ด้านสังคมสงเคราะห์ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสทางสังคม 5. ด้านการมีสุขภาพอนามัยที่ด ี 6. ด้านการอนุรักษ์และส่งเสริมวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่น 7. ด้านการพัฒนาและสร้างโอกาสในชุมชน 8. ด้านการพัฒนาประสิทธิภาพทางการเมือง การบริหารจัดการและการพัฒนาบุคลากร 2. กองคลัง - ผู้อ านวยการกองคลัง อ านวยการท้องถิ่น ต้น จ านวน 1 อัตรา - นักวิชาการพัสดุ ช านาญการ จ านวน 1 อัตรา - นักวิชาการเงินและบัญชี ปฏิบัติการ จ านวน 1 อัตรา - เจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้ ช านาญงาน จ านวน 1 อัตรา - พนักงานจ้างตามภารกิจ จ านวน 2 อัตรา - พนักงานจ้างทั่วไป จ านวน 2 อัตรา สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต าบลท่าช้าง ด้านต่าง ๆ ดังนี้

    1. ด้านสังคมสงเคราะห์ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสทางสังคม 2. ด้านการพัฒนาและสร้างโอกาสในชุมชน

    3. ด้านการพัฒนาประสิทธิภาพทางการเมือง การบริหารจัดการและการพัฒนาบุคลากร 3. กองช่าง

    - ผู้อ านวยการกองช่าง อ านวยการท้องถิ่น ต้น จ านวน 1 อัตรา - นายช่างโยธา (ปฏิบัติการ/ช านาญการ)(ว่าง) จ านวน 1 อัตรา - พนักงานจ้างตามภารกิจ จ านวน 3 อัตรา - พนักงานจ้างทั่วไป จ านวน 2 อัตรา สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต าบลท่าช้าง ด้าน ต่าง ๆ ดังนี้ 1. ด้านเมืองน่าอยู่ 2. ด้านการพัฒนาการเกษตรก้าวหน้าแบบยั่งยืนโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3. ด้านสังคมสงเคราะห์ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสทางสังคม 4. ด้านการพัฒนาและสร้างโอกาสในชุมชน

  • การจัดองค์ความรู้ในองค์กร(Knowledge Management)

    11

    ยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรบุคคล องค์การบริหารส่วนต าบลท่าช้าง

    5. ด้านการพัฒนาประสิทธิภาพทางการเมือง การบริหารจัดการและการพัฒนาบุคลากร 4. กองการศึกษา - ผู้อ านวยการกองการศึกษา อ านวยการท้องถิ่น ต้น จ านวน 1 อัตรา - นักวิชาการศึกษา ปฏิบัติการ จ านวน 1 อัตรา - ผู้อ านวยการสถานศึกษา จ านวน 1 อัตรา - คร ู จ านวน 1 อัตรา - ครูผู้ดูแลเด็ก จ านวน 3 อัตรา - พนักงานจ้างตามภารกิจ (ผู้ดูแลเด็ก) จ านวน 3 อัตรา - พนักงานจ้างทั่วไป จ านวน 1 อัตรา โดยสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต าบลท่าช้างด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1. ด้านเมืองน่าอยู่ 2. ด้านการพัฒนาการเกษตรก้าวหน้าแบบยั่งยืนโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3. ด้านการพัฒนาระบบการศึกษาและสังคมฐานความรู้ 4. ด้านสังคมสงเคราะห์ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสทางสังคม 5. ด้านการมีสุขภาพอนามัยที่ดี 6. ด้านการอนุรักษ์และส่งเสริมวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่น 7. ด้านการพัฒนาและสร้างโอกาสในชุมชน 8. ด้านการพัฒนาประสิทธิภาพทางการเมือง การบริหารจัดการและการพัฒนาบุคลากร

    ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างระบบการจัดการความรู้และการพัฒนาก าลังคน 1. แผนงานพัฒนาความรู้ในองค์กร 2. แผนงานการจัดท าระบบแผนและประสานการพัฒนาระบบราชการ หน่วยงานต่างๆในสังกัด อบต.ท่าช้าง 3. แผนงานด้านการบริหารงานบุคลากร 4. แผนงานพัฒนาศูนย์พัฒนาข้าราชการ ท่าช้าง 5. แผนงานพัฒนาบุคลากรโดยการศึกษาต่อ ฝึกอบรมทัศนศึกษาดูงาน ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยุทธศาสตร์ด้านการฝึกอบรม 1. แผนงานฝึกอบรมบุคลากรตามความจ าเป็น (หลักสูตรกลาง) 2 แผนงานฝึกอบรมบุคลากรในสังกัดหน่วยงานต่างๆ (หลักสูตรเฉพาะด้าน) ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ (learning Organization)

    1. แผนงานจัดการความรู้เพ่ือสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์และการพัฒนา ก าลังคน

    2. แผนงานสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนาก าลังคนเพ่ือสนับสนุน ประเด็นยุทธศาสตร์ อบต.

  • การจัดองค์ความรู้ในองค์กร(Knowledge Management)

    12

    การจ าแนกความรู้ที่จ าเป็นต่อการผลักดันความส าเร็จในงานประจ าหรือยุทธศาสตร์ขององค์กร

    การจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM)

    การจัดการความรู้ หรือ KM ซึ่งที่ย่อมาจากค าว่า “Knowledge Management” คือ การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในส่วนราชการซึ่งกระจัดกระจายอยู่ ในตัวบุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบ เพ่ือให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ น าความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานให้เกิดประสิทธิภาพอันจะส่งผลให้องค์กรมีความสามารถในเชิงแข่งขันสูงสุด (อ้างอิงจาก ส านักงาน ก.พ.ร.)

    KM ไม่ใช่เป้าหมาย แต่เป็นเครื่องมือ ที่จะช่วยให้มีการสร้าง รวบรวม จัดระบบ เผยแพร่ ถ่ายโอนความรู้ที่เป็นประโยชน์เพื่อให้สามารถน าไปประยุกต์ใช้ใน สถานการณ์ต่างๆ ได้ทันเวลา และทันเหตุการณ์ จะส่งผลให้การปฏิบัติงานของคนในองค์กรมีคุณภาพ และมีประสิทธิภาพเพ่ิมมากขึ้น ซึ่งจะท าให้องค์กรบรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ พันธกิจขององค์กร และเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization )

    การจัดการความรู้ (อังกฤษ: Knowledge management - KM) คือ การรวบรวม สร้าง จัดระเบียบ แลกเปลี่ยน และประยุกต์ใช้ความรู้ในองค์กร โดยพัฒนาระบบจาก ข้อมูล ไปสู่ สารสนเทศ เพ่ือให้เกิด ความรู้ และ ปัญญา ในที่สุด (ท่ีมา : https://thiwikepedia.org/wiki/การจัดการความรู้)

    การจัดการความรู้ประกอบไปด้วยชุดของการปฏิบัติงานที่ถูกใช้โดยองค์กรต่างๆ เพ่ือที่จะระบุ สร้าง แสดงและกระจายความรู้ เพ่ือประโยชน์ในการน าไปใช้และการเรียนรู้ภายในองค์กร อันน าไปสู่การจัดการสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งเป็นสิ่งที่จ าเป็นส าหรับการด าเนินการธุรกิจที่ดี องค์กรขนาดใหญ่โดยส่วนมากจะมีการจัดสรรทรัพยากรส าหรับการจัดการองค์ความรู้ โดยมักจะเป็นส่วนหนึ่งของแผนกเทคโนโลยีสารสนเทศหรือแผนกการจัดการทรัพยากรมนุษย์ (ท่ีมา : https://thiwikepedia.org/wiki/การจัดการความรู้)

    การถ่ายทอดความรู้ อันเป็นส่วนประกอบของการจัดการองค์ความรู้ ถูกประพฤติปฏิบัติกันมานานแล้ว ตัวอย่างรูปแบบการถ่ายทอดความรู้ เช่น การอภิปรายของเพ่ือนร่วมงานในระหว่างการปฏิบัติงาน, การอบรมพนักงานใหม่อย่างเป็นทางการ, ห้องสมุดขององค์กร, โปรแกรมการฝึกสอนทางอาชีพและการเป็นพี่เลี้ยง ซึ่งรูปแบบการถ่ายทอดความรู้มีการพัฒนารูปแบบโดยอาศัยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ที่กระจายอย่างกว้างขวางในศตวรรษท่ี 20 ก่อให้เกิดเทคโนโลยีฐานความรู้, ระบบผู้เชี่ยวชาญและคลังความรู้ ซึ่งท าให้กระบวนการถ่ายทอดความรู้ง่ายมากขึ้น (ท่ีมา : https://thiwikepedia.org/wiki/การจัดการความรู้)

    การจัดการความรู้ คือ การรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์กรมาใช้ซ้ า ต่อยอด เพ่ือให้เกิดประโยชน์สูงสูดต่อองค์กร โดยผ่านกระบวนการต่างๆ เช่น การสร้าง รวบรวม แลกเปลี่ยน เป็นต้น

    ส่วนที่ 3 การจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM)

    องค์การบริหารส่วนต าบลท่าช้าง

    https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A4%E0%B8%A9https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%8D%E0%B8%B2

  • การจัดองค์ความรู้ในองค์กร(Knowledge Management)

    13

    ความหมายของความรู้

    ความรู้ คือ สิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษา เล่าเรียน การค้นคว้า หรือประสบการณ์ รวมทั้งความสามารถเชิงปฏิบัติและทักษะความเข้าใจ หรือ สารสนเทศที่ได้รับมาจากประสบการณ์ สิ่งที่ได้รับมาจากการได้ยิน ได้ฟัง การคิด หรือ การปฏิบัติ องค์วิชาในแต่ละสาขา (ที่มา : พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน)

    รูปแบบของความรู้มี 2 ประเภท คือ

    1. ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่สามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีการต่าง ๆ เช่น การบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ทฤษฎี คู่มือต่าง ๆ เอกสาร กฏระเบียบ วิธีการปฏิบัติงาน สื่อต่างๆ เช่น VCD DVD Internet เทป เป็นต้น และบางครั้งเรียกว่า ความรู้แบบรูปธรรม

    2. ความรู้ที่ฝังอยู่ในตัวคน (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ พรสวรรค์หรือสัญชาตญาณของแต่ละบุคคลในการท าความเข้าใจในสิ่งต่า ง ๆ เป็นความรู้ที่ไม่สามารถถ่ายทอดออกมาเป็นค าพูด หรือลายลักษณ์อักษรได้โดยง่าย เช่น ทักษะในการท างาน งานฝีมือ ประสบการณ์ แนวความคิด บางครั้งจึงเรียกว่า ความรู้แบบนามธรรม

    แนวคิดเรื่องกระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process)

    เป็นกระบวนการแบบหนึ่งที่จะช่วยให้องค์กรเข้าใจถึงขั้นตอนที่ท า ให้เกิดกระบวนการจัดการความรู้ หรือพัฒนาการของความรู้ที่จะเกิดขึ้นในองค์กร ประกอบด้วย 7 ขั้นตอน ดังนี้

    (1) การบ่งชี้ความรู้ คือ การค้นหาและระบุให้ได้ว่า การที่องค์กรจะบรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ พันธกิจ ขององค์กร และ คนในองค์กรจ าเป็นต้องรู้อะไรบ้าง ขณะนี้มีความรู้อะไรบ้าง อยู่ในรูปแบบใด เช่น อยู่ในเอกสาร ฐานความรู้ หนังสือเวียน หรือในตัวบุคคล และอยู่ที่ใครบ้าง เป็นต้น

    (2) การสร้างและแสวงหาความรู้ โดยการสร้างความรู้ใหม่ที่จ าเป็นต่อองค์กร การแสวงหาความรู้จากภายนอกองค์กร ( องค์กรที่มีความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับความรู้ที่ต้องการเป็นพิเศษ) การรกัษาความรู้เก่าท่ีมีอยู่และยังเป็นประโยชน์ต่อองค์กร ตลอดจนการก าจัดความรู้ที่ใช้ไม่ได้แล้ว เป็นต้น

    (3) การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ คือ การวางโครงสร้างความรู้ในองค์กรเพ่ือเตรียมพร้อมส าหรับการเก็บความรู้อย่างเป็นระบบในอนาคต

    (4) การประมวลและกลั่นกรองความรู้ คือ การปรับปรุงเอกสาร โปรแกรมการจัดเก็บเอกสารให้เป็นมาตรฐาน โดยใช้รูปแบบและเนื้อหาเดียวกัน และปรับปรุงเนื้อหาให้สมบูรณ์ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการน าความรู้ไปใช้ได้อย่างสะดวกรวดเร็วมากขึ้น

    (5) การเข้าถึงความรู้ คือ การก าหนดรูปแบบและวิธีการที่จะท าให้คนในองค์กร สามารถเข้าถึงความรู้ได้ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การฝึกอบรม การท าหนังสือเวียน การจัดท า Website Web Board เป็นต้น

  • การจัดองค์ความรู้ในองค์กร(Knowledge Management)

    14

    (6) การแบ่งปันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ คือ การที่คนในองค์กรน าความรู้ที่มีอยู่มาแลกเปลี่ยนกัน ทั้งในรูปแบบที่จับต้องได้ เช่น เอกสาร ฐานความรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศ Intranet หรือในรูปแบบที่ไม่สามารถจับต้องได้ เช่น การจัดทีมข้ามสายงาน การจัดกิจกรรมกลุ่มคุณภาพและนวัตกรรม การจัดชุมชนแห่งการเรียนรู้ การใช้ระบบพ่ีเลี้ยงเพ่ือสอนงาน การสับเปลี่ยนสายงาน การยืมตัว และการจัดเวทีความคิดเห็น เป็นต้น

    (7) การเรียนรู้ คือ การที่คนในองค์กรน าองค์ความรู้ที่ได้รับมาในรูปแบบและวิธีการต่าง ๆ ไปใช้ในการปฏิบัติงาน โดยมีการเรียนรู้และสร้างนวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง ท าให้เกิดการเรียนรู้และประสบการณ์ใหม่ ๆ และน าไปสู่การสร้างองค์ความรู้ใหม่ในองค์กร

    แนวคิดเรื่องกระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change Management Process) เป็นกรอบแนวคิดแบบหนึ่งเพ่ือให้องค์กรที่ต้องการจัดการความรู้ภายในองค์กร ได้มุ่งเน้นถึงปัจจัย

    แวดล้อมภายในองค์กร ที่จะมีผลกระทบต่อการจัดการความรู้ ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ ดังนี้

    1. การเตรียมความพร้อมและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพ่ือแก้ไขปัญหาและอุปสรรคในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคนในองค์กร คือ การเน้นให้ผู้บริหารเป็นแบบอย่างที่ดีในการจัดการความรู้ การแก้ไขกฎระเบียบให้มีความยืดหยุ่น การสร้างบรรยากาศท่ีเปิดกว้างให้โอกาสพนักงานแสดงความคิดเห็น และการส่งเสริมการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ เช่น การประกาศนโยบายการจัดการความรู้ให้ทุกคนทราบ เป็นต้น

    2. การสื่อสาร เพ่ือท าให้ทุกคนในองค์กรอยากให้ความร่วมมือในการจัดการความรู้ในองค์กร โดยการเน้นทุกคนเข้าใจถึงสิ่งที่องค์กรจะท า ประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นกับทุกคน และแต่ละคนจะมีส่วนร่วมได้อย่างไร ผ่านช่องทางการสื่อสารในรูปแบบต่าง เช่น จดหมายเวียน E-Mail Intranet เป็นต้น

    3. กระบวนการและเครื่องมือ เพ่ือท าให้เกิดการเชื่อมโยงข้อมูลความรู้ในองค์กร และสามารถเข้าถึง ค้นหาและแลกเปลี่ยนข้อมูลได้ง่าย สะดวก รวดเร็วมากขึ้น โดยเน้นการพิจารณาความเหมาะสมกับชนิดของความรู้ ลักษณะขนาดสถานที่ตั้งองค์กร ลักษณะการท างาน วัฒนธรรมองค์กร และทรัพยากรที่มีอยู่ เช่น หากเป็นความรู้ที่เป็นเอกสาร จับต้องได้ อาจใช้หนังสือเวียน หรือเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นเครื่องมือในการเข้าถึงความรู้ แต่ถ้าหากเป็นความรู้ที่ต้องใช้ประสบการณ์ หรือใช้ประสาทสัมผัส อาจใช้การสอนงานระหว่างท างาน หรือประสบการณ์โดยตรงเป็นเครื่องมือในการเข้าถึงความรู้ เป็นต้น

    4. การฝึกอบรมและการเรียนรู้ เพ่ือสร้างความเข้าใจและตระหนักถึงความส าคัญและหลักการของการ จัดการความรู้ โดยค านึงถึงความสอดคล้องเกี่ยวกับการก าหนดเนื้อหา กลุ่มเป้าหมาย วิธีการ และการประเมินผลและการปรับปรุงการฝึกอบรม / การเรียนรู้ ซึ่งตัวอย่างหลักสูตร ได้แก่ KM Implementation ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (COP) การปรับเปลี่ยนวัฒนธรรม การใช้ IT เป็นต้น

    5. การวัดผล เพ่ือให้ทราบว่าการด าเนินการได้บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้หรือไม่ และน าผลของการวัดมาปรับปรุงแผนและการด าเนินการให้ดีขึ้น ตลอดจนน าผลการวัดมาใช้ในการสื่อสารกับบุคลากรในทุกระดับให้เห็น ประโยชน์ของการจัดการความรู้

    6

  • การจัดองค์ความรู้ในองค์กร(Knowledge Management)

    15

    6. การยกย่องชมเชยและให้รางวัล เพ่ือสร้างแรงจูงใจให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการมีส่วนรวมของบุคลากรทุกระดับ โดยพิจารณาถึงความสอดคล้องด้านความต้องการของบุคลากร แรงจูงใจระยะสั้นและระยะยาว การบูรณาการกับระบบที่มีอยู่ การปรับเปลี่ยนให้เข้ากับกิจกรรมที่ท าในแต่ละช่วงเวลา

    ก่อนที่จะมีจัดการความรู้ หรือท า KM จะต้องมีการก าหนดขอบเขต และเป้าหมาย KM ก่อน ซึ่ง ขอบเขต KM เป็นหัวเรื่องกว้าง ๆ ของความรู้ที่จ าเป็นและสอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ตาม แผนบริหารราชการแผ่นดิน ซึ่งต้องการจะน ามาก าหนดเป้าหมาย KM ซึ่งแต่ละองค์กรสามารถใช้แนวทางในการก าหนดขอบเขตและเป้าหมาย KM เพ่ือจัดท าแผนการจัดการความรู้ขององค์กร ได้ 4 แนวทาง คือ

    แนวทางท่ี 1 เป็นความรู้ที่จ าเป็นและสนับสนุนวิสัยทัศน์ พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ขององค์กร แนวทางท่ี 2 เป็นความรู้ที่ส าคัญต่อองค์กร เช่น ความรู้เกี่ยวกับลูกค้า ประสบการณ์ความรู้ที่สั่งสมมา แนวทางท่ี 3 เป็นปัญหาที่องค์กรประสบอยู่ และสามารถน า KM มาช่วยได ้ แนวทางท่ี 4 เป็นแนวทางผสมกันระหว่างแนวทางท่ี 1 , 2 หรือ 3 หรือจะเป็นแนวทางอ่ืนที่องค์กร เห็นว่าเหมาะสม

    แนวทางการตัดสินใจเลือกขอบเขต KM การตัดสินใจเลือกขอบเขต KM อาจใช้แนวทางต่อไปนี้ มาช่วยในการตัดสินใจว่า ขอบเขต KM ใดที่องค์กรจะคัดเลือกมาจัดท าแผนการจัดการความรู้ขององค์กร เช่น ความสอดคล้องกับทิศทางและประเด็นยุทธศาสตร์ในระดับของหน่วยงานตนเอง ท าให้เกิดการปรับปรุงที่เห็นได้ชัดเจน หรือเป็นรูปธรรม มีโอกาสท าได้ส าเร็จสูง (โดยพิจารณาจากความพร้อมด้านคน งบประมาณ เทคโนโลยี วัฒนธรรม

    องค์กร ระยะเวลาด าเนินงาน ฯลฯ) เป็นเรื่องท่ีต้องท า คนส่วนใหญ่ในองค์กรต้องการให้ท า เป็นเรื่องที่ผู้บริหารให้การสนับสนุน เป็นความรู้ที่ต้องน ามาจัดการอย่างเร่งด่วน แนวทางอ่ืน ๆ ที่องค์กรเห็นว่าเหมาะสม

    ขอบเขต KM ขององค์การบริหารส่วนต าบลท่าช้าง กรอบการประเมินด้านการจัดการความรู้ ซึ่งจะมีความเกี่ยวข้องและเชื่อมโยงกับพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๑๑ ก าหนดให้ส่วนราชการ มีหน้าที่พัฒนาความรู้ในองค์กร เพ่ือให้มีลักษณะเป็นองค์กร แห่งการเรียนรู้อย่างสม่ าเสมอ โดยต้องรับรู้ข้อมูลข่าวสารและสามารถประมวลความรู้ในด้านต่างๆ เพ่ือน ามาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติราชการได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว เหมาะสมกับสถานการณ์ รวมทั้งต้องส่งเสริมและพัฒนา ความรู้ความสามารถ สร้างวิสัยทัศน์ และปรับเปลี่ยนทัศนคติของข้าราชการในสังกัดให้เป็นบุคลากรที่มีประสิทธิภาพ และมีการเรียนรู้ร่วมกัน ทั้งนี้เพ่ือประโยชน์ในการปฏิบัติ ราชการของส่วนราชการให้สอดคล้องกับการบริหารราชการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามพระราชกฤษฎีกา

  • การจัดองค์ความรู้ในองค์กร(Knowledge Management)

    16

    ขอบเขต KM ที่สนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ทั้งหมด ประกอบด้วย ๑) ส่งเสริมการน ากระบวนการจัดการความรู้มาใช้พัฒนางานที่ปฏิบัติ ๒) ส่งเสริมการน ากระบวนการจัดการความรู้มาใช้พัฒนาศักยภาพบุคลากร

    3) สร้างบรรยากาศภายในองค์กรให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้

    เป้าหมาย KM (Desired State) ขององค์การบริหารส่วนต าบลท่าช้าง เป้าหมาย KM ที่สอดรับกับขอบเขต KM ที่จะเลือกด าเนินการประกอบด้วย 1) สนับสนุนการจัดท าคู่มือปฏิบัติงาน หรือการสร้าง รวบรวม แลกเปลี่ยนและถ่ายทอดความรู้เพื่อ

    ประโยชน์ต่อการน ามาใช้ซ้ า ต่อยอด หรือเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน 2) การสนับสนุนส่งเสริมให้บุคลากรในสังกัด อบต.ท่าช้าง ได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านต่างๆ มีส่วนร่วมในการด าเนินงาน/กิจกรรมของ อบต.อย่างเข้มแข็งและต่อเนื่อง และมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนองค์กรความรู้แก่เพ่ือนร่วมงาน ๓) องค์การบริหารส่วนต าบลท่าช้างเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ส่งเสริมการยึดหลักคุณธรรมจริยธรรม และการสร้างขวัญและก าลังใจแก่ผู้ปฏิบัติงาน

    ปัจจัยแห่งความส าเร็จ (Key Success Factor) ปัจจัยแห่งความส าเร็จ (Key Success Factor) เพ่ือให้ด าเนินการจัดการความรู้ตามเป้าหมาย KM ที่เลือกท า สามารถน าไปปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรมภายในองค์กร คือ ๑) ผู้บริหารให้ความส าคัญ และส่งเสริมให้บุคลากรได้รับการพัฒนาศักยภาพ ความรู้ ความสามารถสนับสนุนให้บุคลากรได้เข้าร่วมกิจกรรม ๒) บุคลากรที่เกี่ยวข้องให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี และรู้จักรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเอง ๓) คณะกรรมการจัดการความรู้มีความรู้ ความเข้าใจ และมุ่งม่ันในการด าเนินงานอย่างประสิทธิภาพ เพ่ือให้บรรลุเป้าหมาย ๔) มีระบบการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้อย่างเนื่องและเป็นรูปธรรม

    แนวทางการจัดการความรู้องค์การบริหารส่วนต าบลท่าช้าง ๑) การก าหนดความรู้หลักท่ีจ าเป็นหรือส าคัญต่องานหรือกิจกรรมของกลุ่มหรือองค์กร ๒) การเสาะหาความรู้ที่ต้องการ และจ าเป็นต่อการผลักดันยุทธศาสตร์ขององค์กร ๓) การสร้าง ปรับปรุง พัฒนา รวบรวม และแลกเปลี่ยนความรู้ ให้เหมาะต่อการใช้งาน ๔) การประยุกต์ใช้ความรู้ให้เหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบ ๕) การน าประสบการณ์จาการท างาน และประยุกต์ใช้ความรู้มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และบันทึกไว้ ๖) การจดบันทึก “ขุมความรู้” และ “แก่นความรู้” ส าหรับไว้ใช้งาน และปรับปรุงเป็นชุดความรู้ที ่ ครบถ้วน เชื่อมโยงมากขึ้น เหมาะต่อการใช้งานมากยิ่งขึ้น

    8

  • การจัดองค์ความรู้ในองค์กร(Knowledge Management)

    17

    โดยที่การด าเนินการ ๖ ประการนี้บูรณาการเป็นเนื้อเดียวกัน ความรู้ที่เกี่ยวข้องเป็นทั้งความรู้ที่ชัดแจ้ง อยู่ในรูปของตัวหนังสือหรือรหัสอย่างอ่ืนที่เข้าใจได้ทั่วไป (Explicit Knowledge) และความรู้ฝังลึกอยู่ในสมอง (Tacit Knowledge) ที่อยู่ในคน ทั้งที่ในคน ทั้งที่อยู่ในใจ (ความเชื่อ ค่านิยม) อยู่ในสมอง (เหตุผล) และอยู่ในมือ และส่วนอ่ืนๆของร่างกาย (ทักษะในการปฏิบัติ) การจัดการความรู้เป็นกิจกรรมที่คนจ านวนหนึ่งท าร่วมกันไม่ใช่กิจกรรมที่ท าได้โดย คนคนเดียว เนื่องจากเชื่อว่า “จัดการความรู้” จึงมีคนเข้าใจผิด เริ่มด าเนินการโดยรี่เข้าไปที่ความรู้ คือ เริ่มที่ความรู้ นี่คือความผิดพลาดที่พบบ่อยมาก การจัดการความรู้ที่ถูกต้องจะต้องเริ่มที่งานหรือเป้าหมายของงาน เป้าหมายของงานที่ส าคัญ คือ การบรรลุผลสัมฤทธิ์ออกเป็น ๔ ส่วน คือ ๑) การสนองตอบ (Responsiveness) ซึ่งรวมทั้งการสนองตอบความต้องการของลูกค้าสนองตอบความต้องการของเจ้าของกิจการหรือผู้ถือหุ้น สนองตอบความต้องการของพนักงานของพนักงาน และสนองตอบความต้องการของสังคมส่วนรวม ๒) การมีนวัตกรรม(Innovation) ทั้งท่ีเป็นนวัตกรรมในการท างาน และนวัตกรรมด้านผลิตภัณฑ์หรือบริการ ๓) ขีดความสามรถ (Competency) ขององค์กร และของบุคลากรที่พัฒนาขึ้น ซึ่งสะท้อนสภาพการเรียนรู้ขององค์กร ๔) ประสิทธิภาพ (Efficiency) ซึ่งหมายถึงสัดส่วนระหว่างผลลัพธ์ กับต้นทุนที่ลงไป การท างานที่ประสิทธิภาพสูง หมายถึง การท างานที่ลงทุนลงแรงน้อย แต่ได้ผลมากหรือคุณภาพสูง เป้าหมายสุดท้ายของการจัดการความรู้ คือ การที่กลุ่มคนที่ด าเนินการจัดการความรู้ร่วมกัน มีชุดความรู้ของตนเอง ที่ร่วมกันสร้างเพียงบางส่วน เป็นการสร้างผ่านการทดลองเอาความรู้จากภายนอกมาปรับปรุงให้เหมาะต่อสภาพของ ตน และทดลองใช้งาน จัดการความรู้ไม่ใช่กิจกรรมที่ด าเนินการเฉพาะหรือ เกี่ยวกับเรื่องความรู้ แต่เป็นกิจกรรมที่แทรก/แฝง หรือในภาษาวิชาการเรียกว่า บูรณาการอยู่กับทุกกิจกรรมของการท างาน และที่ส าคัญตัวการจัดการความรู้เองก็ต้องการการจัดการด้วย เป้าหมายการจัดการความรู้เพื่อพัฒนา งาน พัฒนางาน คน พัฒนาคน องค์กร เป็นองค์กรการเรียนรู้

    องค์ประกอบส าคัญของการจัดการความรู้ (Knowledge Process) ๑. “คน” ถือว่าเป็นองค์ประกอบที่ส าคัญท่ีสุดเพราะเป็นแหล่งเรียนรู้ และเป็นผู้น าความรู้ไปใช้ให้

    เกิดประโยชน์ ๒. “เทคโนโลยี” เป็นเครื่องมือเพื่อให้คนสามารถค้นหา จัดเก็บ แลกเปลี่ยน รวมทั้งน าความรู้ไป

    ใช้อย่างง่าย และรวดเร็วขึ้น ๓. “กระบวนการความรู้” นั้นเป็นการบริหารจัดการ เพ่ือน าความรู้จากแหล่งความรู้ไปให้ผู้ใช้

    เพ่ือท าให้เกิดการปรับปรุงและนวัตกรรม องค์ประกอบทั้ง ๓ ส่วนนี้ จะต้องเชื่อมโยงและบูรณาการอย่างสมดุล การจัดการความรู้ของกรมการปกครอง จากพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.๒๕๔๖

  • การจัดองค์ความรู้ในองค์กร(Knowledge Management)

    18

    ความรู้ในด้านการบริหารงานของหน่วยงาน แยกเป็น

    1. ด้านยุทธศาสตร์หรือนโยบายการพัฒนาขององค์กร องค์ความรู้ที่จ าเป็น ได้แก่ ผู้บริหาร (นายกอบต.) ซึ่งมาจากการเลือกตั้งของประชาชนเป็นผู้ก าหนดนโยบาย ตามท่ีได้แถลงไว้ต่อส�