Author
others
View
1
Download
0
Embed Size (px)
STO2403 หลักการระบาดวิทยาในงานอาชีวอนามัย
(Principles of Occupation Health Epidemiology)
2
เนื้อหา นิยามและขอบเขตของระบาดวิทยา
จุดมุ่งหมายของระบาดวิทยา
ประโยชน์ของระบาดวิทยา
ข้อแตกต่างของระบาดวิทยาและเวชศาสตร์คลินิก
แขนงวิชาที่เกี่ยวข้อง
1. ความรู้พื้นฐานทางระบาดวิทยา
3
ระบาดวิทยา (Epidemiology)
เป็นแขนงวิชาหนึ่งทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ
หลักการและวิธีการทางระบาดวิทยา สามารถน าไปใช้ศึกษาเกี่ยวกับโรคและการให้บริการสาธารณสุขต่างๆ และแขนงวิชาที่เกี่ยวข้อง
ช่วยในการค้นหาสาเหตุของโรค และปัญหาด้านอนามัยต่างๆ
เป็นแนวทางในการป้องกันและควบคุมโรค การวางแผนงานสาธารณสุข และพัฒนางานอนามัย
เป็นวิชาพื้นฐานของเวชศาสตร์ชุมชน เวชศาสตร์ป้องกัน และสาธารณสุข
สามารถช่วยหาสาเหตุของโรคระบาด โรคติดเชื้อ โรคเรื้อรัง และโรคไร้เชื้อ
ท าให้เข้าใจธรรมชาติของการเกิดโรค สาเหตุและการด าเนินของโรค
ระบาดวิทยา/วิทยาการระบาด
4
ระบาดวิทยา (Epidemiology)
ช่วยในการประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการรักษาและการป้องกันโรคต่างๆ
น าไปประยุกต์ใช้ทางด้านการแพทย์ สาธารณสุข และสังคมศาสตร์
ระบาดวิทยา/วิทยาการระบาด
5
Definition and Scope of Epidemiology
ระบาดวิทยา (Epidemiology) ก าเนิดตั้งแต่ ค.ศ. 1850 โดย London Epidemiology Society ซึ่งตั้งขึ้นเพื่อจุดประสงค์ในการพิจารณาหาสาเหตุและวางมาตรการในการป้องกันและควบคุมโรคอหิวาต์
ค.ศ. 1927 นักระบาดวิทยาได้จ าแนกและให้ค านิยามต่างๆ ไว้มากมาย แต่ไม่เป็นที่ยอมรับของนักระบาดวิทยา
ค.ศ. 1970 MacMahon and Pugh ได้ให้นิยามทางด้านระบาดวิทยา และเป็นที่นิยมใช้มากที่สุด
“Epidemiology is the study of the distribution and determinants of disease frequency in man”
“วิทยาการระบาด คือ การศึกษาเกี่ยวกับการกระจายของโรค และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกระจายของโรคในมนุษย์”
นิยามและขอบเขตของระบาดวิทยา
6
Definition and Scope of Epidemiology
รากศัพท์ของ “Epidemiology” มาจากภาษากรีก
EPI = ON หรือ UPON
DOMOS = PEOPLE
LOGOS = KNOWLEDGE , DOCTRINE ,SCIENCE
ดังนั้น “Epidemiology” สื่อถึง วิทยาการที่เกี่ยวข้องกับประชาชน/คน
นิยามและขอบเขตของระบาดวิทยา
7
Definition and Scope of Epidemiology
“Epidemiology”
“ ศาสตร์หรือวิทยาการที่ว่าด้วยปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อประชากร” เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการกระจายและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะหรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพของมนุษย์ และการศึกษาถึงการน าผลการศึกษาดังกลา่วไปใช้ในการควบคุมปัญหา
นิยามและขอบเขตของระบาดวิทยา
8
Definition and Scope of Epidemiology
“Epidemiology”
ความหมายของระบาดวิทยา หมายถึง การศึกษาที่ครอบคลุมประเด็นดังต่อไปนี้
การกระจายของโรค
Distribution
ปัจจัยหรือองค์ประกอบท่ีมีอิทธิพลต่อการกระจายของโรค
Determinant
ประชากรมนุษย์
Human Population
นิยามและขอบเขตของระบาดวิทยา
9
Definition and Scope of Epidemiology
“Epidemiology”
ความหมายของระบาดวิทยา หมายถึง การศึกษาที่ครอบคลุมประเด็นดังต่อไปนี้
การเปลี่ยนแปลงหรือพลวัตของโรค
Dynamic of Disease
ภาวะที่เป็นโรคและไม่ใช่โรค
Disease and Non-disease conditions
โรคติดเชื้อและโรคไร้เชื้อ
Infectious and Non-infectious Diseases
นิยามและขอบเขตของระบาดวิทยา
10
Definition and Scope of Epidemiology
“Epidemiology”
ความหมายของระบาดวิทยา หมายถึง การศึกษาที่ครอบคลุมประเด็นดังต่อไปนี้
การป้องกันและควบคุมโรค
Preventive and Control
นิยามและขอบเขตของระบาดวิทยา
11
Definition and Scope of Epidemiology
ระบาดวิทยาถือก าเนิดมาจากการศึกษาการระบาดของโรคติดเชื้อต่างๆ (Infectious Diseases)
ค.ศ. 1854, John Snow ศึกษาสาเหตุการระบาดของโรคอหิวาต์ในกรุงลอนดอน
สาเหตุ: แหล่งน้ าประปาปนเปื้อนด้วยน้ าเสียและสิ่งสกปรก
ต่อมาโรคติดเชื้อต่างๆ ได้ลดน้อยลง ในขณะที่โรคไร้เชื้อ (Non-Infectious Disease) เริ่มเป็นปัญหามากขึ้นในประเทศที่พัฒนาแล้ว เช่น
โรคหัวใจ
โรคมะเร็ง
โรคเส้นเลือดในสมองตีบตัน
นิยามและขอบเขตของระบาดวิทยา
12
Scope of Epidemiology
โรคติดเชื้อ (Infectious diseases)
- การหาสาเหตุของโรค
- การศึกษาธรรมชาติของโรค
- การสืบสวนการระบาดของโรค
- การเฝ้าระวังโรค
- การวางมาตรการป้องกันและควบคุมโรค
โรคไร้ติดเชื้อ (Non-Infectious diseases)
- การหาสาเหตุของโรค
- การศึกษาธรรมชาติของโรค
- การสืบสวนการระบาดของโรค
- การเฝ้าระวังโรค
- การวางมาตรการป้องกันและควบคุมโรค
ขอบเขตของระบาดวิทยา
13
Scope of Epidemiology
บริการด้านแพทย์และอนามัย (Medical and health care)
- การวางแผนงานอนามัย
- การประเมินผล
งานอนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย
(Environmental and Occupational Health)
- การหาศึกษาแนวโน้มของอากาศเป็นพิษ
- การสืบสวนสาเหตุของตะกั่วเป็นพิษ
งานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น
- งานวิจัยบริการสาธารณสุข (Health Services Research)
ขอบเขตของระบาดวิทยา
14
Purposes of Epidemiology
1. ศึกษาถึงการกระจายของโรคในชุมชนตามบุคคล (Person) สถานที่ (Place) เวลา (Time) และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกระจายของโรคในชุมชน
2. ศึกษาถึงปัจจัยที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค หรือปัจจัยเสี่ยง (Risk Factors) และสาเหตุของโรค (Etiologic Agent)
3. ศึกษาถึงปัจจัยที่เป็นสาเหตุของการระบาดของโรค
4. ศึกษาถึงแนวทางในการป้องกันและควบคุมโรค
จุดมุ่งหมายของระบาดวิทยา
15
Use of Epidemiology
ช่วยค้นหาสาเหตุของโรค (Etiology) และปัจจัยที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค (Risk Factors)
ช่วยสืบสวนสาเหตุในการระบาดของโรค
ช่วยให้ทราบถึงแนวทางในการป้องกัน และการควบคุมโรค
ช่วยอธิบายธรรมชาติของการเกิดโรค (Natural history of disease)
เป็นประโยชน์ต่องานบริการด้านการแพทย์ และอนามัย (Medical and health care)
ความรู้เกี่ยวกับระบาดวิทยาของโรคต่างๆ ใช้ในการจัดกลุ่มโรค
เป็นประโยชน์ต่องานวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ (Health science research)
ประโยชน์ของระบาดวิทยา
16
Scope of Epidemiology
การประยุกต์ใช้ระบาดวิทยาในงานแพทย์และสาธารณสุข ตลอดจนงานในสาขาต่างๆ
1. ระบาดวิทยาคลินิก
(Clinical Epidemiology)
2. ระบาดวิทยาเชิงสังคม
(Social Epidemiology)
3. ระบาดวิทยาและการวิจัยบริการสาธารณสุข
(Epidemiology and health service research)
4. ระบาดวิทยาและสาธารณสุขมูลฐาน
(Epidemiology and primary health care)
ขอบเขตของระบาดวิทยา
17
Clinical Epidemiology
1. ระบาดวิทยาคลินิก (Clinical Epidemiology)
ช่วยในการดูแลรักษาผู้ป่วย
ท าให้ผู้ป่วยได้รับบริการสุขภาพอนามัยดีขึ้น
มีการพิจารณาปัญหาต่างๆ อย่างสมเหตุสมผล
มีการน าข้อมูลทางคลินิกมาวิเคราะห์อย่างถูกต้อง
น าผลการวิเคราะห์ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในการดูแลผู้ป่วย
18
Social Epidemiology
2. ระบาดวิทยาเชิงสังคม (Social Epidemiology)
สุขภาพอนามัย เป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องกับ
สิ่งแวดล้อมต่างๆ ทางเคมี ทางกายภาพ ทางชีวภาพ และทางสังคม
สาเหตุของการเกิดโรค อันเนื่องมาจากปัจจัยทางจิตวิทยาสังคม (Psychosocial Factor)
โรคที่เป็นปัญหาสาธารณสุขหลายโรค มีผลสืบเนื่องมาจากปัจจัยทางสังคม เช่น
- การติดสารเสพติด
- โรคพิษสุราเรื้อรัง
- โรคจิต โรคประสาท
- กามโรค
- ไข้มาลาเรีย
- โรคเบาหวาน
- โรคหัวใจ เป็นต้น
19
Epidemiology and Health Service Research
3. ระบาดวิทยาและการวิจัยบริการสาธารณสุข
(Epidemiology and health service research)
เป็นการศึกษาระบบวิธีการทางชีวการแพทย์ และความรู้ อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องไปใช้ในเรื่องสุขภาพอนามัยของบุคคลและชุมชนภายใต้สภาวะที่ก าหนด
เกี่ยวข้องกับวิธีการให้บริการอนามัยเพื่อให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
การเพิ่มอัตราครอบคลุมของการให้บริการ
การพัฒนาบุคลกรสาธารณสุขในการให้บริการ
การประยุกต์เทคโนโลยีและรูปแบบที่เหมาะสมในการให้บริการอนามัย
20
Epidemiology and Health Service Research
3. ระบาดวิทยาและการวิจัยบริการสาธารณสุข
(Epidemiology and health service research)
เป็นวิทยาการหลักในการวิจัยเรื่องการบริการสาธารณสุข โดยมีแขนงวิชาอื่นเข้ามามีบทบาทที่ส าคัญ
เช่น สังคมศาสตร์
การบริหารงาน
สังคมจิตวิทยาและสถิติ
การวิจัยบริการสาธารณสุข เป็นองค์ความรู้ที่ส าคัญในการพัฒนาอนามัยในชุมชนและประชากร
21
Epidemiology and Primary Health Care
4. ระบาดวิทยาและสาธารณสุขมูลฐาน
(Epidemiology and primary health care)
ต้องน าหลักและวิธีการทางระบาดวิทยา มาช่วยในการวางแผนด าเนินงาน
ช่วยในการประเมินผลงานสาธารณสุขมูลฐานชุมชน
ช่วยในการศึกษาปัจจัยเสี่ยงและสาเหตุของโรคและปัญหาสุขภาพอนามัยต่างๆ
พัฒนาเครื่องมือ และวิธีการต่างๆ ในการตรวจค้นผู้ป่วยระยะเริ่มแรก หรือผู้ป่วยที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคสูง
22
ข้อแตกต่างระหว่างระบาดวิทยาและเวชศาสตร์คลินิก
ระบาดวิทยา
เป็นวิทยาการทางวิทยาศาสตร์สุขภาพสาขาหนึ่ง
ศึกษาเกี่ยวกับการกระจายของโรคและเปลี่ยนแปลงของโรคในประชากร
ศึกษาปัจจัยที่เป็นสาเหตุของโรค สาเหตุการระบาดของโรค และนิเวศน์วิทยาของโรค
เวชศาสตร์คลินิก (Clinical Medicine)
เป็นวิชาการทางวิทยาศาสตร์สุขภาพแขนงหนึ่ง
เกี่ยวข้องกับการตรวจวินิจฉัยโรค และการรักษาโรค
23
ข้อแตกต่างระหว่างระบาดวิทยาและเวชศาสตร์คลินิก
หัวข้อ ระบาดวิทยา เวชศาสตร์คลินิก
ประชากรที่เกี่ยวข้อง ประชากรในชุมชนทั้งหมด ทั้งที่ป่วยและไม่ป่วย
ผู้ป่วยที่มารับบริการ
ขอบเขตของงาน ศึกษาเกี่ยวกับ
การกระจายของโรคในชุมชน
การสืบสวนสาเหตุของโรค
การสืบสวนสาเหตุการระบาดของโรค
การวางมาตรการป้องกัน และควบคุมโรค
ศึกษาเกี่ยวกับ
การวินิจฉัย
การรักษาโรค
จุดเริ่มต้นของงาน นักระบาดวิทยา ผู้ป่วยที่มารับบริการ
24
ข้อแตกต่างระหว่างระบาดวิทยาและเวชศาสตร์คลินิก
หัวข้อ ระบาดวิทยา เวชศาสตร์คลินิก
ความสัมพันธ์ระหว่างนักวิชาชีพต่อประชากร
เป็นความสัมพันธ์ในลักษณะหนึ่งต่อจ านวนมาก
เป็นคามสัมพันธ์ในลักษณะหนึ่งต่อหนึ่ง
เกณฑ์ที่ใช้วัดความส าเร็จ จ านวนประชากรที่ไม่เจ็บป่วย
จ านวนผู้ป่วยที่รักษาหายหรือทุเลาอาการ
25
Related disciplines
แขนงวิชาที่เกี่ยวข้อง
ระบาดวิทยา เป็นแขนงวิชาหนึ่งทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ ซึ่งน าความรู้จากแขนงวิชาในด้านต่างๆ มาช่วยเสริมสร้างความรู้ในสมบูรณ์มากขึ้น
26
Related disciplines
แขนงวิชาที่เกี่ยวข้อง คือ
เวชศาสตร์คลินิก (Clinical Medicine)
พยาธิวิทยา (Pathology)
จุลชีววิทยา (Microbiology)
ปาราสิตวิทยา (Parasitology)
ชีวสถิติ (Biostatistics)
ประชากรศาสตร์ (Demography)
แขนงวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น เวชศาสตร์ชันสูตร รังสีวิทยา
27
Related disciplines
แขนงวิชาที่เกี่ยวข้อง
แขนงวิชาที่เกี่ยวข้องเหล่านี้ ช่วยในการศึกษาทางระบาดวิทยา โดยช่วยให้การศึกษาระบาดวิทยาในด้านต่างๆ มีความถูกต้องและความเชื่อถือมากขึ้น
แขนงวิชาต่างๆ เหล่านี้ มีส่วนช่วยดังนี้
การศึกษาทางระบาดวิทยา
ต้องมีเกณฑ์ในการก าหนดผู้ป่วย (Defining disease) เพื่อให้ได้ผู้ป่วยที่มีลักษณะแบบเดียวกัน ซึ่งต้องอาศัยความรู้ทางเวชศาสตร์คลินิก พยาธิวิทยา เวชศาสตร์ชันสูตร รังสีวิทยา เป็นต้น
เช่น ผู้ป่วยไข้ไทฟอยด์ ต้องอาศัยผลจากการตรวจร่างกาย และการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ผู้ป่วยมะเร็ง ต้องอาศัยผลจากการตรวจทางพยาธิวิทยา และรังสีวิทยา
28
Related disciplines
แขนงวิชาที่เกี่ยวข้อง
แขนงวิชาต่างๆ เหล่านี้ มีส่วนช่วยดังนี้
การศึกษาเกี่ยวกับสาเหตุของโรค
อาศัยความรู้จากแขนงวิชาอื่นมาประกอบในการศึกษาด้วย สิ่งที่ท าให้เกิดโรคอาจมีสาเหตุมาจากทาง
- เคม ี
- ฟิสิกส์
- จุลชีพต่างๆ
ความรู้เกี่ยวกับสิ่งที่ท าให้เกิดโรคเหล่านี้ มีความส าคัญเพราะช่วยสนับสนุนว่า
“สิ่งที่ท าให้เกิดโรค (Agent) และปัจจัยต่างๆ นั้น เป็นสาเหตุของโรคหรือไม่”
29
Related disciplines
แขนงวิชาที่เกี่ยวข้อง
แขนงวิชาต่างๆ เหล่านี้ มีส่วนช่วยดังนี้
การศึกษาทางระบาดวิทยา
อาศัยความรู้เกี่ยวกับลักษณะของประชากร
เช่น การกระจายของประชากรตามเพศและอายุ ระดับการศึกษา อาชีพ ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม เป็นต้น
30
แขนงวิชาที่เกี่ยวข้อง
แขนงวิชาต่างๆ เหล่านี้ มีส่วนช่วยดังนี้
ความรู้พื้นฐานทางสถิติ
ช่วยในการศึกษาทางระบาดวิทยามาก เช่น
- การออกแบบศึกษาทางระบาดวิทยา
- การสุ่มตัวอย่าง
- การรวบรวมข้อมูล
- การวิเคราะห์ข้อมูล
- การแปลผล เป็นต้น
Related disciplines
31
Conclusion
สรุป
ระบาดวิทยา หรือวิทยาการระบาด หมายถึง
แขนงวิชาหนึ่งทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการกระจายของโรคในชุมชน ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกระจายของโรค หรือการเกิดโรคในประชากรมนุษย์ และการเปลี่ยนแปลงของโรค
ระบาดวิทยาศึกษาภาวะที่เปน็และภาวะทีไ่ม่ใช่โรค
ศึกษาทั้งโรคติดเชื้อและโรคไร้เชื้อ
เป็นวิชาพื้นฐานของเวชศาสตร์ชุมชน เวชศาสตร์ป้องกันและสาธารณสุข
มีประโยชน์และมีความส าคัญในทางการแพทย์และสาธารณสุข
ช่วยค้นหาสาเหตุของโรคและปัจจัยเสี่ยงของโรค
32
Conclusion
สรุป
ระบาดวิทยา หรือวิทยาการระบาด หมายถึง
ช่วยสืบสวนสอบสวนถึงสาเหตุการระบาดของโรค
ช่วยวางแนวทางในการป้องกันและควบคุมโรค
ท าให้สุขภาพและอนามัยของชุมชนดีข้ึน