34
เลมที: สืบคนวิเคราะหเจาะขาว คํานํา แบบฝกทักษะการอานอยางมีวิจารณญาณโดยใชวิธีอานแบบ SQ๔R ชั้นมัธยมศึกษาปทีเลมที่ ๔ สรางสรรคจรรโลงในในเพลง จัดทําขึ้นเพื่อเปนเครื่องมือในการพัฒนาทักษะการคิดอยางมี วิจารณญาณ ซึ่งการอานอยางมีวิจารณญาณเปนพื้นฐานสําคัญของการพัฒนาผูเรียนใหรูจักคิดเปนระบบ คิดอยางมีเหตุผลเหมาะสม แบบฝกทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ มีทั้งหมด เลม ดังนีเลมที่ ๑ สืบคน วิเคราะห เจาะขาว เลมที่ ๒ สังเคราะหเรื่องราวสารคดี เลมที่ ๓ เรียนรูวิถีชีวิตจากเรื่องสั้น เลมที่ ๔ สรางสรรคจรรโลงใจในเพลง เลมที่ ๕ คิดเกง คิดสนุกดวยนิทาน เลมที่ ๖ วิเคราะหเจาะสารจากบทความ เลมที่ ๗ ภาษางามงดจากบทรอยกรอง เลมที่ ๘ พินิจคิดคลองดวยเพลงพระราชนิพนธในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯสยามบรมราชกุมารี แบบฝกทักษะแตละเลมจะมีแผนการจัดการเรียนรูเปนคูมือการฝก ซึ่งเปนการสอนสอดแทรกในการ เรียนการสอน โดยใชวิธีอานแบบ SQ๔R มี ขั้นตอน ผูจัดทําหวังวาแบบฝกทักษะการอานอยางมีวิจารณญาณเลมนีจะเปนแนวทางหนึ่งในการจัด กระบวนการสอนคิดใหกับผูเรียนไดตามเจตนารมณของหลักสูตร และเปนประโยชนตอการจัดกระบวนการ เรียนรูของครูในกลุมสาระการเรียนรูภาไทยและกลุมสาระอื่นๆไดตามสมควร

เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว

  • Upload
    -

  • View
    27

  • Download
    2

Embed Size (px)

DESCRIPTION

 

Citation preview

Page 1: เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว

เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว

คํานํา

แบบฝกทักษะการอานอยางมีวิจารณญาณโดยใชวิธีอานแบบ SQ๔R ช้ันมัธยมศึกษาปที่ ๖

เลมที่ ๔ สรางสรรคจรรโลงในในเพลง จัดทําข้ึนเพื่อเปนเครื่องมือในการพัฒนาทักษะการคิดอยางมี

วิจารณญาณ ซึ่งการอานอยางมีวิจารณญาณเปนพื้นฐานสําคัญของการพัฒนาผูเรียนใหรูจักคิดเปนระบบ

คิดอยางมีเหตุผลเหมาะสม แบบฝกทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ มีทั้งหมด ๘ เลม ดังน้ี

เลมที่ ๑ สืบคน วิเคราะห เจาะขาว

เลมที่ ๒ สังเคราะหเรื่องราวสารคดี

เลมที่ ๓ เรียนรูวิถีชีวิตจากเรื่องสั้น

เลมที่ ๔ สรางสรรคจรรโลงใจในเพลง

เลมที่ ๕ คิดเกง คิดสนุกดวยนิทาน

เลมที่ ๖ วิเคราะหเจาะสารจากบทความ

เลมที่ ๗ ภาษางามงดจากบทรอยกรอง

เลมที่ ๘ พินิจคิดคลองดวยเพลงพระราชนิพนธในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯสยามบรมราชกุมาร ี

แบบฝกทักษะแตละเลมจะมีแผนการจัดการเรียนรูเปนคูมือการฝก ซึ่งเปนการสอนสอดแทรกในการ

เรียนการสอน โดยใชวิธีอานแบบ SQ๔R มี ๖ ข้ันตอน

ผูจัดทําหวังวาแบบฝกทักษะการอานอยางมีวิจารณญาณเลมน้ี จะเปนแนวทางหน่ึงในการจัด

กระบวนการสอนคิดใหกับผูเรียนไดตามเจตนารมณของหลักสูตร และเปนประโยชนตอการจัดกระบวนการ

เรียนรูของครูในกลุมสาระการเรียนรูภาไทยและกลุมสาระอื่นๆไดตามสมควร

Page 2: เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว

เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว

สารบัญ

เรื่อง หนา

คําช้ีแจงสําหรับครุผูสอน

คําช้ีแจงสําหรับนักเรียน

สาระ/มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด

สาระสําคัญ/จุดประสงคการเรียนรู

แบบทดสอบกอนเรียน

กรอบเน้ือหา

กิจกรรมที ่๑ ฝกสมองประลองปญญา

กิจกรรมที ่๑.๑ ปริศนาภาพคําทาย

กิจกรรมที ่๑.๒ วิเคราะหความสัมพันธของคํา

กิจกรรมที ่๒ สืบคน วิเคราะห เจาะขาว

ข้ันที่ ๑

ข้ันที่ ๒

ข้ันที่ ๓

ข้ันที่ ๔

ข้ันที่ ๕

ข้ันที่ ๖

แบบทดสอบหลังเรียน

เฉลยแบบทดสอบ

บรรณานุกรม

Page 3: เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว

เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว

คําชี้แจงสําหรับครูผูสอน

๑. ครูเตรียมและสํารวจความพรอมของแบบฝกหัดใหเพียงพอกับจํานวนนักเรียน

๒. ครูศึกษาเน้ือหาและลําดับข้ันตอนของแบบฝกทักษะใหเขาใจชัดเจน

๓. กอนลงมือสอนหรือปฏิบัติกิจกรรม ครูควรอธิบายใหนักเรียนทราบถึงจุดประสงคในการทําแบบฝกทักษะ

แตละครั้งและใหนักเรียนเห็นประโยชนและคุณคาของการทําแบบฝกทักษะ

๔. ใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน กอนที่จะศึกษาแบบฝกแตละเลม ซึ่งในแตละเลมจะมีแบบทดสอบยอย

กอนเรียนและหลังเรียน

๕. ใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะจากงายไปหายาก

๖. การทําแบบฝกทักษะทุกครั้งนักเรียนควรมีสวนรวม เชน รวมคิด รวมแสดงอภิปราย ตรวจผลงาน

และสรุปองคความรูดวยตนเอง

๗. ขณะที่นักเรียนศึกษาแบบฝกทักษะและปฎิบัติกิจกรรม ครูควรดูแลอยางใกลชิด หากมีนักเรียนคนใดหรือกลุมใด

สงสัยใหแนะนําเปนรายบุคคลหรอืรายกลุมเพื่อไมเปนการรบกวนผูอื่น

๘. ครูควรมีการเสริมแรงแกนักเรียนทุกครั้ง

๙. การทําแบบฝกทักษะทุกครั้งตองบันทึกผล เพื่อดูพัฒนาการของนักเรียน

๑๐. ใหนักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียนอีกครั้งหน่ึง

๑๑. การวัดและประเมินผลจากสภาพจริง

Page 4: เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว

เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว

คําชี้แจงสําหรับนักเรียน

แบบฝกทักษะการอานอยางมีวิจารณญาณโดยใชวิธีการอานแบบSQ๔R เลมที่ ๑ สืบคน วิเคราะห เจาะขาว

ที่นักเรียนจะไดศึกษาตอไปน้ี เปนแบบฝกพัฒนาทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ ที่เหมาะกับวัยนักเรียน

สามารถศึกษาไดดวยความเขาใจและประสบความสําเร็จในการเรียนดวยการปฏิบัติตามคําแนะนําตอไปน้ี

๑. ศึกษามาตรฐานการเรียนรู ตัวช้ีวัด สาระสําคัญ และจุดประสงคการเรียนรูใหเขาใจ

๒. ทําแบบทดสอบกอนเรียน แบบเลือกตอบ ๔ ตัวเลือก จํานวน ๑๐ ขอ

๓. ฝกทักษะวิธีอานแบบSQ๔Rซึ่งมี ๖ ข้ันตอน

ข้ันตอนที่ ๑ S (Survey)การอานเน้ือเรื่องอยางคราวๆ เพื่อหาจุดสําคัญของเรื่อง

ข้ันตอนที่ ๒ Q (Question) การต้ังคําถาม

ข้ันตอนที่ ๓ R๑ (Read) การอานอยางละเอียดเพื่อหาคําตอบของคําถามที่ต้ังไว

ข้ันตอนที่ ๔ R๒ (Record) การจดบันทึกขอมูลตางๆตามความเขาใจของตนเอง

ข้ันตอนที่ ๕ R๓ (Recite) การเขียนสรุปใจความสําคัญโดยใชถอยคําของตนเอง

ข้ันตอนที่ ๖ R๔ (Reflect) การวิเคราะห วิจารณ เรื่องที่อานแลวแสดงความคิดเห็น

หากนักเรียนไมเขาใจหรือตอบคําถามไมได ใหยอนกลับไปอานเน้ือหาแบบฝกทักษะใหมอีกครั้งแลวตอบใหม

หรือทํากิจกรรมน้ันใหมหรือขอคําแนะนําจากคร ู

๔. นักเรียนตรวจคําตอบดวยตัวเองหรือแลกเปลี่ยนกันตรวจกับเพื่อนโดยครูเปนผูแนะนํา

๕. ทําแบบทดสอบหลังเรยีน แบบเลือกตอบ ๔ ตัวเลือก จํานวน ๑๐ ขอ เพื่อเปรียบเทียบคะแนน

กอนเรียนและหลังเรียน

Page 5: เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว

เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว

แบบฝกทักษะการอานอยางมีวิจารณญาณโดยใชวิธีการอานแบบSQ๔R

เลมท่ี ๑ สืบคน วิเคราะห เจาะขาว

กลุมสาระการเรียนรูภาษไทย ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๖

เวลา ๒ ชั่วโมง

สาระที่ ๑ การอาน

มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพ่ือนําไปใชในการ

ตัดสินใจแกปญหาในการดําเนินชีวิตและมรนิสัยรักการอาน

ตัวช้ีวัด

ม.๓/๓ ระบุใจความสําคัญและรายละเอียดของขอมูลที่สนับสนุนจากเรื่องที่อาน

ม.๓/๔ อานเรื่องตางๆ แลวเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ยอความ

และรายงาน

ม.๓/๙ ตีความและประเมินคุณคา แนวคิดที่ไดจากงานเขียนอยางหลากหลาย

เพ่ือนําไปใชแกปญหาในชีวิต

Page 6: เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว

เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว

สาระสําคัญ

การอานอยางมีวิจารณญาณจากบทความเปนการอานที่ผูอานตองใชวิจารณญาณ

ความคิดและเหตุผลเพื่อวิเคราะหใครครวญและตัดสินวา สารที่อานน้ันเช่ือได

หรือไม และสามารถประเมินคาจากสิ่งที่อานวาดีมีประโยชนอยางไรบาง ใหขอคิด

คติสอนใจ อยางไร จึงควรฝกฝนใหเกิดความชํานาญ

จุดประสงคการเรียนรู

๑.ดานความรู (K)

๑.๑นักเรียนสามารถสรุปสาระสําคัญจากขาว โดยใชวิธีการอานแบบ SQ๔R ได

๒.ดานทักษะ/กระบวนการ

๒.๑นักเรียนสามารถวิเคราะห สังเคราะห ประเมินคาจากขาได

๓.ดานคุณลักษณะอันพึงประสงค (A)

๓.๑ความกระตือรือรนต้ังใจเรียน

๓.๒มีความรับผิดชอบ

๓.๓ปฏิบัติงานตามเวลาท่ีกําหนด

๓.๔ความสนใจเรียนและซักถาม

Page 7: เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว

เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว

แบบทดสอบกอนเรียนแบบฝกทักษะเลมที่ ๑

คําช้ีแจง

๑.แบบทดสอบกอนเรียน ฉบับน้ีใชทดสอบความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการอานอยางมีวิจารณญาณ

แบบฝกทักษะเลมที่ ๑ สืบคน วิเคราะห เจาะขาว

เปนแบบทดสอบปรนัย แบบเลือกตอบ ๔ ตัวเลือก จํานวน ๑๐ ขอ ขอละ ๑ คะแนนใชเวลาในการทดสอบ ๑๐ นาที

๒.ใหนักเรียนอานขอคําถามและคําตอบใหละเอียด เลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว

แลวนําไปตอบลงในกระดาษคําตอบ โดยทําเครื่องหมาย X ลงในชองตัวเลือกที่ตองการ

๓.ใหนักเรียนทําแบบทดสอบใหครบทุกขอ

อานขาวตอไปนี้แลวตอบคําถามขอท่ี ๑-๕

นักเรียน ปวช.หึงโหดแทงคูอริดับ

หนุม ปวช.ชะตาขาด ถูกเพื่อนโรงเรียนเดียวกันแทงดับอนาถ กอนรอมอบตัว เผยเหย่ือเขามาเคลียร

ปญหาแฟนเกาจนมีปากเสียงข้ันชกตอย สูไมไหวใชเหล็กแทง ตร.คาดแฟนสาวเคยเปนแฟนเกาผูตาย

พ.ต.ต.ปติพันธ กฤดากร ณ อยุธยา สว.สป.สน.ดินแดง รับแจงจากศูนยวิทยุวาเกิดเหตุทะเลาะวิวาท

มีผูไดรับบาดเจ็บภายในบริเวณกองดุริยางคทหารบก ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กทม.

จึงไปตรวจสอบที่เกิดเหตุที่บริเวณลาดจอดรถแฟลตทหาร ภายในรั้วกองดุริยางคทหารบก เจาหนาที่พบกองเลือด

และนายกิตติพงษ พงษเจื่อ อายุ ๒๐ ปนักเรียน ปวช.ป ๑ โรงเรียนพานิชยการสยาม ยืนถือเหล็กปลายแหลม

มีเลือดติด โดยยอมรับวาใชเหล็กแทงนายลิขิต ทองดี อายุ ๑๙ ป นักเรียน ปวช. ป ๑ โรงเรียนเดียวกันจนไดรับ

บาดเจ็บพลเมืองดีนําสงโรงพยาบาลและเสียชีวิตในเวลาตอมา

นายกิตติพงษ ยอมรับวาแทงนายลิขิตถึงแกความตายจริง โดยกอนเกิดเหตุมีเรื่อง ทะวิวาทกับผูตาย

หลังจากที่นายลิขิต เดินทางมาเพื่อเคลียรปญหากับ น.ส.นก แอบเพ็ชร กอนหนาเคยเปนแฟนนายลิขิต พูดคุย

กันจนมีปากเสียงและถึงข้ันทะเลาะวิวาท เกิดชกตอยกันข้ึน นายกิตติพงษ สูไมไหว จึงใชเหล็กขูดชารปแทง

นายลิขิตและรอมอบตัว

เจาหนาตํารวจดําเนินคดีในขอหาฆาผูอื่น และพกอาวุธ (เหล็กปลายแหลม) ไปในเมือง หมูบาน หรือทาง

สาธารณะ โดยไมมีเหตุจําเปน และไมมีเหตุอันควร

คมชัดลึก ๒๔ กุมภาพันธ ๒๕๕๒ หนา ๓

Page 8: เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว

เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว

๑. ขาวขางตนเปนขาวประเภทใด

ก. ขาวธุรกิจ

ข. ขาวเศรษฐกิจ

ค. ขาวอาชญากรรม

ง. ขาวการเมือง

๒. “นักเรียนปวช.หึงโหดแทงคูอริดับ” จากขอความน้ี คือสวนใดของขาว

ก. เน้ือขาว

ข. พาดหัวขาว

ค. สวนเช่ือม

ง. ความนํา

๓. นักเรียนเห็นดวยหรือไม กับการกระทําของนายกิตติพันธที่ใชเหล็กแทงนายลิขิต

ก. เห็นดวย เพราะแคนที่นายลิขิตยังมาของแวะแฟนสาวอีก

ข. เห็นดวย เพราะเปนตัวอยางใหกับคูรักอื่น ๆ ที่มีปญหาเชนน้ี

ค. ไมเห็นดวย เพราะเปนการกระทําที่เกินเหตุ

ง. ไมเห็นดวย เพราะไมเชนแนวทางแกปญหาใหหมดไปได

Page 9: เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว

เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว

๔. ทําอยางไร จึงจะปองกันไมใหเกิดเหตุการณเชนน้ี

ก. พอ แม ครูควรดูแลเอาใจใสอยางใกลชิด

ข. พอแมควรเปนที่ปรึกษาใหลูก

ค. นักเรียนไมควรริรักในวัยเรียน

ง. ครูควรสอนทักษะชีวิต

๕ . นักเรียนคิดวาอะไรคือสาเหตุสําคัญที่สุดที่ทําใหเกิดเหตุการณเชนน้ี

ก. น.ส.นก แอบเพ็ชร เปนคนหลายใจ

ข. นายกิตติพันธ เปนวัยรุนใจรอน

ค. ทางวิทยาลัยไมเอาใจใสนักเรียนเทาที่ควร

ง. นักเรียนไมไดรับความเอาใจใสจากคร ูและผูปกครอง

Page 10: เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว

เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว

๑๐

อานขาวตอไปน้ีแลวตอบคําถามขอที่ ๖-๑๐

ตะลึงเด็กวัย ๑๒ ปวยโรคพิสดาร อาการประสาทถดถอยสมองสวนกลางหด พบยากแค ๑ ในลาน

พี่ชายเปน-ตายไปแลว นองจาบ อายุ ๑๒ ปจากเด็กที่อวนทวนสมบูรณแข็งแรง ฉลาดเกินวัยเรียนเกง จูๆ กลับตาพรา

มัวจนบอดสนิท พูดจาออแอไมรูเรื่อง เหมือนหวนกลับมาเปนทารกแถมเดินไมได ตองนอนใหอาหารทางสายยาง

รางกายผายผอมเหลือแตหนังหุมกระดูก พอเผยลูกชายคนแรกปวยเปนโรคประหลาดแบบเดียวกันจนตายตอนอายุ ๖

ขวบ หมอระบุเปนโรคแปลกพบไดแค ๑ ในลานเทาน้ัน ตองผาตัดเปลี่ยนไขสันหลัง โอกาสรอด รอยละ ๕๐: ๕๐

เด็กปวยเปนโรคประหลาดรายน้ีช่ือเด็กชายกฤษกรณ คาชัยวงค หรือนองจาบ อายุ ๑๒ ป นร. ช้ัน ป.๕

บานเลขที ่๑ หมู ๒ บานปาตาล ต. เถินบุร ีอ.เถิน จ. ลําปาง คือเปนโรคประสาทถดถอย จากเคยที่เปนเด็กเรียนเกง

สอบไดเกรด ๔ ทุกวิชา เฉลียวฉลาดเกินวัยเหมือนผูใหญ ตอมากลับลมปวย พัฒนาการทางสมองถดถอยลงกลับ

เหมือนเด็กวัยทารก โดยเริ่มจากอาการตาพรามัวมองไมเห็น มักจะเดินชนผนังหองอยูบอย ๆ จนครูและเพื่อน

นักเรียนตองชวยกันดูแลขณะเขารวมกิจกรรม พูดจาออแอไมเปนภาษา และเขียนหนังสือไมได พอแมพาไปรักษาตัว

มาหลายโรงพยาบาลแตไมหายขาด สุดทายตองมารักษาตัวที่บานตามยถากรรม จนอาการทรุดหนัก และมีอาการ

เกร็งตามกลามเน้ืออยูบอยครั้ง

แมเด็กเลาวาเคยมีลูกคนแรกเปนชายช่ือนองเมท หลังคลอดก็แข็งแรงสมบูรณทุกอยาง มีพัฒนาการเหมือน

เด็กทั่วๆไปกระทั้งอายุ ๔ ขวบ เกิดลมปวยดวงตาพรามัวมองไมเห็น พาไปหาหมอ ถึง รพ.กรุงเทพฯ แหงหน่ึง หมด

ตรวจดูอาการ แลวบอกวารักษายาก เพราะเปนโรคที่โอกาสปวยแค ๑ ในลานรายเทาน้ัน แตไมบอกวาเปนโรคอะไร

แถมบอกวาถาเปนลูกผูหญิงมีโอกาสรอดสูง แตเปนลูกชาย โอกาสอดเพียง รอยละ ๑๐ หมอก็รักษาจนสุด

ความสามารถ และพาลูกกลับมารักษาตัวที่บานและเสียชีวิตลงใน ๒ ปตอมา

ตอมาทีมแพทยที่เช่ียวชาญทางสมอง วินิจฉัยอาการและเอ็กซเรยดู อาการของนองจาบวา เปนโรคประหลาด

เชนเดียวกับลูกคนแรก คือสมองสวนกลางมีลักษณะหดตัว มีรอยแยกหางออกจากกัน การเจริญเติบโตของสมองไม

ตอเน่ือง มีลักษณะถดถอย สงผลใหประสาทสวนกลางทํางานผิดปกติ เปนโรคที่พบยากมาในประเทศไทย โอกาสเปน

แค ๑ ในลานคนเทาน้ัน แตเคยพบมาแลวที่ญี่ปุน การรักษามีวิธีเดียวคือ การผาตัดปลูกถายไขสันหลังใหม แตมีโอกาส

รอดเพียง รอยละ ๕๐ เทาน้ัน

เดลินิวส ๔ มิถุนายน ๒๕๕๒ หนา ๒

Page 11: เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว

เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว

๑๑

๖. ขาวขางตนเปนขาวประเภทใด

ก. ขาวการเมือง

ข. ขาวเศรษฐกิจ

ค. ขาวธุรกิจ

ง. ขาวสังคม

“ตะลึงเด็กวัย ๒ ปวยโรคพิสดาร อาการประสาทถดถอย สมองสวนกลางหด พบยาก

แค ๑ ในลานพี่ชายเปน-ตายไปแลว นองจาบ อายุ ๑๒ ป จากเด็กที่อวนทวนสมบูรณแข็งแรง

ฉลาดเกินวัย เรียนเกง จูๆ กลับตาพรามัวจนบอดสนิท พูดจาออแอไมรูเรื่อง เหมือนหวน

กลับมาเปนทารกแถมเดินไมได ตองนอนใหอาหารทางสายยางรางกายผายผอมเหลือ

แตหนังหุมกระดูก พอเผย ลูกชายคนแรก ปวยเปนโรคประหลาดแบบเดียวกัน จนตายตอน

อายุ ๖ ขวบ หมอระบุเปนโรคแปลกพบไดแต ๑ ในลานเทาน้ัน ตองผาตัดเปลี่ยนไขสันหลัง

โอกาสรอด รอยละ ๕๐: ๕๐”

๗. ขอความที่ปรากฏในขาวสวนที่ยกมาน้ีเปนองคประกอบใดของขาว

ก. พาดหัวขาว

ข. ขาวนา

ค. สวนเช่ือม

ง. เน้ือขาว

Page 12: เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว

เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว

๑๒

๘. นักเรียนคิดวาอะไรคือสาเหตุสําคัญของการเกิดโรคน้ี

ก. เกิดจากพันธุกรรม

ข. เกิดจากโรคเน้ืองอกในสมอง

ค. เกิดจากสมองไดรับความกระทบกระเทือน

ง. เกิดจากเด็กใชสมองมากเกินไป

๙. การผาตัดเปลี่ยนไขสันหลังผาตัดใครกับใคร

ก. ของตัวเราเอง

ข. ของญาติฝายพอ

ค. ของญาติฝายแม

ง. บุคคลในสายเลือดเดียวกัน

๑๐. หากนักเรียนเปน พอ หรือแม ของนองจาบนักเรียนจะทําอยางไรจึงจะปองกัน

ไมใหเกิดโรคแบบน้ีอีก

ก. ตรวจสุขภาพประจําป

ข. ปองกันไมใหมีลูก

ค. มีลูกไดแตตองระวังและทําใจ

ง. ปรึกษาแพทยทุกป

Page 13: เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว

เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว

๑๓

กอนท่ีจะฝกทักษะ เลมท่ี ๑ เรามาลองลับสมองประลอง ปญญากันหนอยนะครับ

Page 14: เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว

เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว

๑๔

คําช้ีแจง ใหนักเรียนทายคําจากภาพปริศนา

กิจกรรมท่ี ๑

ฝกสมองประลองปญญา

กิจกรรมท่ี ๑.๑

ตอบ………………………………………………………………………

Page 15: เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว

เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว

๑๕

กิจกรรมท่ี ๑.๒

คําช้ีแจง จงวิเคราะหวาคําในขอใดมีความหมายสัมพันธกับคําที่กําหนดให (คําราชาศัพท)

ตัวอยาง ปวย = อาพาธ มรณภาพ = ?

ก. จําวัด ข.ประชวร ค. ตาย ง. ทําวัตร

๑. ฉลองพระเนตร = แว่นตา ฉลองพระองค์ = ?

ก. รองเท้า ข. กางเกง ค. เสื อ ง. ถุงมือ

๒. ประเคน = ถวาย นิมนต์ = ?

ก. รับประทาน ข. เชิญ ค. นอนหลับ ง. ให้พร

๓. โอรส = ลูกชาย นัดดา = ?

ก. ลูกสาว ข. น้องสาว ค. หลาน ง. เหลน

๔. พระทนต์ = ฟัน ไรพระทนต์ = ?

ก. ซีฟัน ข. ไรฟัน ค. เขี ยว ง. ลิ น

๕. กริ ว = โกรธ ดําริ = ?

ก. คิด ข. ฟัง ค. ชอบ ง. พูด

Page 16: เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว

เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว

๑๖

สนุกไหมครับ

ลับสมองกันแลว

มาเรียนเน้ือหากันเลยนะครับ

Page 17: เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว

เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว

๑๗

กรอบเน้ือหา

เรื่องการคิดวิเคราะหขาว

ขาว คือการรายงานเหตุการณหรือเร่ืองราวท่ีเกิดข้ึน ซึ่งอยูในความสนใจ

ใครรูของคนท่ัวไป ขาวท่ีปรากฏในหนังสือพิมพหรือสื่ออื่นๆ มีหลายชนิดและหลาย

ประเภท ท้ังนี้เพื่อใหเกิดความหลากหลายในการนําเสนอ

ชนิดของขาว แบงออกไดตามเนื้อหาของขาวนั้นๆ ไดแก ขาวการเมือง ขาว

สังคม ขาวเศรษฐกิจ ขาวการศึกษาและวิทยาศาสตร ขาวอาชญากรรม

ขาวบันเทิง ขาวสุขภาพและขาวกีฬา เปนตน

แววมยุรา เหมือนนิล. (๒๕๔๑: ๕๘) แบงประเภทของขาว ไว ๒ ประเภท คือ

๑. ขาวหนัก (Hard News) คือ ขาวท่ีมุงเนนเหตุการณเปนหลักเปนขาว

ท่ีเสนอขอเท็จจริงลวนๆ ตรงไปตรงมาตามเหตุการณท่ีเกิดข้ึน เชน ขาวเพลิงไหม

ขาวอุบัติเหตุ ขาวฆาตกรรม เนื้อขาวจะบอกวาเกิดอะไร ท่ีไหน เมื่อใด ใคร

ทําไม และเกิดข้ึนไดอยางไร

๒. ขาวเบา (Soft News) คือ ขาวท่ีมุงเนนกระบวนการเกี่ยวเนื่อง

มากกวา เนนเหตุการณ เปนขาวท่ีมีการอธิบายและแปลความหมายเหตุการณ

ท่ีเกิดข้ึน เพื่อใหผูอานเขาใจวาเพราะอะไรจึงเกิดเหตุการณนั้น รวมท้ังชี้ใหเห็น

ผลกระทบจากเหตุการณท่ีมีตอสังคมดวย

Page 18: เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว

เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว

๑๘

โครงสรางของขาว โดยท่ัวไปแบงออกได ๓ สวน ดังนี ้

๑. พาดหัวขาว (Headline) เปนจุดดึงดูดความสนใจและบอกความสําคัญ ของ

ขาวไดชัดเจนและรวดเร็วท่ีสุด มักจะใชอักษรขนาดใหญ แตถาไมสามารถ เก็บความสําคัญได

หมดจะมีการพาดหัวขาวรอง (Sub headline) เพิ่มเติมไวอีกสวนหนึ่ง โดยมีใจความท่ี

ขยายใหชัดเจนข้ึนและใชตัวอักษรท่ีลดขนาดลง

๒. ความนําหรือวรรคนํา (Lead) เปนสวนท่ีอยูตอจากพาดหัวขาวและ พาด

หัวขาวรอง โดยผูเขียนจับประเด็นสําคัญของเหตุการณท้ังหมดมารายงาน ใหผูอาน

ทราบ และจะมีการเพิ่มสวนท่ีโยงความสัมพนัธระหวางความนํากับเนื้อขาว ใหชัดเจนไว

อีกตอนหนึ่งเรียกวา “สวนเชื่อม” (Bridge) ซึ่งมีความยาวไมมากนัก และในปจจุบัน

มักไมนิยมใช

๓. เนื้อขาว (Body) เปนรายละเอียดของเหตุการณหรือเร่ืองราวตางๆ ท่ี

เกิดข้ึนโดยใชรูปแบบในการนําเสนอหลายอยาง แตท่ีนิยมมากคือการรายงานขาว โดย

เรียงลําดับเหตุการณสําคัญมากไปเหตุการณสําคัญนอย เพื่อใหผูอานจับสาระ สําคัญได

เร็วข้ึน อยางไรก็ตามบางคร้ังการพาดหัวขาวและการเขียนความนํา มุงเรียกรอง

ความสนใจของผูอานมากเกินไปจนทําใหประเด็นสําคัญของขาวเบ่ียงเบน ไปหากได

ตรวจสอบจากเนื้อขาวท้ังหมดอีกคร้ังจะทําใหจับใจความขาวไดแมนยําข้ึน

Page 19: เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว

เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว

๑๙

หลักการอานและพิจารณาขาว

พรทิพย ศิริสมบูรณเวช และคณะ. (๒๕๔๘ : ๖๒ - ๖๕) กลาววาในการอานขาว

ควรพิจารณาตามองคประกอบของขาว ดังนี ้

๑. พิจารณาพาดหัวขาว การพิจารณาพาดหัวขาวในหนังสือพิมพ เปนการ

จัดลําดับความสําคัญของขาว หากสังเกตการพาดหัวขาวในหนังสือพิมพ จะพบวา

สวนสําคัญท่ีสุดของขาวจะพาดหัวดวยตัวอักษรขนาดใหญ สวนท่ีสําคัญรองลงมา

จะใชตัวอักษรขนาดเล็กลงมาตามลาดับ ดังนัน้ ในการอานและพิจารณาขาว ควรอาน

พาดหัวขาวใหญกอน แลวจึงอานพาดหัวขาวยอย

๒. พิจารณาความนํา เมื่ออานและพิจารณาพาดหัวขาวและทราบเร่ืองราวสัน้ๆ

ของขาวนัน้ แลว ข้ันตอมาคือการอานและพิจารณาความนํา ซึ่งจะสรุปเร่ืองราว

ของขาวโดยขยายความหรือเพิ่มเติมรายละเอียดของพาดหัวขาว หากผูเขียนขาว

สามารถเขียนความนําไดชัดเจน ผูอานท่ีมีเวลาในการอานนอย ประหยัดเวลาในการ

อานก็อาจไมจําเปนตองอานสวนเนือ้ขาวตอไป

๓. พิจารณาเนื้อขาว เนือ้ขาวเปนสวนท่ีผูอานจะอานหรือไมอานก็ไดหากทราบ

เร่ืองยอของขาวจากความนําแลว เนือ้ขาวเปนรายละเอียดเกี่ยวกับเหตุการณท่ี

เปนขาวหากเราสนใจขาวใดเปนพิเศษก็ควรติดตามอานเนือ้ขาว จากหนังสือพิมพ

หลายฉบับ เพื่อเปรียบเทียบความถูกตองของขาว และคิดไตรตรองอยางรอบคอบ

๔. พิจารณาการใชสานวนภาษา จะพบวามีขอบกพรองหลายประการ ท้ังในการ

เขียนสะกดคํา การใชคํายอ การใชคําผิดระดับ การใชคาแสลง การวาง สวนขยาย

ไมถูกตอง ผูท่ีอานขาวจึงตองพิจารณาการใชภาษาตามลักษณะของภาษาขาว

ท่ีไมถูกตองของหลักการใชภาษา

Page 20: เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว

เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว

๒๐

กิจกรรมท่ี ๒

คําช้ีแจง ใหนักเรียนอานขาวท่ีกําหนดใหและทํากิจกรรมตามลําดับตอไปนี ้

สลด! นอยใจพอบังคับเรียนพิเศษ ๑๐ ขวบผูกคอดับ”

เมื่อเวลา ๐๙.๐๐ น. วันที่ ๙ ต.ค.ร.ต.อ.ภมร โพธ์ิขาว รอยเวร สถานีตํารวจ บางขุนเทียน

รับแจงเหตุเด็กชายผูกคอตายภายในหองนํ้า บานเลขที ่๗๙/๖ ถ.จอมทอง ซ.ไชยวัฒน ๑๐/๑ แขวงบางคอ

เขตจอมทอง จึงรุดไปตรวจสอบพบ ด.ช.ธันวา เวชกามา หรือนองเจมส อายุ ๑๐ ขวบ เรียนช้ัน ป.๕

ร.ร.เลิศพัฒนา สภาพใชผาเช็ดตัวผูกคอตัวเองตายอยูภายในหองนํ้า จากการสอบถาม นายเทอดศักด์ิ เวชกามา

อายุ ๔๖ ป บิดา ซึ่งอยูในอาการโศกเศรา ใหการวากอนเกิดเหตุนองเจมสขออนุญาตไมไปเรียนพิเศษที่โรงเรียน

ในวันน้ีซึ่งเปนวันสุดทายแลว โดยจะขอเลนกับเพื่อนๆพี่ๆที่บาน ตนเห็นวาวันน้ีเปนวันสุดทายครูที่โรงเรียน

อาจจะใหการบาน มาก็ไดจึงไมอนุญาตแตไมไดดุดาแตอยางใด พรอมทั้งใหลูกไปเตรียมตัวอาบนํ้าเพื่อไปเรียน

พิเศษ จากน้ันตนไดออกจากบานไปชวยภรรยาต้ังแผงขายสมตํา และโทรศัพทมาถามญาติวานองเจมส

อาบนํ้าแลวหรือยังเพื่อจะไดเขาไปรับ ญาติที่บานบอกวาเห็นปดประตูอาบนํ้าอยู ผานไปประมาณครึ่งช่ัวโมงได

โทรศัพทมาถามอีกครัง้ ญาติบอกวายังไมออกจากหองนํ้าตนจึงเอะใจใหญาติไปเคาะประตูเรียก ปรากฏวา

ญาติมาบอกวานองเจมสผูกคอตาย และชวยกันนําสงโรงพยาบาล แพทยแจงวานองเจมสสิ้นใจระหวางการนําสง

โรงพยาบาล ผูสื่อขาวรายงานวาญาติของนองเจมสยังระบุดวยวา นองเจมสมีความสามารถพิเศษ

เปนแชมปเทควันโดประจําโรงเรียน และชอบดูรายการ ๑๐๘ วิธีฆาตกรรมทางยูบีซ ี

ที่มา http://news.sanook.com วันที่ ๙ ตุลามคม ๒๕๕๒

Page 21: เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว

เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว

๒๑

ข ั้น ท ี่ ๑ S u r v e y ( s ) อ า น ส ํา ร ว จ

ค ํา ช ี้แ จ ง ใ ห น ัก เ ร ีย น อ า น ส ํา ร ว จ เ น ื้อ ห า อ ย า ง ร ว ด เ ร ็ว แ ล ว ต อ บ ค ํา ถ า ม ต อ ไ ป น ี้ โ ด ย เ ข ีย น ค ํา ต อ บ ใ น ช อ ง ว า ง ช ื่อ เ ร ื่อ ง . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ช ื่อ ผ ู แ ต ง / ท ี่ม า . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . จ ุด ม ุง ห ม า ย ข อ ง ผ ูแ ต ง . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ส า ร ะ ส ํา ค ัญ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

Page 22: เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว

เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว

๒๒

ข ั้น ท ี่ ๒ Q u e s t i o n ( Q ) อ า น ต ั้ ง ค ํา ถ า ม

ค ํา ช ี้แ จ ง ใ ห น ัก เ ร ีย น ต ั้ง ค ํา ถ า ม จ า ก เ ร ื่อ ง ท ี่อ า น ไ ป แ ล ว ต ัว อ ย า ง ค ํา ถ า ม

๑ . ใ ค ร ๒ . ท ํา อ ะ ไ ร ๓ . ท ี่ไ ห น ๔ . อ ย า ง ไ ร

๑ . ค ํา ถ า ม . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ๒ . ค ํา ถ า ม . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ๓ . ค ํา ถ า ม . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ๔ . ค ํา ถ า ม . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ๕ . ค ํา ถ า ม . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ๖ . ค ํา ถ า ม . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ๗ . ค ํา ถ า ม . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ๘ . ค ํา ถ า ม . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ๙ . ค ํา ถ า ม . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ๑ ๐ . ค ํา ถ า ม . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

Page 23: เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว

เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว

๒๓

ข ั้น ท ี่ ๓ R e a d ( R ๑ )

อ า น อ ย า ง ล ะ เ อ ีย ด เ พ ื่อ ห า ต อ บ ค ํา ถ า ม

ค ํา ช ี้แ จ ง ใ ห น ัก เ ร ีย น อ า น เ น ื้อ ห า อ ย า ง ล ะ เ อ ีย ด ร อ บ ค อ บ แ ล ว ห า ค ํา ต อ บ ท ี่ไ ด ต ั้ง ค ํา ถ า ม ไ ว ๑ . ค ํา ต อ บ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ๒ . ค ํา ต อ บ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ๓ . ค ํา ต อ บ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ๔ . ค ํา ต อ บ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ๕ . ค ํา ต อ บ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ๖ . ค ํา ต อ บ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ๗ . ค ํา ต อ บ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ๘ . ค ํา ต อ บ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ๙ . ค ํา ต อ บ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ๑ ๐ . ค ํา ต อ บ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

Page 24: เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว

เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว

๒๔

ข ั้น ท ี่ ๔ R e c i t e ( R ๒ ) ก า ร จ ด บ ัน ท ึก ข อ ม ูล ต า ง ๆ

ค ํา ช ี้แ จ ง ใ ห น ัก เ ร ีย น จ ด บ ัน ท ึก ก า ร อ า น ข า ว ใ น ข ั้น ท ี่ ๓ โ ด ย จ ด บ ัน ท ึ ก ข อ ค ว า ม ส ว น ท ี่ ส ํา ค ัญ อ ย า ง ร ัด ก ุม ห ร ื อ ย อ ๆ ต า มค ว า ม เ ข า ใ จ ข อ ง น ัก เ ร ีย น . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

Page 25: เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว

เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว

๒๕

ข ั้น ท ี่ ๕ R e v i e w ( R ๓ ) ก า ร เ ข ีย น ส ร ุ ป ใ จ ค ว า ม

ค ํา ช ี้แ จ ง ใ ห น ัก เ ร ีย น อ า น เ น ื้ อ ห า ท ั้ง ห ม ด แ ล ว ส ร ุ ป ใ จ ค ว า ม ส ํา ค ั ญ ใ ห อ ย ูใ น ร ูป แ ผ น ผ ัง ค ว า ม ค ิ ด

Page 26: เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว

เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว

๒๖

ข ั้น ท ี่ ๖ R e v i e w ( R ๔ ) ก า ร ว ิเ ค ร า ะ ห ว ิจ า ร ณ เ ร ื่ อ ง ท ี่ อ า น

๑. ขาวนี้เปนขาวประเภทใด

……………………………………………………………………………………………………………………………………………

๒. ขาวนีม้ีเหตุการณใดเกิดข้ึนบาง

……………………………………………………………………………………………………………………………………………

๓. นักเรียนคิดวา พอของนองเจมสมีสวนท่ีทาใหนองเจมสคิดฆาตัวตายหรือไมอยางไร

……………………………………………………………………………………………………………………………………………

๔. นักเรียนคิดวาสาเหตุท่ีทาใหนองเจมสเสียชีวิตคืออะไร

……………………………………………………………………………………………………………………………………………

๕. นักเรียนคิดวาการท่ีนองเจมสชอบดูรายการ ๑๐๘ วิธีฆาตกรรม มีผลกระทบตอนองเจมสหรือไม

อยางไร

……………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 27: เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว

เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว

๒๗

แบบทดสอบหลังเรียนแบบฝกทักษะเลมที่ ๑

คําช้ีแจง

๑.แบบทดสอบกอนเรียน ฉบับน้ีใชทดสอบความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการอานอยางมีวิจารณญาณ

แบบฝกทักษะเลมที่ ๑ สืบคน วิเคราะห เจาะขาว

เปนแบบทดสอบปรนัย แบบเลือกตอบ ๔ ตัวเลือก จํานวน ๑๐ ขอ ขอละ ๑ คะแนนใชเวลาในการทดสอบ ๑๐ นาที

๒.ใหนักเรียนอานขอคําถามและคําตอบใหละเอียด เลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว

แลวนําไปตอบลงในกระดาษคําตอบ โดยทําเครื่องหมาย X ลงในชองตัวเลือกที่ตองการ

๓.ใหนักเรียนทําแบบทดสอบใหครบทุกขอ

อานขาวตอไปนี้แลวตอบคําถามขอท่ี ๑-๕

นักเรียน ปวช.หึงโหดแทงคูอริดับ

หนุม ปวช.ชะตาขาด ถูกเพื่อนโรงเรียนเดียวกันแทงดับอนาถ กอนรอมอบตัว เผยเหย่ือเขามาเคลียร

ปญหาแฟนเกาจนมีปากเสียงข้ันชกตอย สูไมไหวใชเหล็กแทง ตร.คาดแฟนสาวเคยเปนแฟนเกาผูตาย

พ.ต.ต.ปติพันธ กฤดากร ณ อยุธยา สว.สป.สน.ดินแดง รับแจงจากศูนยวิทยุวาเกิดเหตุทะเลาะวิวาท

มีผูไดรับบาดเจ็บภายในบริเวณกองดุริยางคทหารบก ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กทม.

จึงไปตรวจสอบที่เกิดเหตุที่บริเวณลาดจอดรถแฟลตทหาร ภายในรั้วกองดุริยางคทหารบก เจาหนาที่พบกองเลือด

และนายกิตติพงษ พงษเจื่อ อายุ ๒๐ ปนักเรียน ปวช.ป ๑ โรงเรียนพานิชยการสยาม ยืนถือเหล็กปลายแหลม

มีเลือดติด โดยยอมรับวาใชเหล็กแทงนายลิขิต ทองดี อายุ ๑๙ ป นักเรียน ปวช. ป ๑ โรงเรียนเดียวกันจนไดรับ

บาดเจ็บพลเมืองดีนําสงโรงพยาบาลและเสียชีวิตในเวลาตอมา

นายกิตติพงษ ยอมรับวาแทงนายลิขิตถึงแกความตายจริง โดยกอนเกิดเหตุมีเรื่อง ทะวิวาทกับผูตาย

หลังจากที่นายลิขิต เดินทางมาเพื่อเคลียรปญหากับ น.ส.นก แอบเพ็ชร กอนหนาเคยเปนแฟนนายลิขิต พูดคุย

กันจนมีปากเสียงและถึงข้ันทะเลาะวิวาท เกิดชกตอยกันข้ึน นายกิตติพงษ สูไมไหว จึงใชเหล็กขูดชารปแทง

นายลิขิตและรอมอบตัว

เจาหนาตํารวจดําเนินคดีในขอหาฆาผูอื่น และพกอาวุธ (เหล็กปลายแหลม) ไปในเมือง หมูบาน หรือทาง

สาธารณะ โดยไมมีเหตุจําเปน และไมมีเหตุอันควร

คมชัดลึก ๒๔ กุมภาพันธ ๒๕๕๒ หนา ๓

Page 28: เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว

เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว

๒๘

๑. ขาวขางตนเปนขาวประเภทใด

ก. ขาวธุรกิจ

ข. ขาวเศรษฐกิจ

ค. ขาวอาชญากรรม

ง. ขาวการเมือง

๒. “นักเรียนปวช.หึงโหดแทงคูอริดับ” จากขอความน้ี คือสวนใดของขาว

ก. เน้ือขาว

ข. พาดหัวขาว

ค. สวนเช่ือม

ง. ความนํา

๓. นักเรียนเห็นดวยหรือไม กับการกระทําของนายกิตติพันธที่ใชเหล็กแทงนายลิขิต

ก. เห็นดวย เพราะแคนที่นายลิขิตยังมาของแวะแฟนสาวอีก

ข. เห็นดวย เพราะเปนตัวอยางใหกับคูรักอื่น ๆ ที่มีปญหาเชนน้ี

ค. ไมเห็นดวย เพราะเปนการกระทําที่เกินเหตุ

ง. ไมเห็นดวย เพราะไมเชนแนวทางแกปญหาใหหมดไปได

Page 29: เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว

เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว

๒๙

๔. ทําอยางไร จึงจะปองกันไมใหเกิดเหตุการณเชนน้ี

ก. พอ แม ครูควรดูแลเอาใจใสอยางใกลชิด

ข. พอแมควรเปนที่ปรึกษาใหลูก

ค. นักเรียนไมควรริรักในวัยเรียน

ง. ครูควรสอนทักษะชีวิต

๕ . นักเรียนคิดวาอะไรคือสาเหตุสําคัญที่สุดที่ทําใหเกิดเหตุการณเชนน้ี

ก. น.ส.นก แอบเพ็ชร เปนคนหลายใจ

ข. นายกิตติพันธ เปนวัยรุนใจรอน

ค. ทางวิทยาลัยไมเอาใจใสนักเรียนเทาที่ควร

ง. นักเรียนไมไดรับความเอาใจใสจากคร ูและผูปกครอง

Page 30: เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว

เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว

๓๐

อานขาวตอไปน้ีแลวตอบคําถามขอที่ ๖-๑๐

ตะลึงเด็กวัย ๑๒ ปวยโรคพิสดาร อาการประสาทถดถอยสมองสวนกลางหด พบยากแค ๑ ในลาน

พี่ชายเปน-ตายไปแลว นองจาบ อายุ ๑๒ ปจากเด็กที่อวนทวนสมบูรณแข็งแรง ฉลาดเกินวัยเรียนเกง

จูๆ กลับตาพรามัวจนบอดสนิท พูดจาออแอไมรูเรื่อง เหมือนหวนกลับมาเปนทารกแถมเดินไมได ตองนอนใหอาหาร

ทางสายยางรางกายผายผอมเหลือแตหนังหุมกระดูก พอเผยลูกชายคนแรกปวยเปนโรคประหลาดแบบเดียวกันจนตาย

ตอนอายุ ๖ ขวบ หมอระบุเปนโรคแปลกพบไดแค ๑ ในลานเทาน้ัน ตองผาตัดเปลี่ยนไขสันหลัง โอกาสรอด รอยละ

๕๐: ๕๐

เด็กปวยเปนโรคประหลาดรายน้ีช่ือเด็กชายกฤษกรณ คาชัยวงค หรือนองจาบ อายุ ๑๒ ป นร. ช้ัน ป.๕

บานเลขที ่๑ หมู ๒ บานปาตาล ต. เถินบุร ีอ.เถิน จ. ลําปาง คือเปนโรคประสาทถดถอย จากเคยที่เปนเด็กเรียนเกง

สอบไดเกรด ๔ ทุกวิชา เฉลียวฉลาดเกินวัยเหมือนผูใหญ ตอมากลับลมปวย พัฒนาการทางสมองถดถอยลง

กลับเหมือนเด็กวัยทารก โดยเริ่มจากอาการตาพรามัวมองไมเห็น มักจะเดินชนผนังหองอยูบอย ๆ จนครูและเพื่อน

นักเรียนตองชวยกันดูแลขณะเขารวมกิจกรรม พูดจาออแอไมเปนภาษา และเขียนหนังสือไมได พอแมพาไปรักษาตัว

มาหลายโรงพยาบาลแตไมหายขาด สุดทายตองมารักษาตัวที่บานตามยถากรรม จนอาการทรุดหนัก และมีอาการ

เกร็งตามกลามเน้ืออยูบอยครั้ง

แมเด็กเลาวาเคยมีลูกคนแรกเปนชายช่ือนองเมท หลังคลอดก็แข็งแรงสมบูรณทุกอยาง มีพัฒนาการ

เหมือนเด็กทั่วๆไปกระทั้งอายุ ๔ ขวบ เกิดลมปวยดวงตาพรามัวมองไมเห็น พาไปหาหมอ ถึง รพ.กรุงเทพฯ แหงหน่ึง

หมดตรวจดูอาการ แลวบอกวารักษายาก เพราะเปนโรคที่โอกาสปวยแค ๑ ในลานรายเทาน้ัน แตไมบอกวาเปนโรค

อะไร แถมบอกวาถาเปนลูกผูหญิงมีโอกาสรอดสูง แตเปนลูกชาย โอกาสอดเพียง รอยละ ๑๐ หมอก็รักษา

จนสุดความสามารถ และพาลูกกลับมารักษาตัวที่บานและเสียชีวิตลงใน ๒ ปตอมา

ตอมาทีมแพทยที่เช่ียวชาญทางสมอง วินิจฉัยอาการและเอ็กซเรยดู อาการของนองจาบวา เปนโรคประหลาด

เชนเดียวกับลูกคนแรก คือสมองสวนกลางมีลักษณะหดตัว มีรอยแยกหางออกจากกัน การเจริญเติบโตของสมอง

ไมตอเน่ือง มีลักษณะถดถอย สงผลใหประสาทสวนกลางทํางานผิดปกติ เปนโรคที่พบยากมาในประเทศไทย

โอกาสเปนแค ๑ ในลานคนเทาน้ัน แตเคยพบมาแลวที่ญี่ปุน การรักษามีวิธีเดียวคือ การผาตัดปลูกถายไขสันหลังใหม

แตมีโอกาสรอดเพียง รอยละ ๕๐ เทาน้ัน

เดลินิวส ๔ มิถุนายน ๒๕๕๒ หนา ๒

Page 31: เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว

เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว

๓๑

๖. ขาวขางตนเปนขาวประเภทใด

ก. ขาวการเมือง

ข. ขาวเศรษฐกิจ

ค. ขาวธุรกิจ

ง. ขาวสังคม

“ตะลึงเด็กวัย ๑๒ ปวยโรคพิสดาร อาการประสาทถดถอย สมองสวนกลางหด พบยาก

แค ๑ ในลานพี่ชายเปน-ตายไปแลว นองจาบ อายุ ๑๒ ป จากเด็กที่อวนทวนสมบูรณแข็งแรง

ฉลาดเกินวัย เรียนเกง จูๆ กลับตาพรามัวจนบอดสนิท พูดจาออแอไมรูเรื่อง เหมือนหวน

กลับมาเปนทารกแถมเดินไมได ตองนอนใหอาหารทางสายยางรางกายผายผอมเหลือ

แตหนังหุมกระดูก พอเผย ลูกชายคนแรก ปวยเปนโรคประหลาดแบบเดียวกัน จนตายตอน

อายุ ๖ ขวบ หมอระบุเปนโรคแปลกพบไดแต ๑ ในลานเทาน้ัน ตองผาตัดเปลี่ยนไขสันหลัง

โอกาสรอด รอยละ ๕๐: ๕๐”

๗. ขอความที่ปรากฏในขาวสวนที่ยกมาน้ีเปนองคประกอบใดของขาว

ก. พาดหัวขาว

ข. ขาวนา

ค. สวนเช่ือม

ง. เน้ือขาว

Page 32: เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว

เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว

๓๒

๘. นักเรียนคิดวาอะไรคือสาเหตุสําคัญของการเกิดโรคน้ี

ก. เกิดจากพันธุกรรม

ข. เกิดจากโรคเน้ืองอกในสมอง

ค. เกิดจากสมองไดรับความกระทบกระเทือน

ง. เกิดจากเด็กใชสมองมากเกินไป

๙. การผาตัดเปลี่ยนไขสันหลังผาตัดใครกับใคร

ก. ของตัวเราเอง

ข. ของญาติฝายพอ

ค. ของญาติฝายแม

ง. บุคคลในสายเลือดเดียวกัน

๑๐. หากนักเรียนเปน พอ หรือแม ของนองจาบนักเรียนจะทําอยางไรจึงจะปองกัน

ไมใหเกิดโรคแบบน้ีอีก

ก. ตรวจสุขภาพประจําป

ข. ปองกันไมใหมีลูก

ค. มีลูกไดแตตองระวังและทําใจ

ง. ปรึกษาแพทยทุกป

Page 33: เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว

เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว

๓๓

เฉลยแบบฝกทักษะกอนเรียน- หลังเรียน

เลมที่ ๑ สืบคนวิเคราะหเจาะขาว

ขอท่ี ๑ ข

ขอท่ี ๒ ง

ขอท่ี ๓ ง

ขอท่ี ๔ ก

ขอท่ี ๔ ง

ขอท่ี ๖ ง

ขอท่ี ๗ ง

ขอท่ี ๘ ง

ขอท่ี ๙ ค

ขอท่ี ๑๐ ค

Page 34: เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว

เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว

๓๔

บรรณานุกรม

“ตะลึงเด็กวัย ๑๒ ปวยโรคพิสดาร” เดลินิวส. ๔ มิถุนายน ๒๕๕๒. หนา ๒

“นักเรียนปวช.หึงโหดแทงคูอริดับ”. คมชัดลึก. ๒๔ กุมภาพันธ ๒๕๕๒. หนา ๓

ประภาศร ีสีหอาไพ. (๒๕๔๕). วัฒนธรรมทางภาษา. พิมพครั้งที ่๒. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ภาพปริศนาลวงตา. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก

http://www.watcharina.com/board/index.php?topic=๒๘๒.๐ ( วันที่คนขอมูล: ๑๕ เมษายน ๒๕๕๒)

แววมยุรา เหมือนนิล. (๒๕๔๑) การอานจับใจความ. พิมพครั้งที ่๒. กรุงเทพมหานคร : ชมรมเด็ก

เสริมศร ีหอทิมวรกุล. (๒๕๔๐ ). การพัฒนาทักษะการอานระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ, เอกสารการสอน

ชุดวิชาการสอนกลุมทักษะ ๑ (ภาษาไทย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

สุวัฒน วิวัฒนานนท. (๒๕๕๐) ทักษะการอาน คิดวิเคราะห และเขียน. พิมพครั้งที ่๒ . นนทบุร:ี

ซี.ซ.ี นอลลิดจลิงคส

สุวิทย มูลคํา. ครบเครื่องเรื่องการคิด (๒๕๔๗ ). พิมพครั้งที ่๖. กรุงเทพมหานคร: หางหุนสวนภาพพิมพ