12
วิธีการและมาตรการในการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นตอ สังคมอันเปนผลมาจากการดําเนินการของจังหวัดลําปาง ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2555

วิธีการและมาตรการในการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นต อ ...lampang.go.th/stragegic/2555/pmqa/1aug.pdf ·

  • Upload
    others

  • View
    9

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: วิธีการและมาตรการในการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นต อ ...lampang.go.th/stragegic/2555/pmqa/1aug.pdf ·

วิธีการและมาตรการในการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นตอสังคมอันเปนผลมาจากการดําเนินการของจังหวัดลําปาง

ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2555

Page 2: วิธีการและมาตรการในการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นต อ ...lampang.go.th/stragegic/2555/pmqa/1aug.pdf ·

ประกาศจังหวัดลําปาง เรื่อง วิธีการและมาตรการในการจัดการผลกระทบทางลบทีเ่กิดขึ้นตอสงัคม อันเปนผลมาจากการดําเนินการ

ของจังหวัดลําปาง **************************

พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑ และวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๘ (๓) ระบุวากอนเริ่มดําเนินการจังหวัดตองจัดใหมีการวิเคราะหผลดี ผลเสีย ใหครบทุกดานกําหนดขั้นตอนการดําเนินงานที่โปรงใส มีกลไกตรวจสอบการดําเนินการในแตละขั้นตอนในกรณีใดที่มีผลกระทบตอประชาชน จังหวัดลําปางตองดําเนินการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน และชี้แจงทําความเขาใจ เพื่อใหประชาชนไดตระหนักถึงประโยชนที่สวนรวมจะไดรับจากภารกิจนั้น การกําหนดวิธีการหรือมาตรการในการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นตอสังคมอันเปนผลมาจากการดําเนินการของจังหวัด เปนสวนหนึ่งของการดําเนินการภายใตตัวชี้วัดระดับความสําเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) หมวด ๑ ดานการนําองคกร ในประเด็น LD๗ ซึ่งจังหวัด/ผูบริหารตองกําหนดใหมีวิธีการหรือมาตรการในการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นตอสังคม ดังนั้นเพื่อใหการกําหนดวิธีการ และมาตรการปองกันผลกระทบทางลบฯ ของจังหวัดลําปางเปนไปตามพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑ และวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๘ (๓) และแนวทางการดําเนินการตามเกณฑคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) ที่สํานักงาน ก.พ.ร. กําหนด จังหวัดลําปางจึงไดกําหนดมาตรการ และวิธีการปองกันผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นตอสังคมในการปฏิบัติราชการของสวนราชการในจังหวัดลําปางขึ้น โดยมุงมั่นใหการปฏิบัติงาน เกิดความโปรงใสเปนไปตามหลักธรรมาภิบาลดวยการมีสวนรวมของทุกภาคสวน

จึงประกาศใหทราบโดยทั่วกัน

ประกาศ ณ วันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕5

Page 3: วิธีการและมาตรการในการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นต อ ...lampang.go.th/stragegic/2555/pmqa/1aug.pdf ·

[1]

วิธีการและมาตรการในการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นตอสังคม อันเปนผลมาจากการดาํเนินการของจังหวัดลําปาง

ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2555

****************

มาตรการและวิธีการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นตอสังคมอันเปนผลมาจาการดําเนินการของจังหวัดลําปาง ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2555 ฉบับนี้ จัดทําขึ้นเพื่อใชประกอบการดําเนินงานภายใตตัวชี้วัด “ระดับความสําเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ” (PMQA) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2555 ในประเด็น LD 7 จังหวัด / ผูบริหารตองกําหนดใหมีวิธีการหรือมาตรการในการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดข้ึนตอสังคมอันเปนผลมาจากการดําเนินการของจังหวัด โดยจังหวัดใหสวนราชการบริหารสวนภูมิภาคเสนอโครงการ/แผนงาน มาตรการและวิธีปองกันผลกระทบทางลบฯ ใหจังหวัด ซึ่งจังหวัดไดคัดเลือกแผนงานดังกลาวเพื่อนํามาประกอบการประเมินผลการดําเนินงานใหผานเกณฑคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน ตามที่สํานักงาน ก.พ.ร. กําหนด มาตรการและวิธีการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นตอสังคมอันเปนผลมาจาการดําเนินการของจังหวัดลําปาง ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2555 ฉบับนี้ จะไดรับการพิจารณาทบทวน และปรับปรุงเปนประจําอยางนอยปละ 1 ครั้ง เพื่อใหมีความเหมาะสมและทันตอสถานการณปจจุบันอยูเสมอ เพื่อเปนมาตรฐานและเปนแนวทางปฏิบัติ รวมทั้งเปนคานิยมรวมสําหรับองคการและบุคลากรทุกคน พึงยึดถือเปนแนวทางปฏิบัติควบคูกับกฎขอบังคับอื่นๆ อยางทั่วถึง

จังหวัดลําปาง 31 กรกฎาคม 2555

Page 4: วิธีการและมาตรการในการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นต อ ...lampang.go.th/stragegic/2555/pmqa/1aug.pdf ·

[2]

วิธีการและมาตรการในการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นตอสังคม อันเปนผลมาจากการดาํเนินการของจังหวัดลําปาง

ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2555 _____________________________________

หลักการและเหตุผล พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑ และวิธีการบริหารกจิการบานเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๘ (๓) ระบุวากอนเริ่มดําเนินการจังหวัดตองจัดใหมีการวิเคราะหผลดี ผลเสีย ใหครบทุกดาน กําหนดขั้นตอนการดําเนินงานที่โปรงใส มีกลไกตรวจสอบการดําเนินการในแตละขั้นตอนในกรณีใดทีม่ีผลกระทบตอประชาชน จังหวัดลําปางตองดําเนินการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน และชี้แจงทําความเขาใจ เพื่อใหประชาชนไดตระหนกัถึงประโยชนทีส่วนรวมจะไดรบัจากภารกิจนั้น การกําหนดวิธีการหรือมาตรการในการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นตอสังคม อันเปนผลมาจากการดําเนินการของจังหวัด เปนสวนหนึ่งของการดําเนินการภายใตตัวชี้วัดระดับความสําเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบรหิารจัดการภาครฐั (PMQA) หมวด ๑ ดานการนําองคกร ในประเด็น LD๗ ซึ่งจงัหวัด/ผูบริหารตองกําหนดใหมีวิธีการหรือมาตรการในการจัดการผลกระทบทางลบทีเ่กิดข้ึนตอสงัคม ดังนั้นเพื่อใหการกําหนดวิธีการ และมาตรการปองกันผลกระทบทางลบฯ ของจังหวัดลําปางเปนไปตามพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑ และวิธีการบริหารกจิการบานเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๘ (๓) และแนวทางการดําเนินการตามเกณฑคุณภาพการบรหิารจัดการภาครัฐระดบัพื้นฐาน (Fundamental Level) ที่สํานักงาน ก.พ.ร. กําหนด จังหวัดลําปางจงึไดกําหนดมาตรการ และวิธีการปองกันผลกระทบทางลบทีเ่กิดข้ึนตอสงัคมในการปฏิบัตริาชการของสวนราชการในจังหวัดลําปางขึ้น โดยมุงมั่นใหการปฏิบัติงาน เกิดความโปรงใสเปนไปตามหลักธรรมาภิบาลดวยการมสีวนรวมของทุกภาคสวน วัตถุประสงค

1. เพื่อมุงเนนใหสวนราชการมรีะบบการบรหิารจัดการที่มปีระสิทธิภาพ 2. เพื่อใหการปฏิบัติงานของสวนราชการมีการดําเนินการตามพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑ

และวิธีการบริหารจัดการบานเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 3. เพื่อเปนการใหสวนราชการในจังหวัดลําปางมีสวนรวมในการทํางานแบบบรูณาการ

วิสัยทัศน (VISION)

นครลําปางเปนเลิศดานเซรามิกและหัตถอุตสาหกรรม โดดเดนดานการทองเที่ยวเชิงธรรมชาติและวฒันธรรม

ผูนําดานการผลิตเกษตรปลอดภัย รวมสรางสงัคมไทยอยูดีตามวิถีพอเพียง

Page 5: วิธีการและมาตรการในการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นต อ ...lampang.go.th/stragegic/2555/pmqa/1aug.pdf ·

[3]

พันธกิจ (MISSION) ๑. ดานเศรษฐกิจ : พัฒนา กระตุน และสงเสริมระบบเศรษฐกิจทัง้ในภาคอุตสาหกรรมการผลิต การบริหาร และอุตสาหกรรมการเกษตร โดยใชวัฒนธรรมเปนฐานในการสรางมลูคาเพิ่ม ๒. ดานสังคม : พัฒนาจังหวัดลําปางใหเปนสังคมผาสุก ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีบนฐานความรู ภูมิปญญาทองถิ่นผสานองคความรูสมัยใหม ๓. ดานความมั่นคง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม : สงเสรมิกระบวนการมีสวนรวมในการดําเนินงานดานความมั่นคงและสมดุลของทรพัยากรธรรมชาติและสิง่แวดลอมโดยใชแนวทางการจัดการแบบชุมชนเปนฐาน ๔. ดานการบริหารจัดการ : พัฒนาระบบบรหิารจัดการของจังหวัดอยางตอเนื่อง ตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐเพื่อเพิ่มสมรรถนะขององคกรและขีดความสามารถทางการแขงขัน ภายใตบริบทของการเปลี่ยนแปลง ประเด็นยุทธศาสตร (Strategic Issue)

ยุทธศาสตร ๑ : การสงเสริมความเขมแข็งในการดําเนินงานดานความมั่นคง และสรางสมดุลของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ยุทธศาสตร 2 : การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนและสรางสังคมใหมีความเขมแข็งเปน

สังคมแหงภูมิปญญาและการเรียนรู ยุทธศาสตร ๓ : การสงเสริมและพัฒนาการเกษตรสูเกษตรปลอดภัย ยุทธศาสตร ๔ : การพัฒนาและยกระดับมาตรฐานระบบอุตสาหกรรม การทองเที่ยวเชิงธรรมชาติ และวัฒนธรรมสูมาตรฐานสากล ยุทธศาสตรท่ี 5 : การพัฒนาเซรามิกและสงเสริมหัตถอุตสาหกรรมเพื่อเพิ่มมูลคาทางการคาและการลงทุนทั้งระบบ

เปาประสงค ประเด็นยุทธศาสตรท่ี ๑

1. ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน 2. ปญหายาเสพติดลดลงและไมสงผลกระทบตอความสงบสุขของสงัคม 3. เกิดกลไกในการบรหิารจัดการทรพัยากรธรรมชาติแบบบรูณาการโดยการมสีวนรวมจากทุกภาค

สวน กลยุทธการขับเคลื่อนยุทธศาสตรท่ี ๑

1. รักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน 2. ปองกันและแกไขปญหายาเสพติดครบวงจร โดยการบริหารจัดการแบบบูรณาการ 3. พัฒนาระบบการบรหิารจัดการทรัพยากรธรรมชาติแบบบรูณาการ

เปาประสงค ประเด็นยุทธศาสตรท่ี ๒

๑. ประชาชนจังหวัดลําปางมีคุณภาพชีวิต (Quality of life) ที่ดีทุกกลุมเปาหมาย กลยุทธการขับเคลื่อนยุทธศาสตรท่ี ๒

๑. พัฒนาโครงการสรางพื้นฐานดานคมนาคมไฟฟา การสื่อสาร ใหทั่วถึงและพฒันาโครงสรางพื้นฐานดานทรัพยากรน้ําเพื่ออุปโภค บริโภคอยางเปนระบบครบคลมุทุกพื้นที ่

๒. การพัฒนาระบบบรหิารจัดการความรูสูความเขมแข็งของชุมชน

Page 6: วิธีการและมาตรการในการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นต อ ...lampang.go.th/stragegic/2555/pmqa/1aug.pdf ·

[4]

๓. พัฒนาระบบการบรหิารจัดการ และการบรกิารงานทางดานสังคมของภาครัฐที่ไดมาตรฐานและมีประสิทธิภาพสามารถตอบสนองความตองการของประชาชนทุกกลุมเปาหมาย

๔. สงเสริมกระบวนการมสีวนรวมระหวางภาคีเครือขายทางสังคม ชุมชน ทองถิ่น และภาคประชาชนเพื่อสรางสรางใหชุมชน และสงัคมมีความเขมแข็ง สามารถพึ่งพาตนเองไดอยางยั่งยืน

๕. สงเสริมการตอยอดองคความรู พัฒนาทกัษะอาชีพ และสรางจิตสํานกึที่ดีใหแกประชาชนทุกกลุมเปาหมาย

๖. สงเสริมกระบวนการทํานบุํารุงศลิปวฒันธรรม ดานการมสีวนรวมและกระบวนการธํารงไวซึ่ง อัตลักษณแหงวฒันธรรมของแตละพื้นที ่

เปาประสงค ประเด็นยุทธศาสตรท่ี ๓

1. การเพิม่ศักยภาพการผลิตและการตลาดสินคาเกษตรทีป่ลอดภัย กลยุทธการขับเคลื่อนยุทธศาสตรท่ี ๓

๑. การพัฒนาการผลิตสินคาเกษตรปลอดภัย โดยเนนประสิทธภิาพการผลิตและการสรางมลูคาเพิ่ม ๒. สงเสริมและสรางผลงานวิชาการทางการเกษตรทีส่อดคลองกับบริบทของพื้นที ่๓. กําหนดมาตรฐานสินคาเกษตรปลอดภัย และมกีลไกการตรวจสอบทีเ่ชื่อถือได ๔. สงเสริมและกระตุนใหกบัเกษตรและองคกรเครอืขายภาคเกษตรมีการพัฒนาองคความรูอยาง

ตอเนื่อง ๕. สรางความเขมแข็งในการรวมกลุมเกษตรกร และองคกรเครอืขายพัฒนาระบบบรหิารจัดการ

ทรัพยากรทางการเกษตร เปาประสงค ประเด็นยุทธศาสตรท่ี ๔

1. แหลงทองเที่ยวของจังหวัดไดรับการยอมรับในระดับชาติและนานาชาติ 2. เพิ่มรายไดและกระจายผลประโยชนจากการทองเที่ยวเชิงธรรมชาติ และวัฒนธรรมสูทองถิ่น

ชุมชน โดยเนนการบริการแบบมีสวนรวมของทุกภาคสวน กลยุทธการขับเคลื่อนยุทธศาสตรท่ี ๔

1. การพัฒนาแหลงทองเที่ยว การปรับปรงุระบบโครงสรางพื้นฐานแหลงทองเที่ยวและการสงเสริมระบบบริการสาธารณะ

2. การพัฒนาเครือขายการสื่อสารของระบบสารสนเทศเพื่อการทองเที่ยว 3. การพัฒนาศักยภาพของบุคลากรดานการทองเที่ยวและสรางความเขมแข็งในการเชื่อมโยง

เครือขายดานการทองเที่ยว 4. การประชาสมัพันธเชิงรกุและพัฒนาระบบสนบัสนุนการตลาดทองเที่ยว 5. พัฒนารปูแบบและกจิกรรมการทองเที่ยวทีห่ลากหลายเพือ่สรางคุณคาและมลูคาเพิม่ทางการ

ทองเที่ยว

เปาประสงค ประเด็นยุทธศาสตรท่ี 5 1. เพิ่มผลิตภาพ (Productivity) และคุณคาของสินคาเซรามกิ และหัตถอุตสาหกรรมบน

ฐานความรูและความเปนอัตลกัษณของทองถิ่นใหเปนที่ยอมรับในระดับชาติและนานาชาต ิ

Page 7: วิธีการและมาตรการในการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นต อ ...lampang.go.th/stragegic/2555/pmqa/1aug.pdf ·

[5]

กลยุทธการขับเคลื่อนยุทธศาสตรท่ี 5 1. สงเสริมและสนบัสนุนการพฒันาเทคโนโลยกีารออกแบบ และการผลิต เพือ่ใชในกระบวนการผลิตสินคาเซรามิก และหัตถอุตสาหกรรม 2. สงเสริมใหมีการพัฒนาผลิตภัณฑใหมีคุณภาพและมลูคาสงู 3. สงเสริมการสรางและพฒันาตราสินคา (Brand) ใหเปนที่ยอมรับในตลาด 4. สนับสนุนและพัฒนาแรงงานใหศักยภาพสอดคลองกับความตองการของภาคอุตสาหกรรม 5. สรางและพฒันาการเชื่อมโยงของหวงโซอุปทาน (Supply Chain) และพัฒนาระบบโลจีสตกิสเพื่อสงเสรมิขีดความสามารถในการแขงขัน 6. สนับสนุนการพัฒนาเครือขายผูประกอบการ และเครอืขายชุมชนบนฐานรากของความรูสมัยใหมและภูมปิญญาทองถิ่น

Page 8: วิธีการและมาตรการในการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นต อ ...lampang.go.th/stragegic/2555/pmqa/1aug.pdf ·

[6]

มาตรการ และวิธีการปองกันผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นตอสังคม จังหวัดลําปาง

คํานิยาม : ผลกระทบทางลบตอสังคม (Social Inpact Assessment : SIA) หมายถึง ผลกระทบทีเ่กิดหรือ

คาดวาจะเกิดในทางที่ไมพึงประสงคของชุมชน และสงัคมอนัมีตนกําเนิดมาจากการดําเนินงานของหนวยงานภาครัฐ โดยมีการนําเสนอมาตรการในการลดผลกระทบทางลบตอสังคม เพื่อลดผลกระทบฯใหมากที่สุด

พันธกิจ การปฏิบัติ/ การบริหาร

ผลกระทบทางลบตอสังคม

มาตรการ/แนวทางปฏิบัติเชิงรุกตอผลกระทบทางลบ

ผูรับผิดชอบ

พั ฒ น า ร ะ บ บก า ร บ ริ ห า รจัดการภาครั ฐใหผู รับบริการเ กิ ด ค ว า ม พึ งพอใจ

๑ . ก า ร บ ริ ก า รป ร ะ ช า ช น ด า นกระบวนการหลั ก และกระบวนการสนับสนุนของสวนราชการ

๑.ประชาชนไมไดรับการบริการที่ รวดเร็ วเสมอภาค และ เป นธรรม ทําให เสียเวลา และกอ ให เกิ ดความเสียหายอันจะนําไปสูการรองเรียนกลาวหาเจาหนาที่ของรัฐ ๒.การใหบริการและก า ร ป ฏิ บั ติ ง านขอ งเจาหนาที่ของรัฐไมมีคว าม โป ร ง ใส ทํ า ใ หประชาชนขาดความเชื่อมั่นและไววางใจ ๓ . ประชาชนไมพึ งพอใจตอกระบวนการการใชบริการ การรองขอความชวยเหลือหรือรองทุกข

๑ . กํ า ห น ด ม า ต ร ฐ า นคุณธรรม จริยธรรม คานิยมสรางสรรคในการปฏิบัติงาน แ ล ะ ร ณ ร ง ค เ ผ ย แ พ รประชาสัมพันธใหขาราชการและเจาหนาที่ของรัฐเกิดจิตสํ านึก นําไปปฏิบัติ ใหบังเกิดผลอยางจริงจัง และต อ เ นื่ อ ง โ ด ย ใ ช สื่ อประชาสัมพันธทุกรูปแบบ ๒. เปดเผยและบริการขอมูลขาวสารตาม พ.ร.บ. ขอมูลขา วสาร ให ป ระชาชนไดเขาถึงอยางกวางขวางโดยป ร ะช าสั ม พั น ธ ผ า น สื่ อประชาสัมพันธทุกรูปแบบ ๓. จัดใหมีศูนยรับเรื่องราวรองทุกข โดยเพิ่มชองทางเปดรับเรื่องรองเรียนในทุกรูปแบบ ๔. กําหนดใหมีการสํารวจความคิดเห็น และความพึงพ อ ใ จ ข อ ง ป ร ะ ช า ช นผู รั บ บ ริ ก า ร เ พื่ อ นํ า ไ ปปรับปรุงวิธีการปฏิบัติงานใหเ ห ม า ะ ส ม แ ล ะ มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ๕. ปรับปรุงการใหบริการโดยใหมีการ ลดข้ันตอนและระยะ เวลา ในการปฏิบั ติ

ทุกสวนราชการ

Page 9: วิธีการและมาตรการในการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นต อ ...lampang.go.th/stragegic/2555/pmqa/1aug.pdf ·

[7]

ร า ช ก า ร ล ง ต า ม ค ว า มเหมาะสม โดยการกําหนดมาตรฐานการลดขั้นตอน และระยะเวลาการใหบริการปดประกาศใหประชาชนไดรับทราบอยางชัดเจน ๖. กําหนดขั้นตอน/แผนผังและแผนภูมิการใหบริการ ใหประชาชนไดรับทราบอยางทั่วถึงและชัดเจน เพื่อเปนการอํานวยความสะดวกใหแกผู รั บบริการให เกิ ดความสะดวก รวดเร็ว ๗ . จั ด ใ ห มี ก า ร จั ด ตั้ งศูนยบริการรวม เพื่ออํานวยค ว า ม ส ะ ด ว ก ใ ห แ กประชาชน ใหสามารถติดตอขอรับบริการในเรื่องตางๆ ไดในที่ เดียวกัน ตามความเหมาะสม

ทุกสวนราชการ

๒. การปองกันการทุจริต

๑.โครงการ/กิจกรรมไดรับความเสียหายอันเกิดจากการทุจริต ทําใ ห ป ร ะช า ช น ไ ด รั บผลกระทบไมสามารถใชป ร ะ โ ย ช น จ า กโครงการ/กิจกรรมไดอยางเต็มประสิทธิ์ภาพ ๒ . ป ร ะ ช า ช น ไ มส า ม า ร ถ เ ข า ถึ งก ร ะ บ ว น ก า ร ก า รปฏิบัติงาน ทําใหไมมีสวนรวมในกิจกรรม/โครงการที่หนวยงานภาครัฐจัดใหมีขึ้น ไดรับผลกระทบเกิดความเสี ยหายตอชีวิตและท รั พ ย สิ น ต ล อ ด จ นโอกาสที่พึงมีพึงได

๑.ใหทุกสวนราชการ กําหนดมาตรฐานคุณธรรม จ ริ ย ธ ร ร ม แล ะค า นิ ย มสรางสรรคในการปฏิบัติงาน ใหมีการปลูกฝงจิตสํานึกของความเปนข าราชการที่ ดี ดวยการรณรงคเผยแพรใหขาราชการนําไปประพฤติป ฏิ บั ติ โ ด ย ใ ช สื่ อประชาสัมพันธในรูปแบบตางๆ ๒. ใหปฏิบัติงานดวยความโปร ง ใส ดวยการใหภาคประชาสังคม และประชาชนเ ข า ม า มี ส ว น ร ว ม ใ นโครงการ/ กิจกรรม ๓. ใหมีการ เปดเผยและบริการขอมูลขาวสาร ตาม พ.ร.บ. ขอมูลขาวสารแกป ร ะชา ชน โ ดย ทั่ ว ไ ป ไ ด

ทุกสวนราชการ

Page 10: วิธีการและมาตรการในการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นต อ ...lampang.go.th/stragegic/2555/pmqa/1aug.pdf ·

[8]

รับทราบอยางทั่วถึง เปนธรรมและเสมอภาค โดยใชช อ ง ท า ง ใ น สื่ อประชาสัมพันธทุกรูปแบบ ๔. เพิ่มชองทางในการรับเรื่ องร องทุกข ในรูปแบบตางๆ ๕. ใหมีการสํ ารวจความคิดเห็นของทุกสวนราชการ และประชาชนโดยทั่ วไป เพื่ อสรุ ปรวบรวมไว เป นขอมูลสําหรับการปรับปรุงมาตรการปองกันผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นตอสังคมใหมีความสมบูรณมากยิ่งขึ้น

๓ . ก า ร จั ด ทํ าแผนงาน/โครงการร ว ม ทั้ ง ก า รดําเนินงาน/โครงการของสวนราชการในจังหวัด

๑. โครงการ/กิจกรรมที่มีขนาดใหญอาจสงผลกระทบตอชีวิต และท รั พ ย สิ น ห รื อ เ กิ ด มลภาวะแวดลอมที่เปนพิษตอประชาชน และสังคมโดยกวาง ๒. โครงการ/กิจกรรมที่มีงบประมาณสูง อาจเกิ ดการทุ จ ริ ต แล ะส ง ผ ล ก ร ะ ท บ ต อแผนงานโครงการ ทําใ ห ป ร ะช า ช น ไ ด รั บความเสียหาย ตอชีวิตและทรัพยสินตลอดจนไ ม ส า ม า ร ถ เ ข า ใ ชประโยชนในกิจกรรม/โครงการไดอยางเต็มประสิทธิภาพ ซึ่งอาจนํา ไปสู ประเด็นการรองเรียนได

๑ . ใ ห มี ก า ร แ ต ง ตั้ งคณ ะ ทํ า ง า น เ พื่ อ ศึ ก ษ าผลกระทบทั้งทางบวกและทางลบ โดยนําหลักการบริหารความเสี่ยงมาใชในการจัดทําแผนงาน/โครงการ ๒. เปดโอกาสใหองคกรเอกชน และภาคประชาชนเข ามามี ส วนร วม ในการจัดทําแผนงาน/โครงการ และติดตามประเมินผล ๓. ประชาสัมพันธโครงการกิจกรรมตามแผนใหทุกภาคส ว น ไ ด รั บ ท ร า บ อ ย า งกวางขวางเพื่อสรางความเขาใจอันดี และเกิดความรวมมือในการดําเนินงานตา ม โ ค ร ง ก า ร ใ ห บ ร ร ลุวัตถุประสงค และเปาหมายที่กําหนดไว ๔. ใหมีการสํารวจความพึงพอใจ เพื่อนําไปปรับปรุงก า ร ทํ า ง า น ใ ห มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

ทุกสวนราชการ

Page 11: วิธีการและมาตรการในการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นต อ ...lampang.go.th/stragegic/2555/pmqa/1aug.pdf ·

[9]

๔ . ก า ร อ อ กใบอนุญาตประกอบกิ จ กา ร ต า ง ๆห รื ออ อ ก ใ บ อ นุ ญ า ตสําหรับ วัตถุสิ่งของที่ต อ ง มี ใ บ อ นุ ญ า ตกํากับ

การออกใบ อนุญาตตางๆ อาจมีผลกระทบทางลบตอประชาชน หรื อชุ มชนในสั งคม เ ช น ก า ร ป ร ะ ก อ บกิจการบางประเภท อ า จ ก อ ใ ห เ กิ ดผลกระทบตอสุขภาพอ น า มั ย แ ล ะสิ่ ง แ ว ด ล อ ม ข อ งประชาชนทั้ งปญหาทางดานมลพิษควันพิษ ร ะ บ บ น้ํ า เ สี ย ก ลิ่ นเหม็น และเสียงดัง เปนตน

๑. ใหตรวจสอบกิจการหรือวั ต ถุ สิ่ ง ข อ ง ที่ ต อ ง มีใ บ อนุ ญ าต กํ า กั บ อย า งจริงจัง หากพบปญหาใดๆ ที่ อ า จ จ ะ ก อ ใ ห เ กิ ดผลกระทบตอประชาชน/ชุมชน ใหผูประกอบการหรือผู ที่ ครอบครองวัตถุสิ่งของที่ตองมีใบอนุญาตกํากับ ดําเนินการแกไขหรือ ปรับปรุงกอนที่จะออกใบอนุญาตให ๒. ดําเนินคดีตามกฎหมายกับผูประกอบการหรือผูที่ครอบครองวัตถุสิ่ งของที่ตองมีใบอนุญาตกํากับ ที่ฝาฝนไมปฏิบัติตามกฎหมาย ห รื อ ต า ม ม า ต ร ฐ า น ที่ก ฎห ม ายกํ า ห นดอย า งจริงจัง ๓ . ส วนร าชก าร ที่ อ อกใบอนุญาตจะตองสํารวจผลการประกอบกิจการหรือวั ต ถุ สิ่ ง ข อ ง ที่ ต อ ง มีใ บ อนุ ญ าต กํ า กั บ อย า งสม่ํ า เสมอ และตอ เนื่ อ ง ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ป อ ง กั น ไ ม ใ หผูประกอบการละเลยการปฏิบัติตามกฎหมาย หรือหลีกเลี่ยงไมปฏิบัติตามกฎขอบังคับ ๔. กําหนดใหมีการจัดเก็บตัวอยางของผลิตภัณฑ หรือวั ต ถุ สิ่ ง ข อ ง ที่ ต อ ง มีใ บ อ นุ ญ า ต กํ า กั บ เ พื่ อตรวจสอบหาความผิดปกติ และสาเหตุของมลพิษที่เกิดข้ึน ๕. ออกตรวจเยี่ยม และใหคําแนะนําแกผูมีใบอนุญาต

ทุกสวนราชการที่เกี่ยวของ

Page 12: วิธีการและมาตรการในการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นต อ ...lampang.go.th/stragegic/2555/pmqa/1aug.pdf ·

[10]

ป ร ะ กอ บ กิ จ ก า ร ห รื อ ผูครอบครองวัตถุสิ่งของที่ตองมี ใบอนุญาตกํ ากั บ ตามความเหมาะสมเพื่อไม ใหกิจการหรือวัตถุสิ่งของนั้นส งผลกระทบทางลบตอประชาชน และสังคม

ขั้นตอนการจัดทํามาตรการ และวิธีการปองกันผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นตอสังคม จังหวัดลําปาง

1. แตงตั้งคณะทํางานในการศึกษาวิเคราะหผลกระทบทางลบทีอ่าจเกิดขึ้นจากการดําเนินการและการบริการของสวนราชการในปจจุบันและอนาคต

2. จัดประชุมคณะทํางานเพื่อกําหนดแนวทางในการศึกษาและระบุความเสี่ยงผลกระทบทางลบตอสังคม

3. คณะทํางานดําเนินการศึกษาและระบุความเสี่ยงฯ โดยพจิารณารายละเอียดขอมูลชุมชนและรบัฟงความคิดเห็นของประชาชน

4. ประชุมเชิงปฏิบัตกิารกําหนดมาตรการและวิธีการในการรองรับและปองกันความเสี่ยงที่อาจเกิดข้ึนจากการดําเนินงานทั้งในปจจุบันและอนาคต

5. เสนอผลการประชุมเชิงปฏบิัติการกําหนดมาตรการและวิธีการในการรองรับและปองกันความเสี่ยงที่อาจเกิดข้ึนจากการดําเนินงานทั้งในปจจบุันและอนาคตตอผูบังคบับญัชา

6. เสนอผลการประชุมเชิงปฏบิัติการกําหนดมาตรการและวิธีการในการรองรับและปองกันความเสี่ยงที่อาจเกิดข้ึนจากการดําเนินงานทั้งในปจจบุันและอนาคตตอผูบังคบับญัชา

7. ติดตามประเมินผลการดําเนินการและปรับปรงุมาตรการหรอืแนวทางในการปองกันผลกระทบทางลบในอนาคต