132
ความพึงพอใจในงานและความผูกพันของพนักงานตอองคการ ศึกษากรณี บริษัท ฟาบริเนท จํากัด Job Satisfaction and Engagement of Employees : A Case Study of Fabrinet Co., Ltd. ภาวนา เวชกิจ สารนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การพัฒนาทรัพยากรมนุษยและองคการ) คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร .. 2550

Job Satisfaction Engangementlibrary1.nida.ac.th/termpaper5/hrd/2550/19308.pdf · Fabrinet Co., Ltd. Author Phawana Veachakij Degree Master of Science (Human Resource and Organization

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    1

Embed Size (px)

Citation preview

  • ความพึงพอใจในงานและความผูกพันของพนักงานตอองคการ ศึกษากรณี บริษัท ฟาบริเนท จํากัด

    Job Satisfaction and Engagement of Employees : A Case Study of Fabrinet Co., Ltd.

    ภาวนา เวชกิจ

    สารนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การพัฒนาทรัพยากรมนุษยและองคการ)

    คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร

    พ.ศ. 2550

  • 3

    บทคัดยอ ชื่อสารนพินธ ความพึงพอใจในการทํางาน และความผูกพันของพนักงานตอองคการ

    ศึกษากรณี บริษัท ฟาบริเนท จาํกัด ชื่อผูเขียน ภาวนา เวชกจิ ชื่อปริญญา วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การพัฒนาทรัพยากรมนษุยและองคการ) อาจารยที่ปรกึษา ผศ.ดร. วิชยั อุตสาหจิต ปการศึกษา 2550 การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจ ปจจยัที่สงผลกระทบในการทํางานและความผูกพันของพนกังานตอองคการ และศึกษาความสมัพันธระหวางปจจัยสวนบุคคลกับความพงึพอใจในการทํางานและความผูกพนัของพนกังานตอองคการของพนักงานบริษัท ฟาบริเนท จํากัด กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาคือ พนักงานบริษทั ฟาบริเนท จาํกัด (โชคชัย) จํานวน 331 คน โดยใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือในการศึกษา ประมวลผลขอมลูดวยคอมพวิเตอรโดยโปรแกรม SPSS for Windows Version 15.0 สถิติที่ใชในการวิเคราะหและนําเสนอขอมูลไดแก คาเฉลี่ย คารอยละ คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test, F-test (One way Analysis of Variance : ANOVA) หากพบความแตกตางของการทดสอบแบบ F-test จะทําการทดสอบที่ละคูดวยวิธกีารของเชฟเฟ (Scheffe), X2-test (Chi-square test) และสัมประสิทธิ์สหสัมพนัธแบบเพียรสัน (Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient :r) ผลการศึกษาพบวา

    1. กลุมตัวอยางสวนใหญเปนเพศหญิง มีอายุระหวาง 26 – 35 ป มีสถานภาพโสด จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เปนพนักงานฝายการผลิต (Manufacturing) ในตําแหนงพนกังานปฏิบัติการ (DL1–DL3) มีระยะเวลาปฏิบัติงานกับองคการโดยเฉลี่ย 3.79 ป มีประสบ การณการทํางานเฉลีย่ 5.97 ป

    2. ระดับความพงึพอใจในงานและความผูกพันของพนักงานตอองคการ โดยรวมพบวา ความพงึพอใจในงานอยูในระดบัปานกลาง ความผูกพันของพนักงานตอองคการอยูในระดับสูง เมื่อแยกพิจารณาตัวแปรยอยในสวนของความพึงพอใจพบวา ความตั้งใจที่จะกาวหนาในการทาํงาน รูสึกพึงพอใจกบับริษัทในฐานะที่เปนทีท่ํางาน มีระดับความคิดเห็นอยูในระดับสูง ใน

  • 4

    สวนของความผูกพนัของพนกังานตอองคการ เมื่อแยกพจิารณาตัวแปรยอย พบวา พนกังานพรอมที่จะทุมเทความพยายาม ความสามารถเพือ่ความสําเร็จของบริษัทดวยความเต็มใจ พนักงานคิดวาองคการนีเ้ปรียบเสมือนบานหลงัที2่ และเมื่อมีผูกลาวถงึบริษทัในทางที่ไมดีผิดไปจากขอเทจ็จริง พนกังานจะรูสึกไมพอใจและจะพยายามชีแ้จงใหเขาเขาใจใหถูกตองเสมอ มีระดับความคิดเหน็อยูในระดับสูง

    3. ลักษณะงาน ลักษณะการปฏิบัติงาน ลักษณะองคการ มีความสมัพันธเชงิบวกระดับคอนขางสูงกับความพงึพอใจในงานอยางมีนยัสําคัญทางสถิติทีร่ะดับ.01 เมื่อแยกพิจารณาตัวแปรยอยพบวา ตัวแปรยอยทุกตัว คือ ลักษณะงาน ลักษณะการปฏิบัติงาน และลักษณะองคการ เปนตัวแปรทีม่คีวามสัมพันธกับความพงึพอใจในงานเชงิบวก

    4. ลักษณะงาน ลักษณะการปฏิบัติงาน ลักษณะองคการ มีความสมัพันธเชงิบวกระดับคอนขางสูง กบัความผกูพนัของพนักงานตอองคการอยางมนีัยสาํคัญทางสถิติทีร่ะดับ.01 เมื่อแยกพิจารณาตัวแปรยอยพบวา ลักษณะองคการมีความสัมพันธเชิงบวกระดับคอนขางต่าํ ในสวนลักษณะการปฏิบัติงาน และลักษณะงาน มีความสมัพนัธเชิงบวกระดบัปานกลาง

    5. ผลการทดสอบสมมติฐานพบวา เพศ อาย ุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา แผนก/ฝาย ทีสั่งกัด ระดับตําแหนงงาน ระยะเวลาทีป่ฏิบัติงานกับองคการ และประสบการณการทํางานตางกนั มีความพงึพอใจในการทํางานไมแตกตางกันอยางมีนยัสําคัญทางสถติิที่ระดับ.05

    6. ผลการทดสอบสมมติฐานพบวา เพศ อายุ และประสบการณการทาํงานตางกนัมีความผูกพนัตอองคการไมแตกตางกนัอยางมนีัยสาํคัญทางสถิติที่ระดบั.05 ในสวนสถานภาพสมรส ระดับการศึกษา แผนก/ฝายที่สังกัด ระดับตําแหนงงานและระยะเวลาที่ปฏิบัติงานกบับริษัทฟาบริเนทตางกันมีความผกูพนัตอองคการแตกตางกนัอยางมีนยัสําคัญทางสถิติที่ระดับ.05เมื่อพิจารณาความแตกตางของตัวแปรยอยพบความแตกตาง ดังตอไปนี้

    6.1. สถานภาพสมรส พบวา พนกังานที่มีสถานภาพสมรส โสด กับ สมรส มีความผูกพนัตอองคการแตกตางกนัอยางมนีัยสาํคัญทางสถิติที่ระดับ.05

    6.2. ระดับการศึกษา พบวาพนักงานที่มกีารศึกษาระดับมธัยมตน (ม.3) กับการศึกษาระดับปริญญาโท และมัธยมศกึษาตอนปลาย (ม.6) กับการศึกษาระดับปริญญาโท มีความผูกพนัตอองคการแตกตางกนั อยางมีนัยสาํคัญทางสถิติที่ระดับ.05

    6.3. แผนก/ฝายที่สังกัด พบวาพนกังานในฝายEngineering กับพนกังานฝาย Manufacturing มีความผูกพนัตอองคการแตกตางกนั อยางมนีัยสาํคัญทางสถิติที่ระดบั.05

    6.4. ระดับตําแหนงงาน พบวาพนักงานในระดบั EXEMPT (B1-B2) กับพนกังานในระดับ DL (DL1-DL3) มีความผูกพนัตอองคการแตกตางกัน อยางมนีัยสําคัญทางสถติิที่ระดับ.05

    (2)

  • 5

    6.5. ระยะเวลาทีป่ฏิบัติงานกับองคการ พบวาพนกังานทีท่ํางานกับบริษัทฟาบริเนท จาํกัดระหวาง 1-2 ป กับพนักงานทาํงานกับบริษทัฟาบริเนท มากกวา 5 ป มีความผกูพนัตอองคการแตกตางกนั อยางมนีัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ.05

    7. ผลการทดสอบสมมติฐานพบวาความพึงพอใจในงานมคีวามสัมพันธเชิงบวกระดับปานกลาง กับความผูกพนัของพนักงานตอองคการอยางมีนยัสําคัญทางสถิติที่ระดับ.01

    (3)

  • 6

    ABSTRACT

    Title Job Satisfaction and Engagement of Employees : A Case Study of Fabrinet Co., Ltd.

    Author Phawana Veachakij Degree Master of Science

    (Human Resource and Organization Development) Advisor Wichai Utsahajit, Ph.D Academic Year 2007

    The objectives of the study were to survey the level of satisfaction, factor affecting work and employee’s engagement, and to study the relationship between personal factors and the level of job satisfaction and employee’s engagement of Fabrinet Co., Ltd.

    The data were collected from the employees of Fabrinet Co., Ltd. The samples of 331 persons were requested to answer the questionnaire used in the study. The results were analyzed using SPSS for Windows Version 15.0. The statistics used in the analysis and presentations were “t-test”, “F-test” (One Way Analysis of Variance: ANOVA), Scheffe, X2–test (Chi-square test) and Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient: r.

    The findings were as the followings: 1. A majority of the sample were female who were 26 – 35 years old, single,

    finished high school, and working in the manufacturing level of Daily Labor (DL 1–DL 3). They had been working with the organization for 3.79 years in average whilst having work experience of 5.97 years in average.

    2. The level of job satisfaction and employee’s engagement to the organization was found that overall job satisfaction was at the medium level, while employee’s engagement was at the high level.

    a. When considering each factor of the satisfaction, it was found that the employee intention to progress in their career, satisfactory with the organization as the workplace were at the high level.

  • 7

    b. When considering each factor of the employee’s engagement to the organization, it was found that the employees were willing to work hard for the success of the organization. They recognized the company as their second home. Whenever there was any criticism, they would feel angry and try to clarify to those who misunderstood. The level of the employee’s engagement to the organization was at the high level.

    3. Job description, operations process, organization structure had positive correlation to the job satisfaction quite high at .01 significant level. When considering each factor, it was found that every single item, i.e. operations process, organization structure, and job description, was a significant factor correlated to the job satisfaction positively.

    4. Job description, operations process, and organization structure had the positive correlation to the employee’s engagement quite high at the statistical significant level of .01. When considering each factor, it was found that the organization structure had a low positive correlation whilst the operations process and job description had a medium positive correlation.

    5. The results were found that the differences in gender, age, marital status, educational level, division/section, position level, years of service and work experience did not provide a different level of job satisfaction at the statistical level of .05.

    6. The results were found that the differences in gender, age, and work experience did not have the differences in the organization engagement at the statistical level of .05. The differences in marital status, educational level, division/section, position level and years of service provided the different level of organization engagement at the statistical level of .05. When considering each factor, it was found that:

    6.1 Marital Status: The employees who were single and married had the

    different levels of organization engagement, at the statistical significant level of .05.

    6.2 Educational level: A pair of employees who finished grade 9 (M.3) and master degree compared to a pair of employee who finished grade 12

    (5)

  • 8

    (M.6) and master degree, there were a statistical significance at .05 to the organization engagement.

    6.3 Division/section: The employees in the engineering and manufacturing divisions had the different level of employee’s engagement, at the statistical significant level of .05.

    6.4 Position level: The employees in the EXEMPT (B1-B2) level and DL (DL1-DL3) level had the different level of employee’s engagement, at the statistical significant level of .05.

    6.5 Years of service: The employees who had been working with Fabrinet for 1-2 years had the different level of employee’s engagement at the statistical significant level of .05 when compared to those who had been working with the company for more than 5 years.

    7. The results were found that the job satisfaction had a medium positive correlation to the employee’s engagement at the statistical significant level of .01.

    (6)

  • 9

    กิตติกรรมประกาศ การวิจยั เร่ือง “ความพงึพอใจในงานและความผกูพนัของพนักงานตอองคการ : ศึกษาเฉพาะกรณี บริษัท ฟาบริเนท จาํกัด” ฉบับนี้ สําเร็จไดดวยความกรุณาอยางสูงจาก ผูชวยศาสตราจารย ดร.วิชยั อุตสาหจิต อาจารยที่ปรึกษาสารนิพนธ ทีไ่ดกรุณาสละเวลาใหคําปรึกษา แนะนาํ ตรวจแกไขขอบกพรอง และขอเสนอแนะทีม่ีคุณคายิ่งตองานวิจยัในครัง้นี้ นอกจากนี้ขอขอบคุณคณาจารย คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตรที่ไดถายทอดความรู ทกัษะ และประสบการณ อันเปนสมบัติอันล้ําคา ตลอดระยะเวลาที่ไดศึกษา ณ สถานบันแหงนี ้ ขอขอบคุณ ดร.ธีระ อัจฉริยะเผาพนัธ รองประธานบริหารและประธานบริหารดานปฏิบัติการ คุณไพรพรรณา โกพลรัตน ผูจัดการฝายทรัพยากรมนุษย ผูอํานวยการฝาย ผูจัดการแผนก/ฝาย หัวหนางาน และเพื่อนพนกังาน บริษัท ฟาบริเนท จํากัด ทุกทาน ที่ใหคําแนะนํา ชวยเหลือในการแจก การเกบ็แบบสอบถาม และที่กรุณาสละเวลาตอบแบบสอบถาม เพื่อนาํมาวจิัย ซึ่งหวังวาประโยชนจากสารนพินธฉบับนี ้ จะสามารถนาํไปพฒันาองคการใหเปนองคการแหงความสุข (Happiness Organization) ตอไป สุดทายขอขอบคุณครอบครัวเวชกิจ คุณสมมารถ พุมพทุรา คุณจิราพร นวมชัย อาจารยไพทัน ตระการศักดิกุล และเพือ่น ๆ ทกุคน ที่ใหความชวยเหลือ สงเสริม สนับสนนุ และใหกาํลังใจดวยความอบอุนเสมอมา ซึง่เปนสวนชวยใหสารนิพนธฉบับนีสํ้าเร็จลุลวงไปไดดวยดี

    ภาวนา เวชกจิ มิถุนายน 2550

  • 10

    สารบัญ

    หนา บทคัดยอ (1) ABSTRACT (4) กิตติกรรมประกาศ (7) สารบัญ (8) สารบัญตาราง (11) สารบัญแผนภาพ (13) บทที ่ 1 บทนาํ 1

    1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 1 1.2 วัตถุประสงคของการศกึษา 3 1.3 ขอบเขตและวิธีการศึกษา 4 1.4 กรอบแนวความคิดและวิธีการศึกษา 5 1.5 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 6 1.6 นิยามศพัท 6 1.7 แผนการดําเนนิการ 10

    บทที ่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และผลงานวจิัยที่เกีย่วของ 12 2.1 แนวคิดทฤษฎทีี่เกี่ยวของกับองคการ 12 2.1.1 ความหมายขององคการ 12 2.1.2 ทฤษฎอีงคการ 14 2.1.3 ทฤษฎอีงคการทีน่าํมาใชในทางปฏิบัติ 15

    2.1.4 ประโยชนจากการศึกษาทฤษฎีองคการ 18 2.1.5 พฤติกรรมองคการ 19 2.1.6 ประโยชนจากการศึกษาพฤติกรรมองคการ 21 2.2 แนวคิด ทฤษฎี ที่เกี่ยวของกับความพึงพอใจในงาน 21 2.2.1 ความหมายของความพึงพอใจในงาน 21 2.2.2 ความสําคัญของความพงึพอใจในงาน 23 2.2.3 ผลของการมีความพงึพอใจในงาน 23

  • 11

    หนา

    2.3 แนวคิด ทฤษฎี ที่เกี่ยวของกับความผูกพนัตอองคการ 24 2.3.1 ความหมายของความผูกผันตอองคการ 24 2.3.2 ความสําคัญของความผูกพันตอองคการ 27 2.3.3 แนวคดิ ทฤษฎี ที่เกีย่วของกับความผูกพนัตอองคการ 29 2.3.4 ผลการมีความผูกพนัตอองคการ 36 2.4 ทฤษฎีที่เกี่ยวของ 37 2.4.1 ทฤษฎลํีาดับข้ันความตองการ 37 2.4.2 ทฤษฎ ี X และทฤษฎ ีY 38 2.4.3 ทฤษฎ ี 2 ปจจัย 39 2.4.4 ทฤษฎคีวามคาดหวงั 40 2.4.5 ทฤษฎกีารตั้งเปาหมาย 41 2.5 ผลงานการวิจัยที่เกีย่วของ 42 บทที ่ 3 วธิีดําเนนิการวิจัย 48 3.1 ตัวแปรทีใ่ชในการศึกษา 48 3.1.1 ตัวแปรอิสระ 48 3.1.2 ตัวแปรตาม 49 3.2 สมมติในฐานในการวจิัย 49 3.3 เครื่องมอืที่ใชในการวจิัย 51 3.4 การทดสอบเครื่องมือ 54 3.5 การกาํหนดกลุมเปาหมาย 54 3.6 การเกบ็รวบรวมขอมูล 55 3.7 การวเิคราะหขอมูล 55 บทที ่ 4 ผลการศึกษา 58 4.1 ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับลักษณะสวนบุคคล 59 4.2 ผลการวิเคราะหเปรียบเทียบตัวแปรตาง ๆ ทีท่ําการศึกษา 62

    4.3 แสดงความสัมพันธระหวางลักษณะงาน ลักษณะการปฏิบัติงาน ลักษณะ 72 องคการ กับความพงึพอใจในงาน

    (9)

  • 12

    หนา 4.4 แสดงความสัมพันธระหวางลักษณะงาน ลักษณะการปฏิบัติงาน ลักษณะ 73

    องคการกับความผูกพันตอองคการ 4.5 การวิเคราะหเปรียบเทยีบลักษณะสวนบุคคลของประชากร ไดแก เพศ 73

    อาย ุสถานภาพสมรส ระดับการศึกษา แผนก/ฝายที่สังกดั ระดับตําแหนงงาน ในปจจุบัน ระยะเวลาทีท่าํงานกบัองคการ ประสบการณการทาํงาน กบัความ พึงพอใจในการทํางาน

    4.6 การวิเคราะหเปรียบเทยีบลักษณะสวนบุคคลของประชากร ไดแก เพศ อาย ุ 79 สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา แผนก/ฝายที่สังกดั ระดับตําแหนงงานใน ปจจุบัน ระยะเวลาทีท่าํงานกับองคการ ประสบการณการทาํงานกับความ ผูกพนัตอองคการ 4.7 การวิเคราะหเปรียบเทยีบความพงึพอใจในงานกับความผูกพนัตอองคการ 88

    4.8 ขอมูลปญหา อุปสรรค ในการทาํงาน และขอแนะนาํ วธิีการที่จะสรางให 88 พนักงานมีความพึงพอใจในงานและความผูกพนัตอองคการ บทที ่ 5 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ 93

    5.1 สรุปผลการศึกษา 94 5.2 อภิปรายผลการศึกษา 98 5.3 ขอเสนอแนะ 103

    บรรณานุกรม (106) ภาคผนวก (110) แบบสอบถาม (111) ประวัติผูทําสารนิพนธ (119)

    (10)

  • 13

    สารบัญตาราง

    ตารางที ่ หนา 2.1 ความผูกพนัตอองคการในระดับตาง ๆ 28 4.1 แสดงจํานวนรอยละของลักษณะสวนบุคคลของกลุมประชากร 60 4.2 แสดงคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความคิดเห็นตอลักษณะปจจัย 62 4.3 แสดงคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความคิดเห็นตอลักษณะงาน 63 4.4 แสดงคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความคิดเห็นตอลักษณะ 64

    ของการปฏิบัติงาน 4.5 แสดงคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความคิดเห็นตอลักษณะองคการ 65 4.6 แสดงคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความคิดเห็นตอลักษณะ 66 ความพึงพอใจในงาน 4.7 แสดงคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความคิดเห็นตอลักษณะ 67

    ความผูกพนัของพนักงานตอองคการ 4.8 แสดงคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความคิดเห็นเกี่ยวกบั 68

    ลักษณะงาน ลักษณะการปฏิบัติงาน ลักษณะองคการ ความพึงพอใจในงาน และความผูกพันตอองคการจําแนกรายขอ

    4.9 แสดงความสมัพันธระหวางลักษณะงาน ลักษณะการปฏิบัติงาน ลักษณะ 72 องคการ กับความพึงพอใจในงาน

    4.10 แสดงความสมัพันธระหวางลักษณะงาน ลักษณะการปฏิบัติงาน ลักษณะ 73 องคการ กับความผกูพนัตอองคการ

    4.11 แสดงการเปรยีบเทยีบความพึงพอใจในงานจาํแนกตามเพศ 74 4.12 แสดงการเปรยีบเทยีบความพึงพอใจในงานจาํแนกตามอาย ุ 74 4.13 แสดงการเปรยีบเทยีบความพึงพอใจในงานจาํแนกตามสถานภาพ 75 4.14 แสดงการเปรยีบเทยีบความพึงพอใจในงานจาํแนกตามระดับการศึกษา 75 4.15 แสดงการเปรยีบเทยีบความพึงพอใจในงานจาํแนกตามแผนก/ฝายทีสั่งกัด 76 4.16 แสดงการเปรยีบเทยีบความพึงพอใจในงานจาํแนกตามระดับตําแหนงงาน 76 4.17 แสดงการเปรยีบเทยีบความพึงพอใจในงานจาํแนกตามอายุการทาํงาน 77 4.18 แสดงการเปรยีบเทยีบความพึงพอใจในงานจาํแนกตามประสบการณการทาํงาน 77 4.19 แสดงความสมัพันธระหวางความพึงพอใจในงานจาํแนกตามปจจัยดานลักษณะงาน 78

  • 14

    ตารางที ่ หนา 4.20 แสดงความสมัพันธระหวางความพึงพอใจในงาน จําแนกตามปจจยัดาน 78

    ลักษณะการปฏิบัติงาน 4.21 แสดงความสมัพันธระหวางความพึงพอใจในงานจาํแนกตามปจจัยดาน 79

    ลักษณะองคการ 4.22 แสดงการเปรยีบเทยีบความผูกพนัตอองคการจําแนกตามเพศ 79 4.23 แสดงการเปรยีบเทยีบความผูกพนัตอองคการจําแนกตามอาย ุ 80 4.24 แสดงการเปรยีบเทยีบความผูกพนัตอองคการจําแนกตามสถานภาพ 80 4.25 แสดงการเปรยีบเทยีบความผูกพนัตอองคการจําแนกตามระดับการศกึษา 81 4.26 แสดงการเปรยีบเทยีบคาเฉลี่ยของระดับการศึกษากับความผกูพนัตอองคการ 82

    แตกตางกนัเปนรายคู ดวยวธิีทดสอบแบบ Scheffe 4.27 แสดงการเปรยีบเทยีบความผูกพนัตอองคการจําแนกตามแผนก/ฝายที่สังกัด 82 4.28 แสดงการเปรยีบเทยีบแผนก/ฝายที่สังกัดกับความผกูพนัตอองคการแตกตางกนั 83

    เปนรายคู ดวยวิธทีดสอบแบบ Scheffe 4.29 แสดงการเปรยีบเทยีบความผูกพนัตอองคการจําแนกตามระดับตําแหนงงาน 84 4.30 แสดงการเปรยีบเทยีบระดับตําแหนงงานปจจุบันกับความผกูพนัตอองคการ 84

    แตกตางกนัเปนรายคู ดวยวธิีทดสอบแบบ Scheffe 4.31 แสดงการเปรยีบเทยีบความผูกพนัตอองคการจําแนกตามอายุการทํางาน 85 4.32 แสดงการเปรยีบเทยีบระยะเวลาที่ทาํงานกับฟาบริเนทกับความผกูพนัตอองคการ 85

    แตกตางกนัเปนรายคู ดวยวธิีทดสอบแบบ Scheffe 4.33 แสดงการเปรยีบเทยีบความผูกพนัตอองคการจําแนกตามประสบการณการทาํงาน 86 4.34 แสดงความสมัพันธระหวางความผูกพนัตอองคการจําแนกตามปจจัยดาน 86

    ลักษณะงาน 4.35 แสดงความสมัพันธระหวางความผูกพนัตอองคการจําแนกตามปจจัยดาน 87

    ลักษณะการปฏิบัติงาน 4.36 แสดงความสมัพันธระหวางความผูกพนัตอองคการจําแนกตามปจจัยดาน 87

    ลักษณะองคการ 4.37 แสดงความสมัพันธระหวางความพึงพอใจในงาน กับความผูกพันตอองคการ 88

    (12)

  • 15

    สารบัญแผนภาพ

    แผนภาพที ่ หนา 1.1 แสดงกรอบแนวความคิดในการวิจัย 5 2.1 แสดงปจจัยสาํคัญที่สงผลกระทบตอพฤตกิรรมองคการ 20 2.2 Q12 Hierarchy of Engagement 30 2.3 แบบจําลองวดัความผูกพันตามแนวความคิดของ Hewitt Associates 32 2.4 Engagement Hierarchy 33 2.5 Employee Engagement Model 35 2.6 ปจจัยที่เปนสาเหตุและผลทีต่ามมาของความผูกพันตอองคการ 36 2.7 ลําดับข้ันความตองการ (Hierarchy of Needs) ของมาสโลว 38 2.8 ทฤษฎี 2 ปจจัยของ Herzberg 40 2.9 รูปแบบงาย ๆ ของความคาดหวงั 41 4.1 สรุปปญหา อุปสรรคในการทํางานและสิ่งที่ตองแกไข 89 4.2 สรุป กิจกรรมหรือวิธีการใด ๆ ที่จะเสริมสรางใหพนักงานมีความพึงพอใจในงานและ 91

    ความผูกพันของพนักงานตอองคการ

  • 16

    บทที่ 1

    บทนํา 1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

    ในโลกยุคทุนนิยมโลกาภิวฒันที่ปรากฏในรูปลักษณของทนุนยิมไรพรหมแดนและกติกาการ

    แขงขันทางเศรษฐกิจการคาที่ตัดสินดวยความเหนือกวาของขอมูลขาวสารและความรู ย้ําถึงความจริงที่วา “ทรัพยากรมนุษย” เปนตนทุนพืน้ฐานที่สําคัญทีสุ่ดของประเทศ เปนปจจยัทีก่อเกิด ดํารงไว และเพิ่มขีดความสามารถ ความเขมแข็งมั่นคงของประเทศ การพัฒนาทรัพยากรมนุษยจึงเปนการเพิ่มคุณคาและมูลคาใหแก “ทุนมนุษย” ที่หนวยงานทัง้ภาครัฐและเอกชนตางตองเรงทําความเขาใจ วางแนวทางการกระทาํของตน เพื่อใหมั่นใจไดวาสามารถรับมือกบัสภาวการณการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอม ทางเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี และการเมืองที่แปรผันอยางรวดเร็ว (ชาติชาย ณ เชียงใหม, 2549 : ความนํา) ในดานการบรหิารองคการธุรกิจในปจจุบัน จาํเปนตองดําเนนิการบริหารโดยใชแผนกลยทุธ (Strategic Planning) มีการวางแผนในภาพรวมขององคการ มีการดําเนนิการดานตาง ๆ โดยการปรับเปลี่ยนโครงสรางองคการ หรือโครงสรางทางธุรกจิทัง้นีก้เ็พื่อตอบสนองกลยุทธขององคการ ผูบริหารจึงจําเปนตองแสวงหาแนวทางในการจัดการโครงสรางการทํางานทีเ่หมาะสม และพฒันาบุคลากรใหเกิดทกัษะ และมีความสามารถในการปรับตัวใหทนัตอการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ส่ิงหนึ่งที่องคการควรคํานึงถึงและตระหนักอยูเสมอ คือ จะพัฒนาอยางไร เพื่อจูงใจและสงเสริมใหพนกังานเกิดความพึงพอใจและความผกูพนั ยอมรับเปาหมายขององคการ และใชความพยายามอยางเต็มความสามารถในการทาํงาน ลดการสูญเสียในสิ่งทีอ่าจจะเกิดขึน้โดยไมจําเปน

    ความพึงพอใจในการทํางาน (Job Satisfaction) เปนวิธหีนึ่งที่ทาํใหพนกังานรูสึกไดวาองคการไดใหความสาํคัญกบัเขา การเรียนรูและการเขาถึงความตองการของคนในองคการ การสรางความพงึพอใจในการทาํงาน และความผกูพนัตอองคการ เปนวิธหีนึ่งในการธํารงรักษาทรัพยากรอันมีคาขององคการ โดยใหเขาอยูในองคการอยางมีความสขุ มีความรูสึก และมีจิตใจที่อยากอยูกับองคการดวยความเต็มใจ จะทาํใหพนักงานเกิดความกระตือรือรนและทุมเทความรูความสามารถในอันที่จะเพิ่มประสิทธิภาพ และประสิทธิผล อันจะเปนประโยชนใหกับตัวพนักงานและองคการอยางยั่งยืน

  • 2

    ความผูกพนัของพนักงาน (Employee Engagement) เปนความรูสึกที่พนักงานมีตอ องคการในทางบวก เปนความผูกพันที่มีตองาน ตอเปาหมาย คานิยมขององคการ พนกังานจะมีความจงรักภักดีโดยปรารถนาเปนสวนหนึ่งขององคการ เพื่อความกาวหนาไปพรอมกับองคการ อีกทั้งความผกูพนัจะเปนหนทางที่จะชวยรักษาทรพัยากรมนุษยที่มีคาใหอยูกับองคการอยางมีความสุข มีแรงจูงใจในการทาํงาน ปฏิบัติงานอยางเต็มความสามารถ เพราะรูสึกวาตนเองเปนเจาขององคการจึงพยายามทาํใหเปาหมายองคการสําเร็จ ซึ่งเปาหมายของตนก็จะสาํเร็จไปดวย

    บริษัท ฟาบรเินท จํากัด เปนบริษัทรับผลิตชิ้นสวนอุปกรณอิเล็กทรอนิกส (Electronic Manufacturing Service = EMS) อุปกรณส่ือสารโทรคมนาคมใยแกวนาํแสง ชิน้สวนอุตสาหกรรมยานยนต และเครื่องมือทางดานการแพทย โดยบริษทัเปนหนึ่งในผูบุกเบิก และเปนบริษัทชัน้นําในการผลิตอุปกรณส่ือสารโทรคมนาคมใยแกวนาํแสงในประเทศไทย บริษัทฯ ไดกอต้ังขึ้นเมื่อเดือนตุลาคม 2542 และไดเปดตัวอยางเปนทางการ เมื่อเดือนมกราคม 2543 ดวยเงนิลงทนุจดทะเบียน 200 ลานบาท มีสํานกังานใหญอยูในประเทศไทย เร่ิมแรกมีพนักงานอยู 1,625 คน ปจจุบันมีพนกังานทั้งสิน้ 4,452 คน (ขอมูล ณ 23 กุมภาพันธ 2550) ทําการผลิต Optical, Automotive, Medical, Industrial Commercial ปจจบัุนมีฐานการผลิต 4 แหง ในประเทศไทย 2 แหง คือ ฟาบริเนท (โชคชัย) กอต้ังเมื่อป 2543 และ ฟาบริเนท (ไพนเฮิรสท) กอต้ังเมื่อป 2546 โดยมีพืน้ที่ในการผลิตรวมทั้งสิน้ 750,000 ตารางฟุต ตอมาในป 2548 ไดขยายฐานการผลิตเพิ่มข้ึนอีก 2 แหง ที่ประเทศจีน และประเทศสหรัฐอเมริกามพีืน้ที่รองรับการผลิตทั้งสิน้ 559,723 ตารางฟุต นอกจากนี้ บริษัทฟาบริเนท ยังไดรับการสงเสริมการลงทุนจากสํานักงานคณะกรรมการการสงเสริมการลงทนุ (BOI) มรีะบบการดําเนินงานที่ไดรับประกาศนยีบตัรรับรองมาตรฐานการจัดการระบบคุณภาพ (ISO 9001:2000) มาตรฐานอุตสาหกรรมชิ้นสวนยานยนต (TS 16949 : 2002) มาตรฐานทางดานโทรคมนาคม (TL 9000) และมาตรฐานการจัดการดานสิง่แวดลอม (ISO 14001) วิสัยทัศนของบริษัท “ฟาบริเนทมุงเปนบริษัทชั้นนําของโลกทางดานวิศวกรรม และเทคโนโลยกีารผลิต ผลิตภัณฑอุปกรณส่ือสารโทรคมนาคมใยแกวนาํแสง อุตสาหกรรมยานยนต อุปกรณอิเล็กทรอนิกส และเครื่องมือทางดานการแพทย” โดยมุงเนนตอบสนองความตองการของลูกคาดวยผลิตภัณฑทีม่ีคุณภาพไดมาตรฐานระดับสากล และบรกิารที่ประทับใจเสริมสรางความสาํเร็จของลูกคา โดยการสงมอบผลิตภัณฑอยางรวดเร็ว และตนทนุราคาที่ไดเปรียบในการแขงขัน พัฒนาทีมงานใหเขมแข็ง เปยมดวยศกัยภาพ อีกทัง้สรางโอกาสและคุณภาพชีวติที่ดีแกพนักงาน อยางไรก็ตามจากการเติบโตขององคการอยางกาวกระโดดทําใหบริษทั ฟาบริเนท จํากัด ประสบปญหาเกี่ยวกับการลาออกของพนกังาน ปญหาทางดานพฤติกรรมของพนักงาน คือ การขาดงาน การมาทํางานสายบอยครั้ง และไมปฏิบัติตามระเบียบวนิัยของทางบริษทัฯ เปนตน

    2

  • 3

    ดังนัน้ ผูบริหารระดับสูงของฟาบริเนทตองการทราบวา พนักงานทีท่ํางานใหกับองคการมีความพึงพอใจในการทํางานและมีความผกูพนักับองคการระดับใด เนือ่งจากที่ผานมาบริษัทฯ มกีารรับพนักงานใหมเพิ่มข้ึนเปนจาํนวนมาก โดยเฉพาะในตําแหนงวิศวกรรมและพนกังานฝายผลติ ขณะเดียวกนัก็มีอัตราพนักงานลาออกเปนจํานวนมากเชนกนั ซึง่ทําใหเกิดการสูญเสียตาง ๆ ตามมา เชน คาฝกอบรม คาสรรหาวาจาง เปนตน พนกังานใหมที่รับมาสวนใหญมีคุณสมบติัจบการศึกษาในระดับสูง คือ ระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และ ปริญญาเอก ซึง่ไมจําเปนตองมีประสบการณ เพราะผูบริหารมีความเชื่อวาประสบการณในการทํางาน 2 – 3 ป ไมไดเปนเครื่องทีบ่งบอกวาบุคคลผูนั้นเปนผูที่มคีวามรูในการทํางานอยางแทจริง สําหรับที่ฟาบริเนทผูที่อยูกับองคการ และสัมผัสกระบวนการการทํางาน อยางนอย 5 ปข้ันไป จงึจะถอืวาเปนผูทีม่คีวามรูในงานที่ตนรับผิดชอบอยางแทจริง บุคลเหลานี้จงึนับไดวาเปนผูที่องคการตองรักษาไวใหยาวนาน

    การรักษาพนกังาน (Retention) ไว เปนประเด็นที่สําคัญประเด็นหนึ่ง จากการศึกษาของ University Human Resource Management (UHRM) สรุปไวในหนงัสือ HR in the Future : เสนทางมุงสูอนาคตในงานพัฒนาทรัพยากรมนุษย แนวโนมงาน HR ในอนาคตมุงสูยุคความทาทายและโอกาส “...ทิศทางของงานบุคลากรในองคการจะตองเผชิญกับประเด็นสําคัญ คือ การรักษาพนกังาน (Retention) โดยเฉลี่ยแลวคนจะทาํงานอยูทีใ่ดที่หนึ่งประมาณ 3.6 ป นโยบายเรื่อง Retention การใหรางวัล การจายคาตอบแทน เปนเครื่องมืออันดบัตน ๆ ในการตัดสินใจของพนกังานวาควรจะอยูทํางานตอหรือจากไป…” (ถนอมรัตน ฟองเลา, 2549)

    ผูวิจัยสนใจศึกษาความพึงพอใจในการทาํงานและความผูกพนัของพนักงานตอองคการ เพราะทั้งความพึงพอใจในการทํางานและความผูกพนัตอองคการ เปนปจจัยที่สําคัญตอความ สําเร็จของตนเองและองคการ อีกทัง้มีความสัมพนัธที่สงผลตอกัน หากพนักงานมีความพึงพอใจแลวจะทาํใหพนกังานเกิดความผกูพนักับองคการจริงหรือไม หากเปนเรือ่งจริงที่องคการสามารถทาํใหพนกังานมีความพงึพอใจและมีความผูกพันกับองคการ จะทาํใหองคการนัน้เปนองคการแหงความสุข (Happiness Organization) ในอนาคตตอไป 1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา

    1.2.1. เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจในการทํางาน และระดับความผกูพันตอองคการ ของพนกังาน บริษัท ฟาบริเนท จํากัด

    1.2.2. เพื่อศึกษาปจจัยที่สงผลตอความพึงพอใจในการทํางานและความผูกพันของพนกังานตอองคการ

  • 4

    1.2.3. เพื่อศึกษาความสัมพนัธระหวางปจจัยสวนบุคคลกับความพึงพอใจในการทํางาน และความผูกพันของพนักงานตอองคการ

    1.3 ขอบเขตและวิธีการศึกษา

    1.3.1. ขอบเขตดานเนื้อหา การศึกษาครั้งนี้มุงศึกษาระดับความพึงพอใจในการทํางาน และระดับความผูกพนัตอองคการ ปจจัยทีส่งผลตอความพึงพอใจในการทํางานและความผูกพนัของพนกังานตอองคการ โดยวิเคราะหระดับความคิดเหน็เกีย่วกับปจจยัสวนบุคคลทีม่ีความ สัมพันธระหวางความพึงพอใจในการทํางานและความผกูพนัทีพ่นักงานมีตอองคการ

    1.3.2. ขอบเขตดานพื้นที ่การศึกษาครั้งนีก้ําหนดขอบเขตการศึกษาเฉพาะพนกังานฟา บริเนท จาํกัด ทีป่ฏิบัติงาน ณ ฟาบริเนท (โชคชัย) ซึง่มีจาํนวนพนกังานทัง้สิ้นประมาณ 2,800 คน ผูวิจัยไดกําหนดจํานวนกลุมตัวอยางจํานวน 326 คน โดยใชวิธีการสุมตัวอยางแบบสะดวก (Convenience Sampling) จํานวนกลุมตัวอยาง 326 คน นี้ ไดมาจากการกลุมตัวอยางที่มีอายกุารทํางานตั้งแต 1 ป ข้ึนไป ซึ่งมีพนักงานจํานวน 1,770 คน จากนัน้นาํมาคาํนวณเพื่อกําหนดกลุมตัวอยางตามสตูรของ ยามาเน (Yamane,1967 อางถงึในสุชาต ิประสิทธิ์รัฐสินธุ, 2546 : 141) โดยยอมใหเกิดความคลาดเคลื่อนได 5 % ที่ระดับความเชื่อมัน่ 95% วิธีการสุมตัวอยางโดยคํานวณจากสูตร Yamane ดังนี ้

    n = N 1+Ne2 n = จํานวนกลุมตัวอยาง N = จํานวนประชากร e = คาความคลาดเคลื่อน 0.05 เมื่อแทนที่ตามสูตรแลวจะได ดังนี ้ n = 1,770 1+ 1770 (.05)2 = 1,770 5.43

    n = 326 คน 1.3.3. ขอบเขตดานเวลา ชวงเวลาที่ใชศึกษา คือ เดือน มนีาคม 2550 ถึง พฤษภาคม

    2550 รวมเวลา 3 เดือน

  • 5

    1.4 กรอบแนวความคิดและวิธีการศึกษา แผนภาพที่1.1 แสดงกรอบแนวความคิดในการวิจัย

    ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม

    • ลักษณะสวนบุคคล o เพศ o อายุ o สถานภาพสมรส o ระดับการศึกษา o ระดับตําแหนงงาน o แผนก/ฝาย ที่สังกัด o ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน o ประสบการณการทํางานรวม

    • ลักษณะงาน

    o โอกาสเรียนรูและกาวหนาในงาน o ความทาทายของงาน o งานที่มีโอกาสปฏิสัมพันธกับผูอื่น o ความสําคัญตอเปาหมายองคการ

    • ลักษณะของการปฏิบัติงาน o วิธีการ กฎ ระเบียบการปฏิบัติงาน o ความอิสระในการปฏิบัติงาน o การมีสวนรวมในการเสนอแนะและดําเนินการ

    ใหบรรลุตามเปาหมาย o ความสัมพันธกับหัวหนางานและผูรวมงาน o การใหผลยอนกลับ

    • ลักษณะองคการ o ปจจัยสนับสนุนการปฏิบัติงาน o การสื่อสารภายในองคการ o ความรูสึกเปนเอกภาพ o การจายคาตอบแทนและผลประโยชนเกื้อกูล

    • ความผูกพันตอองคการ o ความเช่ือมั่นตอเปาหมายขององคการ o การปกปองรักษาชื่อเสียง และภาพลักษณ

    องคการ o ความภูมิใจในการเปนสวนหนึ่งขององคการ o ความทุมเทความพยายามใหกับองคการดวย

    ความเต็มใจ o ตระหนักถึงอนาคตองคการ o ความปรารถนาเปนสมาชิกองคการตอไป

    • ความพึงพอใจในการทํางาน o ความพึงพอใจในดานลักษณะงาน o ความพึงพอใจในดานหัวหนางาน o ความพึงพอใจในดานเพื่อนรวมงาน o ความพึงพอใจในดานความกาวหนา o ความพึงพอใจในดานความมั่นคง o ความพึงพอใจในดานสวัสดิการ o ความพึงพอใจในดานองคการ

  • 6

    1.5 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

    1.5.1. ทําใหทราบระดับความพงึพอใจในการทํางานและความผูกพนัของนกังานทีม่ีตอองคการ

    1.5.2. ทําใหทราบปจจัยที่สงผลตอความพึงพอใจในการทํางานและความผูกพันของพนกังานที่มีตอองคการ

    1.5.3. ทําใหทราบความสัมพันธระหวางปจจยัสวนบุคคลกับความพงึพอใจในการทาํงานและความผูกพันของพนักงานที่มีตอองคการ

    1.5.4. ผลที่ไดจากการศึกษาจะทําใหทราบถึงแนวทางในการเสรมิสรางความพงึพอใจในการทาํงาน และความผกูพนัของพนักงานตอองคการใหมากยิง่ขึ้น 1.6 นิยามศัพท

    1.6.1. องคการ หมายถึง บริษัท ฟาบริเนท จาํกดั (โชคชัย) 1.6.2. บริษัท หมายถงึ บริษทั ฟาบริเนท จาํกัด 1.6.3. พนักงาน หมายถงึ บุคลากรของบริษทั ฟาบริเนท จํากัด ซึ่งแบงออกเปน 2

    ประเภท ไดแก 1) พนกังานรายวนั (Direct Labour= DL) หมายถึง พนักงานผูซึ่งบริษัทตกลง

    วาจางเปนพนกังาน โดยกําหนดอัตราคาจางเปนรายวนั และพนักงานจะไมไดรับคาจางในวนัหยุดประจําสัปดาห

    2) พนกังานรายเดือน (Monthly Labour=ML) หมายถงึ พนักงานผูซึ่งบริษัท ตกลงวาจางเปนพนกังาน โดยกําหนดอัตราคาจางเปนรายเดือน

    3) พนกังานระดบั Non-Exempt (N1-N5) หมายถึงพนกังานรายเดือนระดับชางเทคนิค หรือธรุการ

    4) พนกังานระดบั Exempt (B1-B2) หมายถึง พนกังานรายเดือนระดับวิศวกร หรือเจาหนาที ่

    5) พนกังานระดบั Manager (B3) หมายถงึ พนกังานรายเดือนในตําแหนงผูบริหารระดับกลาง

  • 7

    1.6.3. ลักษณะสวนบุคคล ลักษณะที่แสดงออกถึงคุณสมบติัเฉพาะตวัของแตละบุคคล ซึ่งแตกตางกันไป ไดแก เพศ อาย ุสถานภาพสมรส ระดับการศึกษา ระดับตําแหนงงาน แผนก/ฝาย ที่สังกัด ระยะเวลาในการปฏบัิติงาน และประสบการณการทํางานรวม

    1) ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน หมายถึง จํานวนปทีพ่นกังานปฏิบัติงานอยูในองคการ ต้ังแต 1 ป ข้ึนไป จนถงึวนัเก็บขอมูล

    2) ระดับตําแหนงงาน หมายถงึ ตําแหนงหนาที่ในการทาํงาน ของพนกังาน 3) แผนก/ฝายที่สังกัด หมายถงึ แผนก/ฝาย ในองคการทีพ่นกังานปฏิบัติการอยู

    1.6.4. ลักษณะงาน หมายถงึ คุณลักษณะของงานที่พนักงานปฏิบัติตามหนาที ่ และ

    ความรับผิดชอบที่ไดรับมอบหมาย ไดแก 1) โอกาสเรียนรูและกาวหนาในงาน หมายถงึ ลักษณะงานนั้นไดเปดโอกาสให

    พนกังานไดศึกษา เรียนรู พฒันาความรูความสามารถ ประสบความสาํเร็จกาวหนาทั้งการไดมีโอกาสไปโอนยายงานที่ตางประเทศ และไดเลื่อนตําแหนงหนาที่และคาจางเงนิเดือน

    2) ความทาทายของงาน หมายถงึ การที่พนักงานตองใชความรู ทักษะ ความสามารถมากกวาปกติในการทํางานทีไ่ดรับมอบหมาย

    3) งานทีม่ีโอกาสปฏิสัมพันธกับผูอ่ืน หมายถึง งานทีเ่ปดโอกาสใหไดติดตอประสานงาน ทําความรูจักคุนเคยกับบุคคลทั้งภายในและภายนอกองคการ

    4) ความสาํคัญตอเปาหมายองคการ หมายถึง งานที่ไดรับมอบหมายเปนสวนสําคัญสวนหนึง่ที่จะสงผลถงึความสาํเร็จขององคการ

    1.6.5. ลักษณะของการปฏิบัติงาน หมายถึง วิธกีาร ข้ันตอน และองคประกอบที่

    เกี่ยวของกับการปฏิบัติงานของพนกังาน ไดแก 1) วิธีการ กฎระเบียบการปฏิบัติงาน หมายถงึ กฎระเบียบขอบังคับในการทํางาน

    นโยบาย ข้ันตอนวิธกีารการทํางานทีพ่นกังานจะตองปฏิบัติตาม เพือ่ความสําเร็จและประสิทธภิาพของงาน

    2) ความอิสระในการปฏิบัติงาน หมายถึง การไดรับมอบอํานาจหนาที่ใหปฏิบัติงาน และรับผิดชอบในความสําเร็จ โดยไมตองมีผูบังคับบัญชามาคุมอยางใกลชิด

    3) มีสวนรวมในการเสนอแนะ และดําเนนิการใหบรรลุตามเปาหมาย หมายถงึ การทีพ่นกังานไดมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็นในที่ประชุมงานบริษัท และดําเนนิการตามขอตกลง เพื่อความสาํเร็จของทีม

  • 8

    4) ความสัมพันธกับหวัหนางานและผูรวมงาน ระดับความสนทิสนมอนัเกิดจากการทาํงานรวมกันระหวางเพื่อนรวมงาน ผูบังคับบัญชา และผูใตบังคบับัญชาของพนักงาน

    5) การใหผลยอนกลับ (Feedback) หมายถงึ การแจงการประเมินผลการปฏิบัติงาน ขอแนะนาํที่ควรแกไขใหพนกังานไดรับทราบอยางสม่ําเสมอ

    1.6.6. ลักษณะองคการ หมายถงึ องคประกอบและสภาพแวดลอมตาง ๆ เปนปจจัยที่กอใหเกิดบรรยากาศในการปฏิบัติงานของพนักงาน ไดแก

    1) ปจจัยสนับสนนุการปฏิบัติงาน หมายถึง อาคารสถานที่ สํานกังาน อุปกรณเครื่องมือ เครื่องใชสํานกังาน ระบบเทคโนโลย ี อยางทันสมัยทีเ่อือ้อํานวยตอการปฏิบัติงานของพนกังาน

    2) การสื่อสารภายในองคการ หมายถึง ความสามารถขององคการในการจัดระบบ การกระจายแจงขาวสารขอมูล ใหพนักงานไดทราบอยางทั่วถึงและสม่าํเสมอ รวมทั้งการใชภาษาที่เหมาะสม

    3) ความรูสึกเปนเอกภาพ หมายถงึ ความรูสึกที่เปนหนึ่งเดียวของพนกังานและเทาเทียมกนัตอการปฏิบัติงานตามหนาทีท่ี่ไดรับมอบหมาย

    4) การจายคาตอบแทนและผลประโยชนเกื้อกูล หมายถงึ คาจาง เงินเดือน และสวัสดิการทีบ่ริษัทจัดใหแกพนักงาน เมื่อเปรียบเทียบกับกลุมอุตสาหกรรมเดียวกนั

    1.6.7. ความผูกพนัตอองคการ (Employee Engagement) หมายถงึ ความรูสึกนึกคดิ ทัศนคติ คานยิม ความศรัทธา ที่บุคคลคนหนึ่งมีตอองคการของตน ซึ่งจะสงผลใหเกิดพฤติกรรม การปฏิบัติงานของบุคคลคนนัน้ที่สะทอนใหเหน็ถงึความมุงมั่นทีทุ่มเทพลงักาย พลงัใจ อยางเต็มที่ตอการทาํงาน และมีความภาคภูมิใจทีไ่ดเปนสวนหนึง่ขององคการ มีความหวงใยในชื่อเสียงขององคการ และตองการดํารงสถานะของการเปนสมาชกิภาพในองคการตอไป

    1) ความเชื่อมัน่ตอเปาหมายขององคการ หมายถงึ การที่พนักงานยอมรับและเชื่อมั่นแนวทางการบรหิารขององคการ ซึ่งสอดคลองกับเปาหมายของพนกังาน

    2) การปกปองรักษาชื่อเสียง และภาพลักษณองคการ หมายถงึ การทีพ่นกังานพูดถึงองคการในดานบวก การรักษาภาพพจนขององคการ กลาวถึงคุณงามความดีใหเพื่อน ๆ ฟง ชี้แจงขอเท็จจริง เมือ่บริษัทถูกกลาวอางในทางที่ไมดีและไมตรงกับความจรงิ

  • 9

    3) ความภูมิใจในการเปนสวนหนึ่งขององคการ หมายถึง ความรูสึกทีดี่มีความภาคภูมิใจในการเปนสมาชกิสําคัญขององคการ มีสวนชวยใหองคการประสบความสําเร็จ เปนตัวแทนเขารวมกิจกรรมสาธารณะ

    4) ความทุมเทความพยายามใหกับองคการดวยความเต็มใจ หมายถงึ ความพรอมที่จะอุทศิแรงกาย แรงใจ สติปญญาในการทาํงานเพื่อประโยชนของบริษทัอยางเต็มที่และสม่ําเสมอ

    5) ตระหนักถึงอนาคตองคการ หมายถึง ความรูสึกหวงใยในความอยูรอด การเติบโตกาวหนาในอนาคตขององคการ

    6) ความปรารถนาเปนสมาชกิองคการตอไป หมายถงึ การที่พนักงานมีความตัง้ใจจะทาํงาน ไมคิดลาออกจากองคการ ถึงแมองคการอื่นจะใหคาตอบแทนที่ดีกวา ต้ังใจทํางานจนเกษียณอายุ เปรียบองคการเสมือนบานหลังที ่2

    1.6.8. ความพึงพอใจในการทํางาน (Job Satisfaction) หมายถงึ ความรูสึกนึกคิด หรือทัศนคติทีม่ีความพงึพอใจในงานและสภาพแวดลอมในการปฏิบัติงานของตนเอง จนกอใหเกิดความผูกพนัตอองคการ

    1) ความพึงพอใจในดานลกัษณะงาน หมายถงึ ความรูสึกของบุคคลที่มีตองานในหนาทีท่ี่บุคคลคนนัน้รับผิดชอบ

    2) ความพึงพอใจในดานหัวหนางาน หมายถงึ ความรูสึกของบุคคลที่มีตอผูบังคับบัญชา หรือผูทีม่ีบทบาทในการควบคุมดูแลคนในการทํางาน

    3) ความพึงพอใจในดานเพื่อนรวมงาน หมายถึง ความรูสึกของบุคคลทีม่ีตอการยอมรับ และการไดรับการยอมรับจากเพื่อนรวมงาน หรือผูปฏิบัติงานรวมกัน หรือประสานงานกนั

    4) ความพึงพอใจในดานความกาวหนา หมายถงึ ความรูสึกของบุคคลที่มีตอความเจริญกาวหนา หรือไดรับการเลื่อนตาํแหนงในหนาที่การงาน

    5) ความพึงพอใจในดานความมั่นคง หมายถึง ความรูสึกของบุคคลที่มตีอความอยูรอด และความมัน่คงขององคการ ตลอดจนความนาเชื่อถือขององคการในความรูสึกของตน

    6) ความพึงพอใจในดานสวัสดิการ หมายถึง ความรูสึกของบุคคลที่มีตอผลประโยชนตอบแทนที่ไดรับจากองคการทั้งในรูปตัวเงนิ หรือผลประโยชนเพิ่มเตมิอ่ืน ๆ อาทิ โบนัส การประกนัสุขภาพ การพฒันาและฝกอบรม การจัดกิจกรรมประจําป

    7) ความพึงพอใจในดานองคการ หมายถงึ ความรูสึกของบุคคลที่มีตอองคการ

  • 10

    ซึ่งเปนสถานทีท่ํางาน ที่อยูแลวมีความสขุ ความพงึพอใจ และสามารถทาํงานใหสําเร็จลุลวงตามเปาหมาย 1.7 แผนการดําเนินงาน

    ข้ันตอนในการดําเนนิการ ในการวิจัยเรื่องความพึงพอใจในงานและความผูกพนัของพนกังานตอองคการ ศึกษากรณี บริษัท ฟาบริเนท จาํกดั มีดังนี ้

    ระยะเวลาในการดําเนินการ ชวงเวลาที่ใชศึกษา คือ เดือน มนีาคม 2550 ถึง พฤษภาคม 2550 รวมเวลา 3 เดือน

  • 11

    แผนการดําเนินงาน การศึกษาความพึงพอใจในงานและความผูกพนัของพนกังานตอองคการ ศึกษากรณี บริษทั ฟาบริเนท จํากัด ระยะเวลาดําเนินการ (2550) มีนาคม เมษายน พฤษภาคม ลําดับที ่ รายละเอียด W1 W2 W3 W4 W1 W2 W3 W4 W1 W2 W3 W4

    1 ศึกษาคนควาหาขอมูลที่เกีย่วของกับงานวิจยั

    2 นําเสนอเคาโครงสารนพินธ

    3 ศึกษาคนควาแนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจยั ที่เกีย่วของ

    3.1 แนวคิดเกีย่วกับองคการ 3.2 แนวคิดความพึงพอใจในการทํางาน 3.3 แนวคิดความผูกพนัตอองคการ

    3.4 ทฤษฎีตามลําดับความตองการของมาสโลว

    3.5 ทฤษฎี X และทฤษฎี Y ของ McGregor 3.6 ทฤษฎี 2 ปจจัย ของ Herzberg 3.7 ทฤษฎีความคาดหวงั 3.8 ทฤษฎีการตัง้เปาหมาย 4 จัดทําเครื่องมอืการวิจัย แบบสอบถาม 5 ทดสอบหาประสิทธิภาพ ปรับปรุงแกไข 6 จัดพิมพ สําเนา แจกแบบสอบถาม 7 เก็บรวบรวมขอมูล 8 วิเคราะหขอมลู และแกไขขอบกพรอง 9 สรุป วิเคราะห เขียนรายงาน

  • 12

    บทที่ 2

    แนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ ในการที่จะเขาใจถึงแนวทางในการเสริมสรางความพงึพอใจในงาน และความผูกพนัของพนกังานตอองคการนั้น จําเปนอยางยิง่ทีต่องทําความเขาใจถึง ความหมาย ทฤษฎี และผลงานวิจัยที่เกีย่วของกับความพึงพอใจในงาน (Job Satisfaction) และความผกูพนัของพนักงานตอองคการ (Employee Engagement) ในบทนี้จึงขอทบทวนเอกสารที่เกี่ยวของ เพื่อนาํมาใช ดังนี ้

    2.1 แนวคิด ทฤษฎี ที่เกีย่วกบัองคการ 2.2 แนวคิด ทฤษฎี ที่เกีย่วของกับความพงึพอใจในงาน 2.3 แนวคิด ทฤษฎี ที่เกีย่วของกับความผกูพนัตอองคการ 2.4 ทฤษฎทีี่เกี่ยวของ 2.5 ผลงานการวิจยัที่เกี่ยวของ

    2.1 แนวคิด ทฤษฎี ที่เกี่ยวกับองคการ

    2.1.1 ความหมายขององคการ องคการ (Organization) คือ โครงสรางที่ไดต้ังขึ้นตามกระบวนการ โดยมีการับ

    พนกังานใหเขามาทํางานรวมกันในฝายตาง ๆ เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคที่ต้ังไว หรือ หมายถงึ กลุมบุคคลตั้งแต 2 คนขึ้นไปทีม่ีความผกูพนักัน ใชความพยายามหรือความสามารถรวมกันในการผลิตสินคาหรือบริการเพื่อใหประสบผลสําเร็จ การจัดระบบระเบียบใหกบับุคคลตาง ๆ เพื่อนาํไปสูเปาหมายทีว่างไว ในสวนของการจัดองคการ หมายถึง ความพยายามของผูบริหารทีจ่ะตองหาบุคลากรที่มีความรูความสามารถ เพื่อที่จะมอบหมายงาน (Delegation) และอํานาจหนาที่ในการปฏิบัติงาน (Authority) โดยมีการใชทรัพยากรตาง ๆ อยางระมัดระวัง (ชวลิต ประภาวนนท, ณกมล จนัทรสม, ลัทธกิาล ศรีวะรมย, ศิริวรรณ เสรีรัตน, สมชาย หิรัญกิตติ, สุดา เทยีบจตุรัส, สุพีร ล่ิมไทย และอารี พนัธมณี, 2541: 251)

    องคการ คือ การรวมตัวของคนตั้งแตสองคนขึ้นไปเพื่อดําเนนิกิจกรรมใด ๆ ใหบรรลุวัตถุประสงคทีก่ําหนดไว (ทพิวรรณ หลอสุวรรณรัตน, 2546 : 13)

    องคการ หมายถึง กลุมคนซึง่ใชโครงสรางซึ่งออกแบบมาเพื่อชวยใหบรรลุเปาหมายของกลุม (Chandler & Plano, 1982 อางในทพิวรรณ หลอสุวรรณรัตน, 2546 : 15)

  • 13

    องคการ หมายถึง การทํางานรวมกนัระหวางสองคนขึน้ไป เพื่อบรรลุวัตถุประสงครวมกันบางประการที่ไดมีการวางแผนประสานงานไวลวงหนาแลว การทํางานของกลุมคนดําเนนิการไปอยางสม่ําเสมอติดตอกันโดยอาศัยหลักการแบงแยกงาน และหลกัลําดับของอํานาจ หรือกลุมสังคมซึ่งมกีารประสานงานอยางมีจิตสํานกึ โดยมีขอบเขตที่แนชัด และทาํงานอยางตอเนื่องเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงครวมกนั (Robbins,1983,1990 อางในทพิวรรณ หลอสุวรรณรัตน, 2546 : 15)

    องคการ เปนที่บุคคลมารวมตัวกนัตั้งแต 2 คนขึน้ไป มีวัตถปุระสงคเพื่อเปนแนวทางในการปฏิบัติกิจกรรมหรือผลผลิตขององคการ โดยมีกระบวนการการปฏิบัติที่เปนระบบและทุกคนในองคการตระหนักถงึหนาที่ที่ตนปฏิบัติ และประการสุดทาย คือ จะตองมีบุคคลที่รวมตัวเพื่อใหบรรลุวตัถุประสงคขององคการ (อรุณ รักธรรม, 2536 : 57 อางในทพิวรรณ หลอสุวรรณรัตน, 2546 : 15)

    องคการประกอบดวยคนตั้งแตสองคนขึ้นไป มีเทคนิคทางการบรหิาร ความรู ขอมลู ขาวสาร โครงสรางและเปาหมาย (อุทัย เลาหวิเชียร, 2537 : 171 อางในทิพวรรณ หลอสุวรร�