71
โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม งานวิจัยในชั้นเรียน ปการศึกษา 2558 ชื่องานวิจัย การรับรูและความเขาใจตอการกระทําความผิดตาม ...วาดวยการกระทําความผิดทาง คอมพิวเตอร .. 2550 ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที6 โครงการ English Program โรงเรียนอัสสัมชัญ แผนกประถม ปการศึกษา 2558 ผูวิจัย มิสนัดติกาญจน ทองบุญทธิฝายโปรแกรมภาษาอังกฤษ นําเสนอ โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ปการศึกษา 2558

โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม งานวิจัยในช้ันเรียน ปการศึกษา 2558

ช่ืองานวิจัย

การรับรูและความเขาใจตอการกระทําความผิดตาม พ.ร.บ.วาดวยการกระทําความผิดทางคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โครงการ English Program

โรงเรียนอัสสัมชัญ แผนกประถม ปการศึกษา 2558

ผูวิจัย

มิสนัดติกาญจน ทองบุญทธ์ิ

ฝายโปรแกรมภาษาอังกฤษ

นําเสนอ

โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ปการศึกษา 2558

Page 2: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

ก  

ชื่อเร่ืองงานวิจัย การรับรูและความเขาใจตอการกระทําความผิดตาม พ.ร.บ.วาดวยการกระทําความผิดทางคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โครงการ English Program โรงเรียนอัสสัมชัญ แผนกประถม ปการศึกษา 2558

ผูเขียน นางสาวนัดติกาญจน ทองบุญฤทธ์ิ

บทคัดยอ

การรับรูและความเขาใจตอการกระทําความผิดตาม พ.ร.บ.วาดวยการกระทําความผิดทางคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โครงการ English Program โรงเรียนอัสสัมชัญ แผนกประถม ปการศึกษา 2558 มีวัตถุประสงค 2 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาการรับรูและความเขาใจตอการกระทําความผิดตาม พ.ร.บ.วาดวยการกระทําความผิดทางคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 ของนักเรียนโรงเรียนอัสสัมชัญ แผนกประถม ปการศึกษา 2558 2) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โครงการ Englsih Program โรงเรียนอัสสัมชัญ แผนกประถม ปการศึกษา 2558 การศึกษาคร้ังนี้เก็บรวบรวมขอมูล โดยใชแบบสอบถามเปนเคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมขอมูลจากกลุมนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โครงการ English Program จํานวน 75 ชุด และวิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติเชิงพรรณนา ไดแก ความถ่ี รอยละและคาเฉล่ีย ผลการศึกษาพบวา

ดานการรับรู พบวาผูตอบแบบสอบถามสวนใหญมีการรับรูเนื้อหาสาระของ พ.ร.บ. ในระดับปานกลาง โดยมีการรับรูเร่ืองสถานท่ีแจงดําเนินคดีกับผูกระทําความผิด และความหมายระบบคอมพิวเตอร มากท่ีสุด

ดานความเขาใจ พบวาผูตอบแบบสอบถามสวนใหญมีความเขาใจตอการกระทําความผิดตาม พ.ร.บ. ในระดับปานกลาง โดยมีความเขาใจเร่ืองการรบกวนทําลายระบบคอมพิวเตอร และการนําเขาขอมูลเปนเท็จเนื้อหาไมเหมาะสม

ดานพฤติกรรม พบวาผูตอบแบบสอบถามสวนใหญมีพฤติกรรมตามกรอบของ พ.ร.บ. ในระดับมาก โดยมีพฤติกรรมท่ีถูกตองเร่ืองการไมมีพฤติกรรมเขาถึงขอมูลคอมพิวเตอรโดยมิชอบตาม และไมมีพฤติกรรมเขาถึงคอมพิวเตอรโดยมิชอบตาม มากท่ีสุด

Page 3: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

ข  

สารบาญ

หนา

บทคัดยอ ก

สารบาญ ข

สารบาญตาราง ง

สารบาญภาพ จ

สารบาญกราฟ ฉ

บทท่ี 1 บทนํา 1

หลักการและเหตุผล 1

จุดมุงหมายของการวิจยั 2

ประโยชนท่ีจะไดรับจากการศึกษา 2

ขอบเขตของการวิจัย 2

นิยามศัพทเฉพาะ 2

สมมติฐานการวิจัย 3

กรอบแนวคิดในการวิจัย 4

บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิัยท่ีเกี่ยวของ 7

ทฤษฎีการรับรู ความเขาใจ 7

แนวคิดของพฤติกรรม 9

รูปแบบการกระทําความผิดและบทกําหนดโทษตามพระราชบัญญัติ

วาดวยการกระทําผิดเกีย่วกบัคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 11

เอกสารและงานวิจยัท่ีเกีย่วของ 14

บทท่ี 3 วิธีดําเนินการวิจัย 17

ประชากรและกลุมตัวอยาง 17

เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย 17

ข้ันตอนการสรางและตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือในการวิจัย 17

การเก็บรวบรวมขอมูล 18

การวิเคราะหขอมูล และสถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล 18

Page 4: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

ค  

สารบาญ (ตอ)

หนา

บทท่ี 4 การวิเคราะหขอมูล 20

สวนท่ี 1 การรับรูและความเขาใจตอการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติ 20

วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพวิเตอร 2550

สวนท่ี 2 พฤตกิรรมการใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตของนักเรียนตาม 36

กรอบ พ.ร.บ. หลังประกาศใชในปจจุบัน

บทท่ี 5 สรุปผลการศึกษา อภิปรายผล ขอคนพบ และขอเสนอแนะ 43

วิธีดําเนนิการวิจยั 44

สรุปผลการวิจัย 45

อภิปรายผลการวิจัย 46

ขอคนพบ 47

ขอเสนอแนะ 47

บรรณานุกรม 49

ภาคผนวก 51 ภาคผนวก ก พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพวิเตอร

พ.ศ.๒๕๕๐ 52

ภาคผนวก ข แบบสอบถาม 60

ประวัติผูเขียน 64

Page 5: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

ง  

สารบาญตาราง

ตารางท่ี หนา

1 รูปแบบการกระทําความผิด 13

2 แสดงความถ่ี และรอยละของคําตอบการรับรูเกี่ยวกับเนือ้หาสาระ 20

ของพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 2550

3 แสดงความถ่ี และรอยละของการอภิปรายแปลผลคําตอบการรับรูเกี่ยวกับเนื้อหาสาระของ 24

พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพวิเตอร 2550

4 แสดงความถ่ี และรอยละของการอภิปรายแปลผลระดับการรับรูเกี่ยวกบัเนื้อหาสาระของ 27

พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพวิเตอร 2550

5 แสดงความถ่ี และรอยละของขอมูลคําตอบความเขาใจตอการกระทําความผิด 29

ตามพระราชบญัญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 2550

6 แสดงความถ่ี และรอยละของการอภิปรายแปลผลคําตอบความเขาใจตอการกระทํา 32

ความผิดตามพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพวิเตอร 2550

7 แสดงความถ่ี และรอยละของการอภิปรายแปลผลระดับความเขาใจตอการกระทําความผิด 35

ตามพระราชบญัญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 2550

8 แสดงความถ่ี และรอยละของขอมูลคําตอบเกี่ยวกับพฤตกิรรมการใชคอมพิวเตอรและ 36

อินเทอรเน็ตกระทําความผิดในปจจุบัน

9 แสดงความถ่ี และรอยละของการอภิปรายแปลผลคําตอบเกี่ยวกับพฤตกิรรมการใช 39

คอมพิวเตอรและอินเทอรเนต็ของผูใชบริการตามกรอบ พ.ร.บ. ในปจจุบัน

10 แสดงความถ่ี และรอยละของระดับพฤติกรรมการใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ต 41

กระทําความผิดในปจจุบัน

Page 6: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

จ  

สารบาญภาพ

ภาพท่ี หนา

1 กรอบแนวคิดท่ีใชในการศึกษา 4

2 แสดงแบบจําลองกระบวนการรับรู 8

Page 7: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

ฉ  

สารบาญกราฟ

กราฟท่ี หนา

1 แสดงรอยละของคําตอบการรับรูเกี่ยวกับเนื้อหาสาระของพระราชบัญญัติวาดวย 22

การกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 2550

2 แสดงรอยละของการอภิปรายแปลผลคําตอบการรับรูเกี่ยวกับเนื้อหาสาระของพระราชบัญญัติ 26

วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพวิเตอร 2550

3 แสดงรอยละของการอภิปรายแปลผลระดับการรับรูเกี่ยวกับเนื้อหาสาระของพระราชบัญญัติ 28

วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพวิเตอร 2550

4 แสดงรอยละของขอมูลคําตอบความเขาใจตอการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติ 30

วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพวิเตอร 2550

5 แสดงรอยละของการอภิปรายแปลผลคําตอบความเขาใจตอการกระทําความผิดตาม 33

พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพวิเตอร 2550

6 แสดงรอยละของการอภิปรายแปลผลระดับความเขาใจตอการกระทําความผิดตาม 35

พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพวิเตอร 2550

7 แสดงรอยละของขอมูลคําตอบเกี่ยวกับพฤตกิรรมการใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ต 37

กระทําความผิดในปจจุบัน

8 แสดงรอยละของการอภิปรายแปลผลคําตอบเกี่ยวกับพฤตกิรรมการใชคอมพิวเตอร 40

และอินเทอรเน็ตของผูใชบริการตามกรอบ พ.ร.บ. ในปจจุบัน

9 แสดงรอยละของระดับพฤตกิรรมการใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตตามกรอบ 42

พระราชบัญญัติในปจจุบัน

Page 8: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

1

บทนํา หลักการและเหตุผล

เทคโนโลยีในยุคปจจุบันนับวาเปนอีกส่ิงหนึ่ง ท่ีไดเขามามีบทบาทอยางมากสําหรับการดําเนินชีวิตในแตละวันของเรา เพราะทุก ๆ เทคโนโลยีลวนมีวัตถุประสงคในการพัฒนาเพื่อตอบสนองความตองการของมนุษยใหมีความเปนอยูท่ีดี มีความสะดวกสบาย หรือเพื่อใหมีคุณภาพชีวิตท่ีดี (Quality of life) หากเม่ือกลาวถึงคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ต ซ่ึงถือเปนเทคโนโลยีท่ีไดเขามาชวยใหการดําเนินชีวิตเรางายและเร็วข้ึนในหลาย ๆ ดาน เชน ดานการศึกษาคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตชวยใหเด็กในพื้นท่ีชนบทหางไกลสามารถท่ีจะศึกษาเรียนรูผานทางระบบการศึกษาทางไกล (Distance Education) ทําใหขอจํากัดดานการศึกษาของเด็กเหลานี้ลดนอยลง และจากจํานวนของผูใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตในประเทศไทยท่ีมีจํานวนเพิ่มมากข้ึนนั้น โดย ป 2552-2556 พบวาผูใชคอมพิวเตอรมีสัดสวนเพิ่มข้ึนจาก รอยละ 29.3 (จํานวน 17.9 ลานคน) เปนรอยละ 35.0 (จํานวน 22.2 ลานคน) ผูใชอินเทอรเน็ตเพิ่มข้ึนจากรอยละ 20.1(จํานวน 12.3 ลานคน) เปนรอยละ 28.9 (จํานวน 18.3 ลานคน) (สํานักงานสถิติแหงชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร, 2556) และมีการคาดการวาแนวโนมจะยังคงมีจํานวนผูใชเพิ่มข้ึนตอไปอีก และเนื่องดวยปการศึกษา 2558 โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถมไดมีการสงเสริมใหนักเรียนเขาถึงเทคโนโลยีใหมากข้ึนและนําเทคโนโลยีเหลานั้นมาชวยในการเรียนการสอนของนักเรียน ซ่ึงนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โครงการ English Program ไดรับอนุญาตจากทางโรงเรียนใหนําอุปกรณคอมพิวเตอรพกพา (iPad) มาใชทําการเรียนการสอนในหองเรียน ในรายวิชาท่ีเปนภาษาอังกฤษ ซ่ึงนักเรียน ตามความหมายของ พ.ร.บ.วาดวยการกระทําความผิดทางคอมพิวเตอร พ.ศ.2550 ถือเปนผูใชบริการประเภทหนึ่ง และ โรงเรียน คือผูใหบริการในบริบทนี้ ซ่ึงดวยกฎหมายดังกลาว ไดมีการบังคับใชจนถึงปจจุบันเปนเวลา 8 ปแลว แตทวา ส่ือ โทรทัศน วิทยุ หนังสือพิมพ ฯลฯ ก็ยังคงเสนอขาวถึงการทําผิด พ.ร.บ. นี้อยูเปนประจํา โดยเฉพาะในวัยรุน นักเรียน นักศึกษา ที่มีการโพสตคลิปส่ือลามกอนาจาร โพสตขอความหม่ินประมาท การนําเขาขอมูลอันเปนเท็จ ซ่ึงการกระทําดังกลาวกอใหเกิดความเสียหายในวงกวางท้ังตอตนเอง ผูอ่ืน ภาครัฐ และประเทศชาติ ซ่ึงหากเหตุการณ หรือ ขอผิดพลาดเกิดข้ึนและนักเรียนเปนผูกระทําความผิดใดๆ ภายใตโครงขายอินเทอรเน็ตของโรงเรียน โรงเรียนจะเปนผูไดรับผลกระทบและบทลงโทษตาม พ.ร.บ. ผูวิจัยจึงเล็งเห็นถึงความสําคัญของ การรับรูและความเขาใจตอ พ.ร.บ.วาดวยการกระทําความผิดทางคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 ท่ีนักเรียนพึ่งรูและเขาใจ

และดวยเหตุผลขางตนทําใหผูทําการวิจัยเกิดความสนใจท่ีจะศึกษาถึง การรับรูและความเขาใจตอการกระทําความผิดตาม พ.ร.บ.วาดวยการกระทําความผิดทางคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โครงการ English Program โรงเรียนอัสสัมชัญ แผนกประถม ปการศึกษา 2558 ถึงความเขาใจท่ีมีตอพระราชบัญญัติมากนอยเพียงใด

Page 9: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

2

จุดมุงหมายของการวิจัย

1. เพื่อศึกษาการรับรูและความเขาใจตอการกระทําความผิดตาม พ.ร.บ.วาดวยการกระทําความผิด ทางคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 ของนักเรียนโรงเรียนอัสสัมชัญ แผนกประถม ปการศึกษา 2558

2. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โครงการ Englsih Program โรงเรียนอัสสัมชัญ แผนกประถม ปการศึกษา 2558 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ

1. ไดทราบถึงการรับรูและความเขาใจตอการกระทําความผิดตาม พ.ร.บ.วาดวยการกระทําความผิดทางคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 ของนักเรียนโรงเรียนอัสสัมชัญ แผนกประถม ปการศึกษา 2558

2. ไดทราบพฤติกรรมการใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โครงการ Englsih Program โรงเรียนอัสสัมชัญ แผนกประถม ปการศึกษา 2558

3. ไดขอมูลท่ีอาจนําไปใชในการปองกันการกระทําความผิดตาม พ.ร.บ.วาดวยการกระทําความผิดทางคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 ของนักเรียน

ขอบเขตของการวิจัย

ประชากรและกลุมตัวอยาง กลุมเปาหมายท่ีใชในการศึกษาคนควา ไดแก นักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โครงการ Englsih Program ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2558 โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร จานวน 75 คน

นิยามศัพทเฉพาะ ผูใหบริการ หมายถึง โรงเรียนอัสสัมชัญ แผนกประถม ท่ีใหบริการคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ต แก นักเรียน ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โครงการ English Program ผูใชบริการ หมายถึง นักเรียน ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โครงการ English Program โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ความผิด ความผิด หมายถึง การละเมิด ปลอมแปลงขอมูลคอมพิวเตอร การเผยแพรเนื้อหาอันไม เหมาะสม หรือขอมูลท่ีเปนเท็จ การลวงรูหรือการพยายามเขาสูระบบโดยไมไดรับสิทธิ กอใหเกิดความเสียหายแกบุคคลนั้น ๆ หรือขอมูลนั้น กอใหเกิดความตระหนกแกประชาชนหรือกระทบตอความม่ันคงของประเทศในทางมิชอบท้ังแบบจงใจและไมจงใจ

Page 10: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

3

พ.ร.บ. หมายถึง กฎหมายบังคับใชการกระทําความผิดทางคอมพิวเตอร คือ พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550

สมมติฐานการวิจัย 1. นักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โครงการ English Program มีการรับรูเนื้อหาสาระของ พ.ร.บ. อยูใน

ระดับปานกลาง 2. นักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โครงการ English Program มีความเขาใจตอการกระทําความผิดตาม

พ.ร.บ. อยูในระดับปานกลาง 3. นักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โครงการ English Program มีพฤติกรรมการใชคอมพิวเตอรและ

อินเทอรเน็ตตามกรอบของ พ.ร.บ. อยูในระดับมาก

Page 11: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

4

กรอบแนวคิดในการวิจัย

จากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ ผูศึกษาสามารถสรุปไดเปนแผนภูมิรูปภาพซ่ึงแสดงถึงกับการรับรูและความเขาใจตอการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 ของนักเรียน โรงเรียนอัสสัมชัญ แผนกประถม ปการศึกษา 2558

ภาพท่ี 1 กรอบแนวคิดท่ีใชในการศึกษา

การรับรู (Perception)

การรับรูเน้ือหาของ พ.ร.บ

- วันที่ประกาศใช - วันที่บังคับใชหลังประกาศ - ระยะเวลาที่ผอนผันการเก็บขอมูลจราจรทาง คอมพิวเตอรของผูใหบริการ - ความหมายระบบคอมพิวเตอร - ความหมายขอมูลคอมพิวเตอร - ลักษณะขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร - ผูใหบริการแกผูอื่นใหเขาสูอินเทอรเน็ต - ผูใหบริการเก็บรักษาขอมูลคอม - ลักษณะผูใชบริการ - ลักษณะของพนักงานเจาหนาที่ - การเก็บขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร - สถานที่แจงดําเนินคดีกับผูกระทําความผิด - การลงโทษกับผูกระทําผิดคนไทย ตางดาว

ความเขาใจ (Comprehension)

ความเขาใจในการกระทําความผิดตาม พ.ร.บ. - การเขาถึงคอมพิวเตอรโดยมิชอบ - การลวงรู เปดเผย มาตรการปองกัน - การเขาถึงขอมูลคอมพิวเตอรโดยมิชอบ - การดักขอมูลคอมพิวเตอร - การรบกวนขอมูลคอมพิวเตอร - การรบกวนทําลายระบบคอมพิวเตอร - การทําสแปมเมล สงขอมูลปกปดแหลงที่มา - การจําหนาย เผยแพรชุดคําสั่งเพ่ือกระทําผิด - การนําเขาเผยแพรขอมูลเท็จเน้ือหาไม เหมาะสม - ผูใหบริการสนับสนุนยินยอมใหกระทําผิด - การนําเขาขอมูล ตัดตอภาพผูอื่นทําใหเสียหาย

พฤติกรรม (Behavior)

พฤติกรรมตามกรอบของ พ.ร.บ. - เขาถึงคอมพิวเตอรโดยมิชอบ - ลวงรู เปดเผย มาตรการปองกัน - เขาถึงขอมูลคอมพิวเตอรโดยมิชอบ - ดักขอมูลคอมพิวเตอร - รบกวนขอมูลคอมพิวเตอร - รบกวนทําลายระบบคอมพิวเตอร - ทําสแปมเมล สงขอมูลปกปดแหลงที่มา - จําหนาย เผยแพรชุดคําสั่งเพ่ือกระทําผิด - นําเขาเผยแพรขอมูลเท็จเน้ือหาไมเหมาะสม - นําเขาขอมูล ตัดตอภาพผูอื่นทําใหเสียหาย

Page 12: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

5

จากภาพท่ี 1 แสดงถึงกรอบแนวคิดท่ีใชในการศึกษาการรับรูและความเขาใจตอการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร ๒๕๕๐ ซ่ึงสวนของการรับรูเกี่ยวกับ พ.ร.บ. และสวนของความเขาใจตอการกระทําความผิด ไดอางอิงจาก พ.ร.บ.ในเน้ือหา และ ฐานความผิดโดยมีรายละเอียดดังนี้

สวนท่ี 1 การรับรูเนื้อหาสาระและความเขาใจการกระทําท่ีมีความผิดของพระราชบัญญัติ 1.1 การรับรูเกี่ยวกับพระราชบัญญัติ

1.1.1 วันท่ีประกาศใช 1.1.2 วันท่ีบังคับใชหลังประกาศ 1.1.3 ระยะเวลาผอนผันการเก็บขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร 1.1.4 ความหมายระบบคอมพิวเตอร 1.1.5 ความหมายขอมูลคอมพิวเตอร 1.1.6 ลักษณะขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร 1.1.7 ลักษณะผูใหบริการแกผูอ่ืนใหเขาสูอินเทอรเน็ต 1.1.8 ลักษณะผูใหบริการเก็บรักษาขอมูลคอมพิวเตอร 1.1.9 ลักษณะผูใชบริการ 1.1.10 คุณสมบัติลักษณะของพนักงานเจาหนาท่ี 1.1.11 การเก็บขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรของผูใหบริการ 1.1.12 สถานท่ีแจงดําเนินคดีกับผูกระทําความผิด 1.1.13 การลงโทษกับผูกระทําผิดคนไทย และคนตางดาว

1.2 ความเขาใจตอการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติ 1.2.1 การเขาถึงคอมพิวเตอรโดยมิชอบ 1.2.2 การลวงรู เปดเผย มาตรการปองกัน 1.2.3 การเขาถึงขอมูลคอมพิวเตอรโดยมิชอบ 1.2.4 การดักขอมูลคอมพิวเตอร 1.2.5 การรบกวนขอมูลคอมพิวเตอร 1.2.6 การรบกวนทําลายระบบคอมพิวเตอร 1.2.7 การทําสแปมเมล สงขอมูลปกปดแหลงท่ีมา 1.2.8 การจําหนาย เผยแพรชุดคําส่ังเพื่อกระทําผิด 1.2.9 การนําเขาเผยแพรขอมูลเท็จเนื้อหาไม เหมาะสม 1.2.10 ผูใหบริการสนับสนุนยินยอมใหกระทําผิด 1.2.11 การนําเขาขอมูล ตัดตอภาพผูอ่ืนทําใหเสียหาย

Page 13: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

6

สวนท่ี 2 พฤติกรรมการใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตของผูใชบริการตามกรอบของพระราชบัญญัติในปจจุบัน

พฤติกรรมปจจุบันของนักเรียนในการใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตตามกรอบของ พ.ร.บ. 2.1.1 พฤติกรรมเขาถึงคอมพิวเตอรโดยมิชอบ 2.1.2 พฤติกรรมลวงรู เปดเผย มาตรการปองกัน 2.1.3 พฤติกรรมเขาถึงขอมูลคอมพิวเตอรโดยมิชอบ 2.1.4 พฤติกรรมดักขอมูลคอมพิวเตอร 2.1.5 พฤติกรรมรบกวน ทําลายขอมูลคอมพิวเตอร 2.1.6 พฤติกรรมรบกวน ทําลายระบบคอมพิวเตอร 2.1.7 พฤติกรรมทําสงสแปมมสงขอมูลปกปดแหลงท่ีมา 2.1.8 พฤติกรรมจําหนาย/เผยแพรชุดคําส่ัง 2.1.9 พฤติกรรมนําเขา เผยแพร ขอมูลเปนเท็จ เนื้อหาไมเหมาะสม 2.1.10 พฤติกรรมนําเขาขอมูล ตัดตอภาพทําใหผูอ่ืนเกิดความเสียหาย

Page 14: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

7

บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ

แนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจยัท่ีเกี่ยวของท่ีใชอางอิงในการศึกษาเกี่ยวกับ การรับรูและความเขาใจ

ตอการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพวิเตอร 2550 ไดแก ทฤษฏีการรับรู ความเขาใจ

ทฤษฎีการรับรู ทฤษฎีการรับรู (Perception Theory) กลาวคือ การรับรูวาเปนพื้นฐานการเรียนรูท่ีสําคัญของบุคคล

เพราะการตอบสนองพฤติกรรมใดๆ จะข้ึนอยูกับการรับรูจากสภาพแวดลอมของตนและความสามารถในการแปลความหมายของสภาพนั้นๆ ดังนั้นการเรียนรูท่ีมีประสิทธิภาพจึงข้ึนอยูกับปจจัยการรับรูและส่ิงเราท่ีมีประสิทธิภาพ ซ่ึงปจจัยการรับรูประกอบดวย ประสาทสัมผัสและปจจัยทางจิตคือ ความรูเดิม ความตองการ และเจตคติ เปนตน การรับรูจะประกอบดวยกระบวนการสามดานคือ การรับ สัมผัส การแปลความหมาย

ธัญชนก พิสุทธ์ิรติการุณย (2551: 27) กลาววา การรับรู (Perception) หมายถึงกระบวนการตีความหมายจากส่ิงท่ีเราพบเห็นในส่ิงแวดลอม หรือแปลความหมายของมนุษยท่ีไดจากความรูสึกสัมผัสเม่ือส่ิงเรามากระทบประสาทสัมผัสท้ัง 5 ซ่ึงประกอบดวย การมองเห็นจากดวงตา การไดยินจากหู การไดกล่ินจากจมูก การชิมรสจากล้ิน และ การสัมผัสจากอวัยวะตาง ๆ ทางรางกาย โดยการจําแนกคัดเลือก วิเคราะห ดวยระบบการทํางานของภาวะรางกาย เทียบเคียงกับประสบการณเดิมในความทรงจําใหกลายเปนส่ิงหนึ่งส่ิงใดท่ีมีความหมาย จดจํา สงผลตอการแสดงพฤติกรรม และนําไปใชในการรับรูตอไป

สุรางค จันทรเอม (2518: 107) ไดใหความหมายของการรับรูไวเปนขอ ๆ ดังนี้ 1. การรับรู คือ การจัดระบบการรวบรวมและตีความหมายจากการสัมผัส 2. การรับรู คือ กระบวนการที่ส่ิงมีชีวิตรับเอาเร่ืองราวตาง ๆ โดยอาศัยอวัยวะรับสัมผัสเปนส่ือกลาง 3. การรับรู คือ กระบวนการที่เกิดข้ึนระหวางส่ิงเราและการตอบสนองส่ิงเรากระบวนการรับรู สถิติ วงศสวรรค (2529: 105) ไดกลาวถึงการรับรูไววา การรับรูมีความสําคัญตอการเรียนรู การรับรูทํา

ใหเกิดการเรียนรู ถาไมมีการรับรูแลวการเรียนรูจะเกิดข้ึนไมไดสังเกตไดจากกระบวนการดังนี้ ส่ิงเรา ประสาทสัมผัสกับส่ิงเรา ตีความแลวรูความหมายการรับรู เกิดสังเกตเปนการเรียนรู มีความสําคัญตอเจตคติ อารมณและแนวโนมของพฤติกรรมเม่ือรับรูแลวยอมเกิดความรูสึกและมีอารมณพัฒนาเปนเจตคติแลวพฤติกรรมก็ตามมาในท่ีสุด กอใหเกิดแนวความคิดเชิงสรางสรรคท่ีจะดําเนินการพัฒนา แกไข ปรับปรุง เปล่ียนแปลง เลือกสรร และแยกแยะส่ิงเรารอบ ๆดานโดยมีกระบวนการรับรูดังนี้

Page 15: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

8

ภาพท่ี 2 แสดงแบบจําลองกระบวนการรับรู

กมลรัตน หลาสุวงศ (2527: 228-239) สรุปวา การรับรูแบงออกเปน 4 ประการ คือ 1. การรับรูทางอารมณ หมายถึง การรับรูความรูสึกท่ีเกิดข้ึนภายในจิตใจ 2. การรับรูลักษณะของบุคคลตองอาศัยขอมูลประกอบกัน 3. การรับรูลักษณะทางกายภาพ พฤติกรรม และคําบอกเลา 4. การรับรูภาพพจนของกลุมบุคคล หมายถึง มโนภาพหรือมโนคติของส่ิงตาง ๆ ตามท่ีบุคคลรับรูเปน

ภาพท่ีอยูในความคิดหรือจินตนาการของบุคคลและบุคคลสามารถบอกลักษณะของภาพเหลานั้นใหผูอ่ืนทราบไดดวย

ความหมายของความเขาใจ

ความเขาใจ (Comprehension) เปนความสามารถในการจับใจความ ไดแก การแปลตีความ และขยาย

ความในเร่ืองนั้น ผูท่ีมีความเขาใจจะตองรูความหมายและรายละเอียดของเร่ืองนั้นสามารถอธิบายไดดวยตนเอง

ประภาเพ็ญ สุวรรณ (2526 : 16) ใหความหมายของความเขาใจวา เปนความสามารถในการส่ือสาร

ความหมายของส่ิงท่ีเรียนรู โดยไมจําเปนตองนําไปสัมพันธกับส่ิงอ่ืน ๆ ไดแก

1. การแปลความ (Translation) สามารถส่ือความหมายของส่ิงท่ีเรียนรูแลว โดยวิธีส่ือความหมายแบบ

อ่ืน ๆ เขาใจความหมายของความรูท่ีปรากฏในการส่ือความหมายแบบตาง ๆ

2. การตีความ (Interpretation) สามารถอธิบายหรือสรุปความเกี่ยวกับส่ิงท่ีเรียนรูนั้น

3. การขยายความ (Extrapolation) สามารถพิจารณาถึงส่ิงท่ีนอกเหนือไปจากเร่ืองท่ีเรียนรูท้ังดานโอกาส

ท่ีจะนําไปใช ผลท่ีเกิดข้ึน แนวโนมในโอกาสตอไป

การตอบโต (Action)

ความทรงจํา (Memory)

ประสาทสัมผัส (Sensation)

ขอมูลจากภายนอก (Information from the World)

การรับรู (Perception)

ความรูความเขาใจ (Cognition)

Page 16: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

9

ดังนั้นจึงกลาวสรุปไดวาการรับรู คือ การแปลความ ของส่ิงท่ีไดสัมผัสโดยผานกระบวนการแปลความหมายเพื่อใหเกิดความเขาใจในส่ิงนั้นๆ

แนวคิดของพฤติกรรม ความหมายของพฤติกรรม พฤติกรรมเปนกิริยาอาการที่แสดงออกของส่ิงมีชีวิตในการตอบสนองตอส่ิงเรา ท้ังจากภายนอกและ

ภายใน โดยรูปแบบของพฤติกรรมตางๆ นั้นเปนผลมาจากการทํางานรวมกันของพันธุกรรมและส่ิงแวดลอม อารีย พันธมณี (2534, 15-16) ไดใหความหมายคําวา พฤติกรรม (Behavior) วาหมายถึง กิจกรรม หรือ

การกระทําของอินทรีย ท่ีบุคคลสามารถสังเกตเห็นได รูได หรือใชเคร่ืองมือวัดหรือตรวจสอบได พฤติกรรมแบงออกเปน

1. พฤติกรรมภายนอก (Overt Behavior) เปนพฤติกรรมท่ีสามารถมองเห็นสังเกตได จากภายนอกมี 2 ลักษณะ คือ

1.1 พฤติกรรมแบบ Molar เปนพฤติกรรมท่ีสังเกตเห็นดวยตาเปลา โดยไมตองอาศัย เคร่ืองมือวัดและตรวจสอบ

1.2 พฤติกรรมแบบ Molecular เปนพฤติกรรมท่ีตองอาศัย เคร่ืองชวยในการสังเกตเชน การไหลเวียนของโลหิต การเดินของหัวใจ 2. พฤติกรรมภายใน (Covert Behavior) เปนพฤติกรรมท่ีสามารถเห็นไดชัดเจนดวยตาแตจําตองใช

เคร่ืองมือวัดและตรวจสอบ พฤติกรรมภายใน คือ ความรูสึก (Feeling) การรับรู (Perceiving) การจดจํา (Remembering) การคิด (Thinking) และการตัดสินใจ (Decision Making)

สุชา จันทรเอม (2534, 1) ไดกลาวถึงพฤติกรรมวา เปนกิจกรรม หรือการกระทําตาง ๆ ของส่ิงมีชีวิต ซ่ึงแบงไดเปน 2 ประเภท คือ

1. พฤติกรรมที่แสดงออกภายนอก (Overt Behavior) เปนพฤติกรรมท่ีผูอ่ืนสังเกตเห็นไดชัดเจน เชน การหัวเราะ การรองไห การเดิน การเคล่ือนไหวของรางกายและอ่ืน ๆ

2. พฤติกรรมท่ีแสดงออกภายใน (Covert Behavior) อาจสังเกตยากตองใชเคร่ืองมือ ชวยในการสังเกต เชน การคิด การรับรู อารมณและอ่ืนๆ

วิมลสิทธ์ิ หรยางกูร (2530) ไดกลาวถึงกระบวนการทางพฤติกรรมไววา เปนความสัมพันธระหวาง

มนุษยกับสภาพแวดลอมกายภาพนั้น เกิดกระยวนการทางพฤติกรรม ท่ีแสดงถึงลักษณะเฉพาะทางพฤติกรรม

อาจจําแนกข้ันตอนของกระบวนการทางพฤติกรรมตามลักษณะทางพฤติกรรมท่ีเดนชัดและมีความเฉพาะพอตอ

การจําแนกออกไดเปน 3 กระบวนการยอยดังนี้

1. กระบวนการรับรู (Perception) คือ กระบวนการท่ีรับขาวสารจากสภาพแวดลอมโดยผานทางระบบ

ประสาทสัมผัส กระบวนการนี้จึงรวมการรูสึก (Sensation) ดวย

Page 17: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

10

2. กระบวนการรู (Cognition) คือ กระบวนการที่เกี่ยวของกับกระบวนการทางจิตท่ีรวมการเรียนรู การ

จํา การคิด กระบวนการทางจิตดังกลาวยอมรวมถึงการพัฒนาดวย กระบวนการรูจึงเปนกระบวนการทางปญญา

พรอมกันในกระบวนการรับรูและกระบวนการรูนี้ เกิดการตอบสนองทางดานอารมณเกิดกระบวนการทางดาน

อารมณ (Affect) ท้ังกระบวนการรับรูกระบวนการรูและกระบวนการทางอารมณ เปนพฤติกรรมภายใน (Covert

Behavior)

3. กระบวนการเกิดพฤติกรรมในสภาพแวดลอม (Spatial Behavior) คือ กระบวนการที่บุคคลมี

พฤติกรรมเกิดข้ึนในสภาพแวดลอม มีความสัมพันธกับสภาพแวดลอมผานการกระทําเปนท่ีสังเกตไดจาก

ภายนอก เปนพฤติกรรมภายนอก (Overt Behavior)

การประเมินพฤติกรรม สมโภชน เอ่ียมสุภาษิต (2543 : 61-62) กลาววา การประเมินพฤติกรรมจะทําใหสามารถวิเคราะหถึง

ความสัมพันธของตัวแปรตาง ๆ ในสภาพแวดลอมท่ีมีผลตอพฤติกรรมท่ีบุคคลแสดงออกทําใหเกิดความเขาใจในพฤติกรรรม โดยวิธีการประเมินพฤติกรรมสามารถแบงออกเปน2 ประเภท ดังนี้

1. วิธีการประเมินโดยตรง (Direct Methods of Assessment) เปนวิธีท่ีสามารถบอกถึงลักษณะของพฤติกรรมโดยไมตองผานกระบวนการตีความ ประกอบดวย

1.1 การสังเกตพฤติกรรม (Observation) 1.2 การสังเกตและบันทึกพฤติกรรมของตนเอง (Self-Monitoring) 1.3 การวัดผลที่เกิดข้ึน (Measurement of Product) 1.4 การวดัทางสรีระ (Physiological Measures)

2. วิธีการประเมินทางออม (Indirect Methods of Assessment) เปนวิธีท่ีตองผานกระบวนการตีความซ่ึงตองข้ึนอยูกับความตรง (Validity) และความเท่ียง (Reliability)ประกอบดวย

2.1 การสัมภาษณ (Interview) 2.2 การรวบรวมขอมูลจากผูอ่ืน (Information from other People) 2.3 การรายงานตนเอง (Self Report)

ดังนั้นจึงกลาวสรุปไดวาพฤติกรรม เปนการตอบสนองตอส่ิงแวดลอมท่ีเขามากระตุนผานทางกระบวนการรับรูและการเรียนรูท่ีถือวาเปนส่ิงสําคัญตอพฤติกรรม โดยแบงออกเปนพฤติกรรมภายนอก (Overt Behavior) และพฤติกรรมภายใน (Covert Behavior) ซ่ึงการศึกษาในคร้ังนี้จะเปนการศึกษาพฤติกรรมภายนอก (Overt Behavior) ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โครงการ English Program โรงเรียนอัสสัมชัญ แผนกประถม

Page 18: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

11

รูปแบบการกระทําความผิดและบทกําหนดโทษตามพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 (พรเพชร วิชิตชลชัย, 2551)

มาตรา ๕ ผูใดเขาถึงโดยมิชอบซ่ึงระบบคอมพิวเตอรท่ีมีมาตรการปองกันการเขาถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิไดมีไวสําหรับตน ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกินหนึ่งหม่ืนบาท หรือท้ังจําท้ังปรับ

มาตรา ๖ ผูใดลวงรูมาตรการปองกันการเขาถึงระบบคอมพิวเตอรท่ีผูอ่ืนจัดทําข้ึนเปนการเฉพาะถานํามาตรการดังกลาวไปเปดเผยโดยมิชอบในประการที่นาจะเกิดความเสียหายแกผูอ่ืน ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหม่ืนบาท หรือท้ังจําท้ังปรับ

มาตรา ๗ ผูใดเขาถึงโดยมิชอบซ่ึงขอมูลคอมพิวเตอรท่ีมีมาตรการปองกันการเขาถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิไดมีไวสําหรับตน ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสองปหรือปรับไมเกินส่ีหม่ืนบาทหรือท้ังจําท้ังปรับ

มาตรา ๘ ผูใดกระทําดวยประการใดโดยมิชอบดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสเพื่อดักรับไวซ่ึงขอมูลคอมพิวเตอรของผูอ่ืนท่ีอยูระหวางการสงในระบบคอมพิวเตอร และขอมูลคอมพิวเตอรนั้นมิไดมีไวเพื่อประโยชนสาธารณะหรือเพื่อใหบุคคลท่ัวไปใชประโยชนไดตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหกหม่ืนบาท หรือท้ังจําท้ังปรับ

มาตรา ๙ ผูใดทําใหเสียหาย ทําลาย แกไข เปล่ียนแปลง หรือเพิ่มเติมไมวาท้ังหมดหรือบางสวน ซ่ึงขอมูลคอมพิวเตอรของผูอ่ืนโดยมิชอบ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหาป หรือปรับไมเกินหนึ่งแสนบาท หรือท้ังจําท้ังปรับ

มาตรา ๑๐ ผูใดกระทําดวยประการใดโดยมิชอบ เพื่อใหการทํางานของระบบคอมพิวเตอรของผูอ่ืนถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไมสามารถทํางานตามปกติไดตองระวางโทษจําคุกไมเกินหาป หรือปรับไมเกินหนึ่งแสนบาท หรือท้ังจําท้ังปรับ

มาตรา ๑๑ ผูใดสงขอมูลคอมพิวเตอรหรือจดหมายอิเล็กทรอนิกสแกบุคคลอ่ืนโดยปกปดหรือปลอมแปลงแหลงท่ีมาของการสงขอมูลดังกลาว อันเปนการรบกวนการใชระบบคอมพิวเตอรของบุคคลอ่ืนโดยปกติสุข ตองระวางโทษปรับไมเกินหนึ่งแสนบาท

มาตรา ๑๒ ถาการกระทําความผิดตามมาตรา ๙ หรือมาตรา ๑๐ (๑) กอใหเกิดความเสียหายแกประชาชน ไมวาความเสียหายนั้นจะเกิดข้ึนในทันทีหรือในภายหลังและไมวาจะเกิดข้ึนพรอมกันหรือไม ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสิบปและปรับไมเกินสองแสนบาท (๒) เปนการกระทําโดยประการท่ีนาจะเกิดความเสียหายตอขอมูลคอมพิวเตอรหรือระบบคอมพิวเตอรท่ีเกี่ยวกับการรักษาความม่ันคงปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความม่ันคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือการบริการสาธารณะหรือเปนการกระทําตอขอมูลคอมพิวเตอรหรือระบบคอมพิวเตอรท่ีมีไวเพื่อประโยชนสาธารณะ ตองระวางโทษจําคุกต้ังแตสามปถึงสิบหาป และ ปรับต้ัง

Page 19: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

12

แตหกหม่ืนบาทถึงสามแสนบาทถาการกระทําความผิดตาม (๒) เปนเหตุใหผูอ่ืนถึงแกความตาย ตองระวางโทษจําคุกต้ังแตสิบปถึงยี่สิบป มาตรา ๑๓ ผูใดจําหนายหรือเผยแพรชุดคําส่ังท่ีจัดทําข้ึนโดยเฉพาะเพื่อนําไปใชเปนเครื่องมือในการ

กระทําความผิดตามมาตรา ๕ มาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๘ มาตรา ๙ มาตรา ๑๐หรือมาตรา ๑๑ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหม่ืนบาท หรือท้ังจําท้ังปรับ

มาตรา ๑๔ ผูใดกระทําความผิดท่ีระบุไวดังตอไปน้ี ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหาป หรือปรับไมเกินหนึ่งแสนบาท หรือท้ังจําท้ังปรับ

(๑) นําเขาสูระบบคอมพิวเตอร ซ่ึงขอมูลคอมพิวเตอรปลอมไมวาท้ังหมดหรือบางสวน หรือขอมูลคอมพิวเตอรอันเปนเท็จ โดยประการที่นาจะเกิดความเสียหายแกผูอ่ืนหรือประชาชน (๒) นําเขาสูระบบคอมพิวเตอรซ่ึงขอมูลคอมพิวเตอรอันเปนเท็จ โดยประการท่ีนาจะเกิดความเสียหายตอความม่ันคงของประเทศหรือกอใหเกิดความต่ืนตระหนกแกประชาชน (๓) นําเขาสูระบบคอมพิวเตอรซ่ึงขอมูลคอมพิวเตอรใด ๆ อันเปนความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแหงราชอาณาจักรหรือความผิดเกี่ยวกับการกอการรายตามประมวลกฎหมายอาญา (๔) นําเขาสูระบบคอมพิวเตอรซ่ึงขอมูลคอมพิวเตอรใด ๆ ท่ีมีลักษณะอันลามกและขอมูลคอมพิวเตอรนั้นประชาชนท่ัวไปอาจเขาถึงได (๕) เผยแพรหรือสงตอซ่ึงขอมูลคอมพิวเตอรโดยรูอยูแลววาเปนขอมูลคอมพิวเตอรตาม (๑)(๒) (๓) หรือ (๔) มาตรา ๑๕ ผูใหบริการผูใดจงใจสนับสนุนหรือยินยอมใหมีการกระทําความผิดตามมาตรา๑๔ ในระบบ

คอมพิวเตอรท่ีอยูในความควบคุมของตน ตองระวางโทษเชนเดียวกับผูกระทําความผิดตามมาตรา ๑๔ มาตรา ๑๖ ผูใดนําเขาสูระบบคอมพิวเตอรท่ีประชาชนท่ัวไปอาจเขาถึงได ซ่ึง ขอมูลคอมพิวเตอรท่ี

ปรากฏเปนภาพของผูอ่ืน และภาพนั้นเปนภาพท่ีเกิดจากการสรางข้ึน ตัดตอ เติมหรือดัดแปลงดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสหรือวิธีการอ่ืนใด ท้ังนี้ โดยประการที่นาจะทําใหผูอ่ืนนั้นเสียช่ือเสียง ถูกดูหม่ิน ถูกเกลียดชัง หรือไดรับความอับอาย ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหกหม่ืนบาท หรือท้ังจําท้ังปรับเพื่อใหงายแกการเขาใจไดจําแนกการกระทําความผิดและบทลงโทษตามมาตรตาง ๆ แสดงไวดังนี้

Page 20: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

13

ตารางท่ี 1 รูปแบบการกระทําความผิด

ตัวอยาง รูปแบบการกระทําความผิด

ตัวอยางผลกระทบตอความม่ันคงปลอดภัย (Information Security) & ความเสียหาย

ความผิด ตามมาตรา

สปายแวร (Spyware) สนิฟเฟอร (Sniffer)

การสอดแนมขอมูลสวนตัว การแอบดักฟง packet

มาตรา ๕ เขาถึงระบบคอมพิวเตอร มาตรา ๖ เปดเผยมาตรการปองกันระบบ มาตรา ๗ เขาถึงขอมูลคอมพิวเตอร มาตรา ๘ ดักรับขอมูลคอมพิวเตอร

การใชชุดคําสั่งในทางมิชอบ (Malicious Code) เชน Viruses, Worms, Trojan Horses

การต้ังเวลาใหโปรแกรมทําลายขอมูลคอมพิวเตอร หรือระบบคอมพิวเตอร การทําใหระบบคอมพิวเตอรทํางานผิดปกติไปจากเดิม หรือหยุดทํางาน (Denial of Service)

มาตรา ๙ รบกวน/ทําลาย ขอมูลคอมพิวเตอร มาตรา ๑๐ รบกวน/ทําลาย ระบบคอมพิวเตอร

สแปมม (Spamming) รบกวนการใชระบบคอมพิวเตอรตามปกติ อาจถึงขั้นทําใหเปน Zombie

มาตรา ๑๑ การทําสแปมม

การกระทําความผิดขางตน ผลกระทบตอความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ หรือทางเศรษฐกิจความปลอดภัยสาธารณะ การบริการสาธารณะ

มาตรา ๑๒ เหตุฉกรรจ อันเกิดจากการกระทําขางตน

โปรแกรมเจาะระบบ (hacking tools)

นําไปใชเจาะระบบคอมพิวเตอร เพ่ือกออาชญากรรมรูปแบบตางๆ

มาตรา ๑๓ การจําหนายหรือเผยแพร ชุดคําสั่งไมพึงประสงค

การโพสตกระทูเท็จในเว็บบอรด สงผลกระทบตอระบบเศรษฐกิจ กอใหความต่ืนตระหนกกับสังคม กอใหเกิดความเสื่อมเสียตอสถาบันพระมหากษัตริย กอใหเกิดภาพอันลามก มีการสงตอขอมูลที่เปนความผิดขางตน

มาตรา ๑๔ การนําเขาสูระบบ คอมพิวเตอร ซึ่งขอมูลคอมพิวเตอร ปลอม, เท็จ หรือไมเหมาะสม หรือการ สงตอขอมูล (forward) น้ัน

การโพสตหรือนําเขา ขอมูลคอมพิวเตอร

เปนเครื่องมือหรือแพรกระจาย ความเสียหายตอบุคคลอื่น

มาตรา ๑๕ ความรับผิดฐานสนับสนุนการ กระทําความผิดของผูใหบริการ

การตัดตอภาพ ผูถูกกระทําถูกดูหมิ่น ถูกเกลืยดชัง หรืออับอาย

มาตรา ๑๖ การตัดตอภาพ เปนเหตุใหถูกดูหมิ่น ถูกเกลืยดชัง หรืออับอาย

Page 21: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

14

เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ

กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (2551) ไดจัดทํา “คูมือการปฏิบัติแนะแนวทางการปองกันเพื่อหลีกเล่ียงการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร” เพื่อเปนการเผยแพรความรูเกี่ยวกับวิธีการปองกันไมใหกระทําผิดตามพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 2550 ซ่ึงไดกลาวถึงเจตนารมณในการรางพระราชบัญญัติ และผลกระทบของการประกาศใชพระราชบัญญัติดังกลาวทําใหมีปญหาดานการเตรียมความพรอมของหนวยงานตางๆและไดทําการสํารวจความคิดเห็นของประชาชนโดยวิธีการสัมภาษณสมาชิกในครัวเรือนตัวอยางท่ีมีอายุ 18 ปข้ึนไปครัวเรือนละ 1 คน เปนจํานวน 5,800 คน ในระดับกรุงเทพฯ ภาค และท่ัวประเทศในวันท่ี 1 - 20 พฤษภาคม 2551 ไดผลวาประชาชนสวนใหญยังไมทราบวามีพระราชบัญญัติ สวนคนท่ีทราบวามีก็ยังไมมีความเขาใจในเนื้อหาของพระราชบัญญัติ โดยประชาชนมีความตองการที่จะทราบขอมูลและใหทําการเผยแพรผานส่ือโทรทัศนมากท่ีสุด

นัดติกาญจน ทองบุญฤทธ์ิ (2552) ไดทําการวิจัยเร่ือง “การรับรูและความเขาใจตอการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 ของผูใชบริการรานอินเทอรเน็ต ในอําเภอเมือง เชียงใหม” เปนการศึกษา การรับรูและความเขาใจ พฤติกรรม ของผูใชบริการรานอินเทอรเน็ต ในอําเภอเมือง เชียงใหม เคร่ืองมือท่ีใชในการเก็บขอมูลคือแบบสอบถาม โดยสอบถามเร่ือง ขอมูลท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถาม การรับรูเนื้อหาสาระ ความเขาใจตอการกระทําความผิด และพฤติกรรมการใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตตามกรอบ ของ พ.ร.บ. การดําเนินการวิจัยเปนแบบเชิงสํารวจ สําหรับการเก็บรวบรวมและวิเคราะหขอมูลท้ังจากแหลงขอมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ โดยขอมูลปฐมภูมิใชแบบสอบถามเปนเคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมขอมูล และศึกษาจากกลุมตัวอยางท่ีเปนผูใชบริการรานอินเทอรเน็ตในอําเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม จํานวน 382 ราย พบวาผูตอบแบบสอบถามสวนใหญ มีการรับรูเนื้อหาสาระของ พ.ร.บ. อยูในระดับปานกลาง โดยมีการรับรูมากท่ีสุด เร่ืองระยะเวลาผอนผันการเก็บขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร และมีการรับรูนอยท่ีสุด เร่ืองวันท่ีประกาศใชพระราชบัญญัติ ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญ มีความเขาใจตอการกระทําความผิดตาม พ.ร.บ. อยูในระดับปานกลาง โดยมีความเขาใจมากท่ีสุด เร่ืองการนําเขาขอมูลเปนเท็จเนื้อหาไมเหมาะสม และมีความเขาใจนอยท่ีสุด เร่ืองการดักขอมูลคอมพิวเตอร ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญ มีพฤติกรรมการใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตตามกรอบของ พ.ร.บ. อยูในระดับมาก โดยมีพฤติกรรมตามกรอบ พ.ร.บ. มากท่ีสุด เร่ืองไมรบกวนทําลายขอมูลคอมพิวเตอร และมีพฤติกรรมตามกรอบของ พ.ร.บ. นอยท่ีสุด เร่ืองไมจําหนายหรือเผยแพรชุดคําส่ังเพื่อการกระทําความผิด ผูตอบแบบสอบถามท่ีมาใชบริการรานอินเทอรเน็ตสวนใหญอยูในชวงอายุของวัยนักเรียนนักศึกษา ซ่ึงนักเรียนนักศึกษาเปนกลุมท่ีมีการรับรูเกี่ยวกับเนื้อหาสาระของ พ.ร.บ. นอยกวากลุมท่ีมีอายุและวัยท่ีทํางานแลวเชนมีอายุ 26 ปข้ึนไป ทํางานเปนพนักงานเอกชน ขาราชการหรือรัฐวิสาหกิจ ฯลฯ กลุมนักเรียนนักศึกษามีความเขาใจตอการกระทําความผิดมากกวากลุมคนวัยทํางาน กลุมนักเรียนนักศึกษามีพฤติกรรมตามกรอบของ พ.ร.บ. นอยกวากลุมคนวัยทํางาน

Page 22: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

15

ลัดดาวัลย ภูติอนันต (2551) ไดทําการวิจัยเร่ือง “จริยธรรมการใชอินเทอรเน็ตของนักเรียนนายรอยตํารวจ รุนท่ี 63 โรงเรียนนายรอยตํารวจ” เปนการศึกษาระดับจริยธรรมการใชอินเทอรเน็ตของนักเรียนนายรอยตํารวจ รุนท่ี 63 เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการใชอินเทอรเน็ตโดย จําแนกตามอายุ สถานภาพกอนเขารับการศึกษา ระดับการศึกษากอนเขารับการศึกษา ช่ัวโมงการศึกษาคนควาดวยตนเอง ระยะเวลาในการใชอินเทอรเน็ต วัตถุประสงคในการใชอินเทอรเน็ต และสถานท่ีในการใชอินเทอรเน็ต โดยทฤษฏีหรือแนวคิดท่ีนํามาใชประกอบการศึกษาคือ โมเดลพฤติกรรม แนวคิดคุณธรรมและจริยธรรม แนวคิดจริยธรรมการใชอินเทอรเน็ต ซ่ึงประชากรมี จํานวน 230 คน โดยใชแบบสอบถามและแบบสัมภาษณในการเก็บขอมูลจากกลุมตัวอยางจํานวน 30 คน แลวนําขอมูลท่ีไดจากการตอบแบบสอบถามมาวิเคราะหขอมูลดวยคอมพิวเตอรและโปรแกรมสําเร็จรูป โดยใชวิธีการทางสถิติ ไดแก การหาคาความถ่ี รอยละ คาความสูงสุดของคาเฉล่ียและคาความตํ่าสุดของคาเฉล่ีย คา f - test และ t – test ซ่ึงสรุปไดวา นักเรียนนายรอยตํารวจรุนท่ี 63 โรงเรียนนายรอย ตํารวจ มีจริยธรรมในการใชอินเทอรเน็ตอยูในระดับดี จริยธรรมการใชอินเทอรเน็ตของนักเรียนนายรอยตํารวจดังกลาวไมสัมพันธกับอายุ สถานภาพและระดับการศึกษากอนเขารับการศึกษาชั่วโมงการศึกษาคนควาดวยตนเอง ระยะเวลา วัตถุประสงค และสถานท่ีในการใชอินเทอรเน็ตยังพบอีกวา ระบบอินเทอรเน็ตมีท้ังผลดีและผลเสียตอผูใชและตอสังคม ปจจุบันพฤติกรรมการใชอินเทอรเน็ตของวัยรุนสวนใหญเปนไปในทางท่ีไมมีสารประโยชน ดังนั้นจึงควรมีการส่ังสอน อบรม และปลูกฝงส่ิงท่ีดีใหกับนักเรียนนายรอยตํารวจเปนส่ิงจําเปนและมีความสําคัญท่ีทําใหบุคคลเหลานั้นเปนคนดีมีจริยธรรม และเม่ือมีจริยธรรมแลวก็ทําใหมีความคิด และพฤติกรรมในเร่ืองตางๆ ไปในทางท่ีถูกท่ีควร เหมาะสมกับกาลเทศะ ไมเฉพาะแตเร่ืองการใชอินเทอรเน็ตเทานั้น แตยังรวมถึงจริยธรรมในเร่ืองอ่ืนๆ ดวย ดังนั้น จึงเปนหนาท่ีของผูใหญทุกคนเร่ิมต้ังแต พอแมผูปกครองครูอาจารย และผูใกลชิดท่ีจะตองรวมมือรวมใจกันในการสงเสริมและปลูกฝงส่ิงท่ีดีเพื่อใหมีพัฒนาการทางจริยธรรม เพราะจริยธรรมของคนนั้นอยูในสวนตนหรือ ซุปเปอรอีโก ซ่ึงไดรับการขัดเกลาจากสังคม และจะคอยควบคุมพฤติกรรมภายนอกของมนุษยใหเปนไปตามกฎเกณฑ และคานิยมของสังคม เพราะคานิยมเปนตัวช้ีนําพฤติกรรม บุคคลจะสามารถตัดสินใจเลือกส่ิงท่ีมีความหมาย และคุณคาสําหรับตน

องอาจ เทียนหิรัญ (2546) ไดทําการวิจัยเร่ือง “อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร : กําหนดฐานความผิดทางอาญาสําหรับการกระทําตอคอมพิวเตอร” เปนการศึกษาเกี่ยวกับกฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร โดยไดแบงรูปแบบการกระทําผิดตอคอมพิวเตอรออกเปน 6 รูปแบบไดแก การเขาถึงคอมพิวเตอรโดยปราศจากอํานาจ การดักขอมูลคอมพิวเตอร การจารกรรมขอมูลคอมพิวเตอรการทําใหเกิดความเสียหายตอคอมพิวเตอร การปลอมขอมูลคอมพิวเตอร และการฉอโกงทางคอมพิวเตอร โดยการศึกษาเร่ืองแนวคิดเกี่ยวกับการแกไขปรับปรุงกฎหมาย และอนุสัญญาวาดวยอาชญากรรมทางคอมพิวเตอรของประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษ เยอรมัน โดยรัฐบาลสหรัฐอเมริกาไดจัดสรรเงินจํานวน 800 ลานเหรียญสหรัฐ เพื่อวิจัยเร่ืองอาชญากรรมทางคอมพิวเตอรในเร่ืองเกี่ยวกับความปลอดภัยในเครือขายคอมพิวเตอรและการกอการรายในเครือขายคอมพิวเตอร ซ่ึงสหรัฐอเมริกายอมรับวาอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร เปนหนึ่งในปญหาตาง ๆ ของผูปฎิบัติหนาท่ีสวนประเทศอังกฤษ มีความเห็นกันวา อาชญากรรมทางคอมพิวเตอรเปนเพียงการกระทําความผิดเดิมในรูปแบบใหมเทานั้น

Page 23: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

16

และกฎหมายท่ีใชบังคับอยูสามารถดําเนินคดีกับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอรได ดังนั้นเม่ือเกิดการกระทําความผิดทางคอมพิวเตอร จึงไดพยายามนํากฎหมายท่ีใชบังคับอยูไปปรับใชกับความผิดท่ีเกิดข้ึน ท้ัง ๆ ท่ีกฎหมายไมครอบคลุมถึงความผิดในรูปแบบท่ีเกิดข้ึน ซ่ึงในท่ีสุดจึงมีขอสงสัยถึงความชอบธรรมในการใชกฎหมายของศาล เชน คดี Cox v. Riley เปนคดีแรกท่ีตองเผชิญกับความลําบากเร่ืองคํานิยามของคําวา “ทรัพยสิน” ท่ีจําเลยแยงวาโปรแกรมนั้นมิใชทรัพยสินท่ีมีรูปรางหนาตามความหมายของกฎหมาย ทําใหศาลตัดสินความผิดแกจําเลยแคเพียงทําลายบัตรพนักงาน แตไมไดพิจารณาถึงเจตนาท่ีเขามีความต้ังใจท่ีจะทําลายโปรแกรมดวยและประเทศเยอรมัน เปนประเทศที่ใชระบบกฎหมายแบบซีวิลลอว เหมือนกับประเทศไทย โดยเยอรมันมีกฎหมายคุมครองทรัพยสินซ่ึงรวมถึงส่ิงท่ีจับตองไมได ทรัพยสินทางปญญา ความลับเฉพาะเร่ืองหรือวัตถุท่ีไมมีรูปราง แตเม่ือปญหาอาชญากรรมทางคอมพิวเตอรทวีความรุนแรงเพิ่มมากข้ึนทําใหจึงตองมีการพิจารณาปรับปรุงกฎหมายท่ีใชบังคับอยู โดยเฉพาะการใชคอมพิวเตอรเปนเคร่ืองมือในการกระทําความผิด

Page 24: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

17

บทท่ี 3 วิธีดําเนินการวิจัย

ในการศึกษาคนควาในคร้ังนี ้ผูวิจัยไดดําเนนิการตามข้ันตอนดังนี ้

1. ประชากรและกลุมตัวอยาง 2. เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย 3. ข้ันตอนการสรางและตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือในการวิจัย 4. การเก็บรวบรวมขอมูล 5. การวิเคราะหขอมูล และสถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล

1. ประชากรและกลุมตัวอยาง กลุมเปาหมายที่ใชในการศึกษาคนควา ไดแก นักเรียนโครงการ English Program ระดับช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2558 โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร จํานวน 75 คน 2. เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย เคร่ืองมือท่ีใชในการศึกษาคร้ังคือ แบบสอบถามท่ีจัดทําข้ึนโดยมีเนื้อหาท่ีครอบคลุมประเด็น สาระสําคัญ และฐานความผิดตามพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 โดยแบงเปน 2 สวน ดังนี้

สวนท่ี 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับการรับรูและความเขาใจตอการกระทําความผิดตามพ.ร.บ. ซ่ึงประกอบดวย การรับรูเกี่ยวกับเนื้อหาสาระ ความเขาใจตอการกระทําความผิด

สวนท่ี 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตของนักเรียน 3. ขั้นตอนการสรางและตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือในการวิจัย

ผูวิจัยไดทําการศึกษาและรวบรวมจากเอกสาร ประกอบดวย พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 เอกสารอธิบาย วารสารส่ิงพิมพ ขอความ บทความออนไลน การเขาสัมมนา แนวคิด ทฤษฏี และงานวิจัยท่ีเกี่ยวของโดยเคร่ืองมือท่ีเปนแบบสอบถามน้ีไดมีการทดสอบความเท่ียงตรงในการนําไปใชในการเก็บขอมูลดังนี้

1. การตรวจสอบความเที่ยงตรงของเนื้อหา (Content Validity) ผูศึกษาไดนําแบบสอบถามใหท่ีผูทรง คุณวุฒิเปนผูพิจารณาตรวจสอบความถูกตองของเนื้อหาในแบบสอบถาม

2. นําขอแนะนําตาง ๆ ท่ีไดรับจากการนําแบบสอบถามไปทดสอบ และคําแนะนําจากผูทรงคุณวุฒิ มาปรับปรุงเพื่อใหมีความเหมาะสมถูกตอง และสมบูรณท่ีสุดกอนนําไปเก็บขอมูลจริง

Page 25: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

18

4. การเก็บรวบรวมขอมูล 1) ขอมูลปฐมภูมิ (Primary Data) ศึกษาและรวบรวมจากแบบสอบถามนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6

โครงการ English Program โดยวิธีสุมตามความสะดวก (Convenience Sampling) จํานวน 75 ตัวอยาง โดยการเก็บขอมูล ผูจัดทําไดทําการแจกแบบสอบถามใหแกนักเรียนและรอเก็บแบบสอบถามกลับคืน

2) ขอมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) ศึกษาและรวบรวมจากเอกสาร ประกอบดวยพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 เอกสารอธิบาย วารสาร ส่ิงพิมพ ขอความ บทความ ออนไลน การเขาสัมมนา แนวคิด ทฤษฏี และงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ เคร่ืองมือท่ีใชในการศึกษาคร้ังคือ แบบสอบถามท่ีจัดทําข้ึนโดยมีเนื้อหาท่ีครอบคลุม ประเด็น สาระสําคัญ และฐานความผิดตามพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 โดยแบงเปน 3 สวน ดังนี้

สวนท่ี 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับการรับรูและความเขาใจตอการกระทําความผิดตาม พ.ร.บ. ซ่ึงประกอบดวย การรับรูเกี่ยวกับเนื้อหาสาระ ความเขาใจตอการกระทําความผิด

สวนท่ี 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตของนักเรียน หลัง พ.ร.บ. ประกาศใชแลว ซ่ึงหมายถึง การใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตตามกรอบของ พ.ร.บ.

โดยเคร่ืองมือท่ีเปนแบบสอบถามน้ีไดมีการทดสอบความเท่ียงตรงในการนําไปใชในการเก็บขอมูลดงันี ้1. การตรวจสอบความเท่ียงตรงของเน้ือหา (Content Validity) ผูศึกษาไดนําแบบสอบถามใหท่ี

ปรึกษาและผูทรงคุณวุฒิเปนผูพิจารณาตรวจสอบความถูกตองของเนื้อหาในแบบสอบถาม 2. นําแบบสอบถามท่ีได ทําการทดสอบ (Pre-test) จํานวน 10 ชุด กับกลุมตัวอยางท่ีเปน

นักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โครงการ English Program เพื่อรับทราบความไมชัดเจนของแบบสอบถาม

3. นําขอแนะนําตาง ๆ ท่ีไดรับจากการนําแบบสอบถามไปทดสอบ และคําแนะนําจากผูทรงคุณวุฒิ มาปรับปรุงเพื่อใหมีความเหมาะสมถูกตอง และสมบูรณท่ีสุดกอนนําไปเก็บขอมูลจริง

5. การวิเคราะหขอมูล และสถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล

สวนท่ี 1 การรับรูและความเขาใจตอการกระทําความผิดตาม พ.ร.บ. ประกอบดวย การรับรูเกี่ยวกับเนื้อหาสาระ ความเขาใจตอการกระทําความผิดใชสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Analysis) โดยแสดงตารางแจกแจงความถ่ี (Frequency) รอยละ (Percentage) และตารางไขว (Cross-Tab) โดยนําคะแนนรอยละที่ไดมารวบรวมเพ่ือหาคาเฉล่ีย (Mean) และแปลความหมาย ขอมูลจากแบบสอบถาม สวนท่ี 1.2 คําถามเพ่ือประเมินการรับรู ความเขาใจของนักเรียนซ่ึงไดกําหนดการใหระดับคะแนนโดยใช T ปกติ ระดับคะแนน 3 ระดับ (การประเมินผลการเรียน, 2536 : 216-218) เปนแบบรอยละ โดยไดกําหนดวิธีการใหคะแนน ไวดังนี้

ผูตอบแบบสอบถามตอบ ถูก และถูกตองตามขอเท็จจริง ใหคะแนนเปน 1 คะแนน ผูตอบแบบสอบถามตอบ ผิด และไมถูกตองตามขอเท็จจริง ใหคะแนนเปน 0 คะแนน

Page 26: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

19

ผูศึกษาไดกําหนดเกณฑการใหคะแนนเปนคะแนนรอยละในการตีความหมายของการรับรู พ.ร.บ. โดยมีคาคะแนนเปนรอยละ ดังนี้

คะแนนรวม (รอยละ) ระดับของการรับรู 80% ข้ึนไป หมายถึง มีการรับรูมาก 50% - 79% หมายถึง มีการรับรูปานกลาง นอยกวา 50% หมายถึง มีการรับรูนอย

ผูศึกษาไดกําหนดเกณฑการใหคะแนนเปนคะแนนรอยละในการตีความหมายของความเขาใจตอการกระทําความผิดตาม พ.ร.บ. โดยมีคาคะแนนเปนรอยละ ดังนี้

คะแนนรวม (รอยละ) ระดับของความเขาใจ 80% ข้ึนไป หมายถึง มีความเขาใจมาก 50% - 79% หมายถึง มีความเขาใจปานกลาง นอยกวา 50% หมายถึง มีความเขาใจนอย

สวนท่ี 2 พฤติกรรมการใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตของนักเรียน หลัง พ.ร.บ. ประกาศใชแลว ใช

สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Analysis) โดยแสดงตารางแจกแจงความถ่ี (Frequency) รอยละ (Percentage) และตารางไขว (Cross-Tab) โดยนําคะแนนรอยละท่ีไดมารวบรวมเพ่ือหาคาเฉล่ีย (Mean) และแปลความหมายขอมูลจากแบบสอบถามสวนท่ี 2 คําถามเพ่ือประเมินพฤติกรรมการกระทําความผิดของผูใชบริการ ตามกรอบ พ.ร.บ. ซ่ึงไดกําหนดการใหระดับคะแนนโดยใช T ปกติ ระดับคะแนน 3 ระดับ เปนแบบรอยละในการตีความหมายไวดังนี้

คะแนนรวม (รอยละ) ระดับของพฤติกรรม 80% ข้ึนไป หมายถึง มีพฤติกรรมตามกรอบ พ.ร.บ. มาก 50% - 79% หมายถึง มีพฤติกรรมตามกรอบ พ.ร.บ. ปานกลาง นอยกวา 50% หมายถึง มีพฤติกรรมตามกรอบ พ.ร.บ. นอย

Page 27: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

20

บทท่ี 4 การวิเคราะหขอมูล

การศึกษาเร่ือง การรับรูและความเขาใจตอการกระทําความผิดตาม พ.ร.บ.วาดวยการกระทําความผิด

ทางคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โครงการ English Program โรงเรียนอัสสัมชัญ แผนกประถม ปการศึกษา 2558 สามารถนําผลมาวิเคราะหขอมูลดังนี ้

สวนท่ี 1 การรับรูเนื้อหาสาระและความเขาใจตอการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติวาดวยการ

กระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 2550

การรับรูเก่ียวกับเนื้อหาสาระของ พ.ร.บ.

ตารางท่ี 2 แสดงความถ่ี และรอยละของคําตอบการรับรูเกี่ยวกับเนื้อหาสาระของพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกีย่วกับคอมพิวเตอร 2550

การรับรู ใช ไมใช รอยละ

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

1. ประเทศไทยไดประกาศใหใชพระราช บัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร 2550 ใน วนัท่ี 18 มิถุนายน 2550

55 73.3% 20 26.7% 75 100%

2. มีผลบังคับใหใช พ.ร.บ. หลังจากวันท่ี ประกาศเปนเวลา 20 วัน คือวนัท่ี 8 กรกฎาคม 2550

25 33.3% 50 66.7% 75 100%

3. มีการผอนผันระยะเวลา ในการ จัดเก็บ ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรของผู ใหบริการ เปนเวลาคร่ึงป หลังจากวนัท่ี ประกาศใชพระราชบัญญัติฯ

38 50.7% 37 49.3% 75 100%

4. ระบบคอมพิวเตอร คือ อุปกรณหรือ ชุด อุปกรณของคอมพิวเตอรท่ีทําหนาท่ีรับเขา สงออก หรือบันทึกขอมูลโดยเช่ือมการ ทํางานเขาดวยกัน

57 76.0% 18 24.0% 75 100%

Page 28: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

21

การรับรู ใช ไมใช รอยละ

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

5. ขอมูลคอมพิวเตอร คือ ขอมูลขอความคําส่ัง หรือชุดคําส่ังท่ีอยูในระบบคอมพิวเตอรใน สภาพท่ี ระบบคอมพิวเตอรอาจประมวลผล ได

56 74.7 19 25.3 75 100%

6. ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร คือ ขอมูล การใชงานของเราท่ีรถบรรทุกจะนําขอมูล ของนั้นไปสงใหบริษัทท่ีเราเขาไปใชระบบ ของเขาโดยใชคอมพิวเตอรเปนผูควบคุม การเดินรถของรถคันดังกลาว

59 78.7% 16 21.3% 75 100%

7. ผูใหบริการท่ีกลาวในพ.ร.บ. คือผูใหบริการ แกบุคคลอ่ืนใหเขาสูอินเทอรเน็ตหรือระบบ คอมพิวเตอรท้ังในนามของตนเองและของ ผูอ่ืน เชน รานอินเทอรเน็ต, มหาวิทยาลัย

37 49.3% 38 50.7% 75 100%

8. ผูใหบริการท่ีกลาวในพ.ร.บ.คือผูใหบริการ เก็บรักษาขอมูลคอมพิวเตอรเพื่อประโยชน ของบุคคลอ่ืน เชน web board หรือ web service ฯลฯ

51 68.0% 24 32.0% 75 100%

9. ผูใชบริการที่กลาวในพ.ร.บ. คือผูใชบริการ ของผูใหบริการไมวาตองเสียคาใชบริการ หรือไมเสียคาใชบริการ เชน ลูกคาราน อินเทอรเน็ต นิสิตนักศึกษา ฯลฯ

49 65.3% 26 34.7% 75 100%

10. พนักงานเจาหนาท่ี ท่ีกลาวใน พ.ร.บ. คือ ผูท่ีมีความรูและความเช่ียวชาญเกี่ยวกับ ระบบคอมพิวเตอร มีอํานาจในการ สืบสวนสอบสวนการกระทําความผิด โดย รัฐมนตรีเปนผูแตงต้ังใหปฏิบัติการตาม พระราชบัญญัติ

47 62.7% 28 37.3% 75 100%

Page 29: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

22

การรับรู ใช ไมใช รอยละ

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

11. ผูใหบริการไมตองจัดเก็บขอมูลการจราจร ท า ง ค อ ม พิว เ ต อ รซ่ึง ไ ดแ ก ขอ มูล ผูใชบริการ ขอมูลการติดตอระหวางตน ทางและปลายทาง เวลาท่ีติดตอฯลฯ เปน เวลาอยางนอย 90 วัน

35 46.7 40 53.3% 75 100%

12. การแจงดําเนินคดแีกผูกระทําความผิดทาง คอมพิวเตอรแจงไดท่ีสถานีตํารวจท่ัวประเทศ และสํานักงานกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ

63 84.0% 12 16.0% 75 100%

13. ผูท่ีกระทําความผิดเกีย่วกับคอมพิวเตอร ท่ี เปนคนไทย ตองถูกลงโทษในประเทศ ไทย สวนคนตางดาวท่ีอยูในประเทศไทย ไมตองถูกลงโทษ

42 56.0% 33 44.0% 75 100%

กราฟท่ี 1 แสดงรอยละของคําตอบการรับรูเกี่ยวกับเนื้อหาสาระของพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพวิเตอร 2550

73.3

33.3

50.7

76.0 74.778.7

49.3

68.0 65.3 62.7

46.7

84.0

56.0

26.7

66.7

49.3

24.0 25.321.3

50.7

32.0 34.7 37.0

53.3

16.0

44.0

ใช ไมใช

Page 30: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

23

จากตารางท่ี 2 และกราฟท่ี 1 พบวาผูตอบแบบสอบถามสวนใหญ ตอบใชมากท่ีสุด เร่ืองการแจงดําเนินคดีแกผูกระทําความผิดทางคอมพิวเตอรแจงไดท่ีสถานีตํารวจท่ัวประเทศ และสํานักงานกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ คิดเปนรอยละ 84.0 รองลงมาคือ ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร คือ ขอมูลการใชงานของเราท่ีรถบรรทุกจะนําขอมูลของนั้นไปสงใหบริษัทท่ีเราเขาไปใชระบบของเขาโดยใชคอมพิวเตอรเปนผูควบคุมการเดินรถของรถคันดังกลาว คิดเปนรอยละ 78.7 ระบบคอมพิวเตอร คือ อุปกรณหรือ ชุดอุปกรณของคอมพิวเตอรท่ีทําหนาท่ีรับเขาสงออก หรือบันทึกขอมูลโดยเช่ือมการทํางานเขาดวยกันคิดเปนรอยละ 76.0 ขอมูลคอมพิวเตอร คือ ขอมูลขอความคําส่ังหรือชุดคําส่ังท่ีอยูในระบบคอมพิวเตอรในสภาพท่ี ระบบคอมพิวเตอรอาจประมวลผลได คิดเปนรอยละ 74.7 ประเทศไทยไดประกาศใหใชพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 2550 ใน วันท่ี 18 มิถุนายน 2550 คิดเปนรอยละ 73.3 ผูใหบริการท่ีกลาวในพ.ร.บ.คือผูใหบริการเก็บรักษาขอมูลคอมพิวเตอรเพื่อประโยชนของบุคคลอื่น เชน web board หรือ web service ฯลฯ คิดเปนรอยละ 68.0 ผูใชบริการที่กลาวในพ.ร.บ.คือผูใชบริการของผูใหบริการไมวาตองเสียคาใชบริการหรือไมเสียคาใชบริการ เชน ลูกคารานอินเทอรเน็ต นิสิตนักศึกษา ฯลฯ คิดเปนรอยละ 65.3 พนักงานเจาหนาท่ี ท่ีกลาวใน พ.ร.บ. คือ ผูท่ีมีความรูและความเช่ียวชาญเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร มีอํานาจในการสืบสวนสอบสวนการกระทําความผิด โดยรัฐมนตรีเปนผูแตงต้ังใหปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติ คิดเปนรอยละ 62.7 ผูท่ีกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร ท่ีเปนคนไทย ตองถูกลงโทษในประเทศไทย สวนคนตางดาวท่ีอยูในประเทศไทยไมตองถูกลงโทษ คิดเปนรอยละ 56.0 มีการผอนผันระยะเวลา ในการ จัดเก็บขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรของผูใหบริการ เปนเวลาคร่ึงป หลังจากวันท่ีประกาศใชพระราชบัญญัติฯ คิดเปนรอยละ 50.7 ผูใหบริการท่ีกลาวในพ.ร.บ. คือผูใหบริการแกบุคคลอ่ืนใหเขาสูอินเทอรเน็ตหรือระบบคอมพิวเตอรท้ังในนามของตนเองและของผูอ่ืน เชน รานอินเทอรเน็ต, มหาวิทยาลัย คิดเปนรอยละ 49.3 ผูใหบริการไมตองจัดเก็บขอมูลการจราจรทาง คอมพิวเตอร ซ่ึง ไดแก ขอมูลผูใชบริการ ขอมูลการติดตอระหวางตนทางและปลายทาง เวลาท่ีติดตอฯลฯ เปนเวลาอยางนอย 90 วัน คิดเปนรอยละ 46.7 มีผลบังคับใหใช พ.ร.บ. หลังจากวันท่ีประกาศเปนเวลา 20 วัน คือวันท่ี 8 กรกฎาคม 2550 คิดเปนรอยละ 33.3 ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถาม ตอบไมใช มากท่ีสุด เร่ือง มีผลบังคับใหใช พ.ร.บ. หลังจากวันท่ีประกาศเปนเวลา 20 วัน คือวันท่ี 8 กรกฎาคม 2550 คิดเปนรอยละ 66.7 รองลงมาคือ ผูใหบริการไมตองจัดเก็บขอมูลการจราจรทาง คอมพิวเตอร ซ่ึง ไดแก ขอมูลผูใชบริการ ขอมูลการติดตอระหวางตนทางและปลายทาง เวลาท่ีติดตอฯลฯ เปนเวลาอยางนอย 90 วัน คิดเปนรอยละ 53.3 ผูใหบริการท่ีกลาวในพ.ร.บ. คือผูใหบริการแกบุคคลอ่ืนใหเขาสูอินเทอรเน็ตหรือระบบคอมพิวเตอรท้ังในนามของตนเองและของผูอ่ืน เชน รานอินเทอรเน็ต, มหาวิทยาลัย คิดเปนรอยละ 50.7 มีการผอนผันระยะเวลา ในการ จัดเก็บขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรของผูใหบริการ เปนเวลาคร่ึงป หลังจากวันท่ีประกาศใชพระราชบัญญัติฯ คิดเปนรอยละ 49.3 ผูท่ีกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร ท่ีเปนคนไทย ตองถูกลงโทษในประเทศไทย สวนคนตางดาวท่ีอยูในประเทศไทยไมตองถูกลงโทษ คิดเปนรอยละ 44.0 พนักงานเจาหนาท่ี ท่ีกลาวใน พ.ร.บ. คือ ผูท่ีมีความรูและความเช่ียวชาญเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร มีอํานาจในการสืบสวนสอบสวนการกระทําความผิด โดยรัฐมนตรีเปนผูแตงต้ังใหปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติ

Page 31: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

24

คิดเปนรอยละ 37.3 ผูใหบริการที่กลาวในพ.ร.บ.คือผูใหบริการเก็บรักษาขอมูลคอมพิวเตอรเพื่อประโยชนของบุคคลอ่ืน เชน web board หรือ web service ฯลฯ คิดเปนรอยละ 32.0 ประเทศไทยไดประกาศใหใชพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 2550 ใน วันท่ี 18 มิถุนายน 2550 คิดเปนรอยละ 26.7 ขอมูลคอมพิวเตอร คือ ขอมูลขอความคําส่ังหรือชุดคําส่ังท่ีอยูในระบบคอมพิวเตอรใน สภาพท่ี ระบบคอมพิวเตอรอาจประมวลผลได คิดเปนรอยละ 25.3 ระบบคอมพิวเตอร คือ อุปกรณหรือ ชุดอุปกรณของคอมพิวเตอรท่ีทําหนาท่ีรับเขาสงออก หรือบันทึกขอมูลโดยเช่ือมการทํางานเขาดวยกัน คิดเปนรอยละ 24.0 ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร คือ ขอมูลการใชงานของเราท่ีรถบรรทุกจะนําขอมูลของนั้นไปสงใหบริษัทท่ีเราเขาไปใชระบบของเขาโดยใชคอมพิวเตอรเปนผูควบคุมการเดินรถของรถคันดังกลาว คิดเปนรอยละ 21.3 การแจงดําเนินคดีแกผูกระทําความผิดทางคอมพิวเตอรแจงไดท่ีสถานีตํารวจท่ัวประเทศ และสํานักงานกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ คิดเปนรอยละ 16.0 ตามลําดับ

ตารางท่ี 3 แสดงความถ่ี และรอยละของการอภิปรายแปลผลคําตอบการรับรูเกี่ยวกับเนื้อหาสาระของพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 2550

การรับรู ตอบถูก ตอบผดิ รอยละ

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

1. ประเทศไทยไดประกาศใหใชพระราช บัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร 2550 ใน วนัท่ี 18 มิถุนายน 2550

55 73.3% 20 26.7% 75 100%

2. มีผลบังคับใหใช พ.ร.บ. หลังจากวันท่ี ประกาศเปนเวลา 20 วัน คือวนัท่ี 8 กรกฎาคม 2550

50 66.7% 25 33.3% 75 100%

3. มีการผอนผันระยะเวลา ในการ จัดเก็บ ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรของผู ใหบริการ เปนเวลาคร่ึงป หลังจากวนัท่ี ประกาศใชพระราชบัญญัติฯ

37 49.3% 38 50.7% 75 100%

4. ระบบคอมพิวเตอร คือ อุปกรณหรือ ชุด อุปกรณของคอมพิวเตอรท่ีทําหนาท่ีรับเขา สงออก หรือบันทึกขอมูลโดยเช่ือมการ ทํางานเขาดวยกัน

57 76.0% 18 24.0% 75 100%

Page 32: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

25

การรับรู ตอบถูก ตอบผดิ รอยละ

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

5. ขอมูลคอมพิวเตอร คือ ขอมูลขอความคําส่ัง หรือชุดคําส่ังท่ีอยูในระบบคอมพิวเตอรใน สภาพท่ี ระบบคอมพิวเตอรอาจประมวลผล ได

56 74.7 19 25.3 75 100%

6. ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร คือ ขอมูล การใชงานของเราท่ีรถบรรทุกจะนําขอมูล ของนั้นไปสงใหบริษัทท่ีเราเขาไปใชระบบ ของเขาโดยใชคอมพิวเตอรเปนผูควบคุม การเดินรถของรถคันดังกลาว

16 21.3% 59 78.7% 75 100%

7. ผูใหบริการท่ีกลาวในพ.ร.บ. คือผูใหบริการ แกบุคคลอ่ืนใหเขาสูอินเทอรเน็ตหรือระบบ คอมพิวเตอรท้ังในนามของตนเองและของ ผูอ่ืน เชน รานอินเทอรเน็ต, มหาวิทยาลัย

37 49.3% 38 50.7% 75 100%

8. ผูใหบริการท่ีกลาวในพ.ร.บ.คือผูใหบริการ เก็บรักษาขอมูลคอมพิวเตอรเพื่อประโยชน ของบุคคลอ่ืน เชน web board หรือ web service ฯลฯ

51 68.0% 24 32.0% 75 100%

9. ผูใชบริการที่กลาวในพ.ร.บ. คือผูใชบริการ ของผูใหบริการไมวาตองเสียคาใชบริการ หรือไมเสียคาใชบริการ เชน ลูกคาราน อินเทอรเน็ต นิสิตนักศึกษา ฯลฯ

26 34.7% 49 65.3% 75 100%

10. พนักงานเจาหนาท่ี ท่ีกลาวใน พ.ร.บ. คือ ผูท่ีมีความรูและความเช่ียวชาญเกี่ยวกับ ระบบคอมพิวเตอร มีอํานาจในการ สืบสวนสอบสวนการกระทําความผิด โดย รัฐมนตรีเปนผูแตงต้ังใหปฏิบัติการตาม พระราชบัญญัติ

47 62.7% 28 37.3% 75 100%

Page 33: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

26

การรับรู ตอบถูก ตอบผดิ รอยละ

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

11. ผูใหบริการไมตองจัดเก็บขอมูลการจราจร ท า ง ค อ ม พิว เ ต อ รซ่ึง ไ ดแ ก ขอ มูล ผูใชบริการ ขอมูลการติดตอระหวางตน ทางและปลายทาง เวลาท่ีติดตอฯลฯ เปน เวลาอยางนอย 90 วัน

40 53.3% 35 46.7% 75 100%

12. การแจงดําเนินคดแีกผูกระทําความผิดทาง คอมพิวเตอรแจงไดท่ีสถานีตํารวจท่ัวประเทศ และสํานักงานกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ

63 84.0% 12 16.0% 75 100%

13. ผูท่ีกระทําความผิดเกีย่วกับคอมพิวเตอร ท่ี เปนคนไทย ตองถูกลงโทษในประเทศ ไทย สวนคนตางดาวท่ีอยูในประเทศไทย ไมตองถูกลงโทษ

33 44.0% 42 56% 75 100%

กราฟท่ี 2 แสดงรอยละของการอภิปรายแปลผลคําตอบการรับรูเกี่ยวกับเนื้อหาสาระของพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 2550

73.366.7

49.3

76.0 74.7

21.3

49.3

68.0

34.7

62.753.3

84.0

44.0

ผลคําตอบการรับรูเก่ียวกับเนื้อหาสาระของ พ.ร.บ.

ตอบถูก

Page 34: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

27

จากตารางท่ี 3 และกราฟท่ี 2 พบวาผูตอบแบบสอบถามสวนใหญ ตอบถูก มากท่ีสุด เร่ืองสถานท่ีแจงดําเนินคดีกับผูกระทําความผิด คิดเปนรอยละ 84.0 รองลงมาคือ ความหมายระบบคอมพิวเตอร คิดเปนรอยละ 76.0 ความหมายขอมูลคอมพิวเตอร คิดเปนรอยละ 74.7 วันท่ีประกาศใช คิดเปนรอยละ 73.3 ผูใหบริการเก็บรักษาขอมูลคอม คิดเปนรอยละ 68.0 วันท่ีบังคับใชหลังประกาศ คิดเปนรอยละ 66.7 ลักษณะของพนักงานเจาหนาท่ี คิดเปนรอยละ 62.7 การเก็บขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร คิดเปนรอยละ 53.3 ระยะเวลาท่ีผอนผันการเก็บขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรของผูใหบริการ และ ผูใหบริการแกผูอ่ืนใหเขาสูอินเทอรเน็ต คิดเปนรอยละ 49.3 การลงโทษกับผูกระทําผิดคนไทย ตางดาว คิดเปนรอยละ 44.0 ลักษณะผูใชบริการ คิดเปนรอยละ 34.7 ลักษณะขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร คิดเปนรอยละ 21.3

ผูตอบแบบสอบถาม ตอบผิด มากท่ีสุด เร่ืองลักษณะขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร คิดเปนรอยละ 78.7 รองลงมาคือ ลักษณะผูใชบริการ คิดเปนรอยละ 65.3 การลงโทษกับผูกระทําผิดคนไทย ตางดาว คิดเปนรอยละ 56.0 ระยะเวลาท่ีผอนผันการเก็บขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรของผูใหบริการ และ ผูใหบริการแกผูอ่ืนใหเขาสูอินเทอรเน็ต คิดเปนรอยละ 50.7 การเก็บขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร คิดเปนรอยละ 46.7 ลักษณะของพนักงานเจาหนาท่ี คิดเปนรอยละ 37.3 วันท่ีบังคับใชหลังประกาศ คิดเปนรอยละ 33.3 ผูใหบริการเก็บรักษาขอมูลคอม คิดเปนรอยละ 32.0 วันท่ีประกาศใช คิดเปนรอยละ 26.7 ความหมายขอมูลคอมพิวเตอร คิดเปนรอยละ 25.3 ความหมายระบบคอมพิวเตอร คิดเปนรอยละ 24.0 เร่ืองสถานท่ีแจงดําเนินคดีกับผูกระทําความผิด คิดเปนรอยละ 16.0 ตามลําดับ

แสดงถึงผูตอบแบบสอบถามมีการรับรูเร่ืองของสถานท่ีแจงดําเนินคดีกับผูกระทําความผิด มากท่ีสุด และผูตอบแบบสอบถามมีการรับรูเร่ืองของ ลักษณะขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร นอยท่ีสุด

ตารางท่ี 4 แสดงความถ่ี และรอยละของการอภิปรายแปลผลระดับการรับรู เกี่ยวกับเนื้อหาสาระของพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 2550

ระดับการรับรู ความถ่ี รอยละ

มีการรับรูเกี่ยวกับเนื้อหาสาระของ พ.ร.บ. ในระดับมาก คือ ตอบถูก มากกวา 80% ข้ึนไป

13 17.4%

มีการรับรูเกี่ยวกับเนื้อหาสาระของ พ.ร.บ. ในระดับปานกลาง คือ ตอบถูก ระหวาง 50% – 79% ข้ึนไป

52 69.3

มีการรับรูเกี่ยวกับเนื้อหาสาระของ พ.ร.บ. ในระดับนอย คือ ตอบถูก นอยกวา 50%

10 13.3

รวม 75 100%

Page 35: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

28

กราฟท่ี 3 แสดงรอยละของการอภิปรายแปลผลระดับการรับรูเกี่ยวกับเนื้อหาสาระของพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 2550

จากตารางท่ี 4 และกราฟที่ 3 พบวาผูตอบแบบสอบถามสวนใหญมีการรับรูเกี่ยวกับเนื้อหาสาระของ

พ.ร.บ. ในระดับปานกลาง คือ ตอบถูก คิดเปนรอยละ 69.3 รองลงมา คือ มีการรับรูเกี่ยวกับเนื้อหาสาระของ พ.ร.บ. ในระดับมาก คือ ตอบถูก คิดเปนรอยละ 17.4 และ มีการรับรูเกี่ยวกับเนื้อหาสาระของ พ.ร.บ. ในระดับนอย คือ ตอบถูก คิดเปนรอยละ 13.3 ตามลําดับ

17.4%

69.3%

13.3%

ระดับการรับรูเก่ียวกับ พ.ร.บ.

รับรูมาก

รับรูปานกลาง

รับรูนอย

Page 36: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

29

ความเขาใจ ตอการกระทําความผิดตาม พ.ร.บ.

ตารางท่ี 5 แสดงความถ่ี และรอยละของขอมูลคําตอบความเขาใจตอการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 2550

ความเขาใจ มีความผดิ ไมมีความผดิ รอยละ

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

1. นักเรียนเหน็ Password ท่ีเคร่ือง iPad ของเพื่อนติดอยู นกัเรียนจึงนํารหัส Login เขาใช iPad ของเพื่อนในการ search หาขอมูลเพื่อทํารายงาน

53 70.7% 22 29.3% 75 100%

2. มีการ Hack ระบบของโรงเรียน คนรายไดนําวิธีการ Hackไปโพสตไวในกระทู นกัเรียนเขาไปอานเจอแลวนาํวิธีการ Hack ระบบนั้น ไปบอกใหเพื่อนทราบ

57 76.0% 18 24.0% 75 100%

3. เพื่อนท่ีนั่งขางๆลุกไปเขาหองน้ํา นกัเรียนจึงเขาไปอานE-mail ของเขาโดยคอมพิวเตอรของเขาไดต้ังล็อคหนาจอไวแตนักเรียนไดเขาไปอานกอนท่ีหนาจอเขาจะล็อค

59 78.7% 16 21.3% 75 100%

4. ในฐานะท่ีนกัเรียนเปนผูดแูลระบบคอมพิวเตอรของโรงเรียน ผูอํานวยการไดส่ังใหนกัเรียนดักขอมูลการสนทนา โปรแกรม Line ของเพือ่นๆ เพื่อหาดูวานักเรียนคนไหนนําขอมูลขอสอบไปเปดเผย ในฐานะผูดูแลระบบ นักเรียนมีความผิดหรือไม

58 77.3% 17 22.7% 75 100%

5. นักเรียนใจดีอยากจะทดสอบระบบการปองกันใหเพื่อน โดยนักเรียนจะทําการ Hack ระบบของเขาและทําการแกไขคําส่ังการทํางานของระบบใหถูกตองมากข้ึนโดยท่ีเจาของระบบไมทราบมากอน

69 92.0% 6 8.0% 75 100%

6. นักเรียนเปนผูติดต้ังระบบอินเทอรเน็ตใหกับโรงเรียน เม่ือติดต้ังเสร็จแลวทําใหคอมพวิเตอรของเพื่อนๆในโรงเรียนทํางานชากวาปกต ิ

37 49.3% 38 50.7% 75 100%

7. นักเรียนสง E-mail เชิญชวนใหคนอ่ืนมาเท่ียวและพักในโรงแรมของนักเรียน โดยใชช่ือใน E-mail อางวาเพื่อนของเขาเปนผูสงมาให

57 76.0% 18 24.0% 75 100%

Page 37: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

30

ความเขาใจ มีความผดิ ไมมีความผดิ รอยละ

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

8. นักเรียนไมไดเปนผูเจาะระบบคอมพิวเตอรแตเปนผูแจกโปรแกรมเจาะระบบใหแกคนอ่ืนๆ

57 76.0% 18 24.0% 75 100%

9. นักเรียนโพสตขอความไวท่ี Facebook ของโรงเรียนวา ”โรงเรียนประกาศหยุดทําการเรียนการสอน 1 วัน” เพื่อท่ีจะไดไมตองมาโรงเรียน

62 82.7% 13 17.3% 75 100%

10. นักเรียนเปนเจาของเว็บบอรดท่ีมีผูใชบริการมาโพสตกลาวหากันแลวมีผูเสียหายแจงใหทําการลบขอความดังกลาว ซ่ึงทานใชเวลาในการลบหลังจากท่ีมีผูแจงใหลบเปนเวลา 15 วัน

39 52.0% 36 48.0% 75 100%

11. นักเรียน Forward E-mail ท่ีไดรับโดยไมทันไดตรวจขอความในE-mail วาเปนภาพลามกใหเพื่อน

52 69.3% 23 30.7% 75 100%

กราฟท่ี 4 แสดงรอยละของขอมูลคําตอบความเขาใจตอการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 2550

70.776.0 78.7 77.3

92.0

49.3

76.0 76.082.7

52.0

69.3

29.324.0 21.3 22.7

8.0

50.7

24.0 24.017.0

48.0

30.7

0.010.020.030.040.050.060.070.080.090.0100.0

มีความผิด ไมมีความผิด

Page 38: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

31

ตารางท่ี 5 และกราฟท่ี 4 พบวาผูตอบแบบสอบถามสวนใหญ ตอบมีความผิด มากท่ีสุด เร่ืองนักเรียนใจดีอยากจะทดสอบระบบการปองกันใหเพื่อน โดยนักเรียนจะทําการ Hack ระบบของเขาและทําการแกไขคําส่ังการทํางานของระบบใหถูกตองมากข้ึนโดยท่ีเจาของระบบไมทราบมากอน คิดเปนรอยละ 92.0 รองลงมาคือ นักเรียนโพสตขอความไวท่ี Facebook ของโรงเรียนวา ”โรงเรียนประกาศหยุดทําการเรียนการสอน 1 วัน” เพื่อท่ีจะไดไมตองมาโรงเรียน คิดเปนรอยละ 82.7 เพื่อนท่ีนั่งขางๆลุกไปเขาหองน้ํา นักเรียนจึงเขาไปอานE-mail ของเขาโดยคอมพิวเตอรของเขาไดต้ังล็อคหนาจอไวแตนักเรียนไดเขาไปอานกอนท่ีหนาจอเขาจะล็อค คิดเปนรอยละ 78.7 ในฐานะท่ีนักเรียนเปนผูดูแลระบบคอมพิวเตอรของโรงเรียน ผูอํานวยการไดส่ังใหนักเรียนดักขอมูลการสนทนา โปรแกรม Line ของเพื่อนๆ เพื่อหาดูวานักเรียนคนไหนนําขอมูลขอสอบไปเปดเผย ในฐานะผูดูแลระบบ นักเรียนมีความผิดหรือไม คิดเปนรอยละ 77.3 มีการ Hack ระบบของโรงเรียน คนรายไดนําวิธีการ Hackไปโพสตไวในกระทู นักเรียนเขาไปอานเจอแลวนําวิธีการ Hack ระบบนั้น ไปบอกใหเพื่อนทราบ, นักเรียนสง E-mail เชิญชวนใหคนอ่ืนมาเท่ียวและพักในโรงแรมของนักเรียน โดยใชช่ือใน E-mail อางวาเพื่อนของเขาเปนผูสงมาให และ นักเรียนไมไดเปนผูเจาะระบบคอมพิวเตอรแตเปนผูแจกโปรแกรมเจาะระบบใหแกคนอ่ืนๆ คิดเปนรอยละ 76.0 นักเรียนเห็น Password ท่ีเคร่ือง iPad ของเพื่อนติดอยู นักเรียนจึงนํารหัส Login เขาใช iPad ของเพื่อนในการ search หาขอมูลเพื่อทํารายงาน คิดเปนรอยละ 70.7 นักเรียน Forward E-mail ท่ีไดรับโดยไมทันไดตรวจขอความในE-mail วาเปนภาพลามกใหเพื่อน คิดเปนรอยละ 69.3 นักเรียนเปนเจาของเว็บบอรดท่ีมีผูใชบริการมาโพสตกลาวหากันแลวมีผูเสียหายแจงใหทําการลบขอความดังกลาว ซ่ึงทานใชเวลาในการลบหลังจากท่ีมีผูแจงใหลบเปนเวลา 15 วัน คิดเปนรอยละ 52.0 นักเรียนเปนผูติดต้ังระบบอินเทอรเน็ตใหกับโรงเรียน เม่ือติดต้ังเสร็จแลวทําใหคอมพิวเตอรของเพ่ือนๆในโรงเรียนทํางานชากวาปกติ คิดเปนรอยละ 49.3 ตามลําดับ ผูตอบแบบสอบถาม ตอบไมมีความผิด มากท่ีสุด เร่ืองนักเรียนเปนผูติดต้ังระบบอินเทอรเน็ตใหกับโรงเรียน เม่ือติดต้ังเสร็จแลวทําใหคอมพิวเตอรของเพ่ือนๆในโรงเรียนทํางานชากวาปกติ คิดเปนรอยละ 50.7 รองลงมาคือ นักเรียนเปนเจาของเว็บบอรดท่ีมีผูใชบริการมาโพสตกลาวหากันแลวมีผูเสียหายแจงใหทําการลบขอความดังกลาว ซ่ึงทานใชเวลาในการลบหลังจากท่ีมีผูแจงใหลบเปนเวลา 15 วัน คิดเปนรอยละ 48.0 นักเรียน Forward E-mail ท่ีไดรับโดยไมทันไดตรวจขอความในE-mail วาเปนภาพลามกใหเพื่อน คิดเปนรอยละ 30.7 นักเรียนเห็น Password ท่ีเครื่อง iPad ของเพื่อนติดอยู นักเรียนจึงนํารหัส Login เขาใช iPad ของเพื่อนในการ search หาขอมูลเพื่อทํารายงาน คิดเปนรอยละ 29.3 มีการ Hack ระบบของโรงเรียน คนรายไดนําวิธีการ Hackไปโพสตไวในกระทู นักเรียนเขาไปอานเจอแลวนําวิธีการ Hack ระบบนั้น ไปบอกใหเพื่อนทราบ, นักเรียนสง E-mail เชิญชวนใหคนอ่ืนมาเท่ียวและพักในโรงแรมของนักเรียน โดยใชช่ือใน E-mail อางวาเพื่อนของเขาเปนผูสงมาให และ นักเรียนไมไดเปนผูเจาะระบบคอมพิวเตอรแตเปนผูแจกโปรแกรมเจาะระบบใหแกคนอ่ืนๆ คิดเปนรอยละ 24.0 ในฐานะท่ีนักเรียนเปนผูดูแลระบบคอมพิวเตอรของโรงเรียน ผูอํานวยการไดส่ังใหนักเรียนดักขอมูลการสนทนา โปรแกรม Line ของเพื่อนๆ เพื่อหาดูวานักเรียนคนไหนนําขอมูลขอสอบไปเปดเผย ในฐานะผูดูแลระบบ นักเรียนมีความผิดหรือไม คิดเปนรอยละ 22.7 เพื่อนท่ีนั่งขางๆลุกไปเขาหองน้ํา นักเรียนจึงเขาไป

Page 39: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

32

อานE-mail ของเขาโดยคอมพิวเตอรของเขาไดต้ังล็อคหนาจอไวแตนักเรียนไดเขาไปอานกอนท่ีหนาจอเขาจะล็อค คิดเปนรอยละ 21.3 นักเรียนโพสตขอความไวท่ี Facebook ของโรงเรียนวา ”โรงเรียนประกาศหยุดทําการเรียนการสอน 1 วัน” เพื่อท่ีจะไดไมตองมาโรงเรียน คิดเปนรอยละ 17.3 นักเรียนใจดีอยากจะทดสอบระบบการปองกันใหเพื่อน โดยนักเรียนจะทําการ Hack ระบบของเขาและทําการแกไขคําส่ังการทํางานของระบบใหถูกตองมากข้ึนโดยท่ีเจาของระบบไมทราบมากอน คิดเปนรอยละ 8.0 ตามลําดับ ตารางท่ี 6 แสดงความถ่ี และรอยละของการอภิปรายแปลผลคําตอบความเขาใจตอการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 2550

ความเขาใจ ตอบถูก ตอบผดิ รอยละ

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

1. นักเรียนเหน็ Password ท่ีเคร่ือง iPad ของเพื่อนติดอยู นกัเรียนจึงนํารหัส Login เขาใช iPad ของเพื่อนในการ search หาขอมูลเพื่อทํารายงาน

53 70.7% 22 29.3% 75 100%

2. มีการ Hack ระบบของโรงเรียน คนรายไดนําวิธีการ Hackไปโพสตไวในกระทู นกัเรียนเขาไปอานเจอแลวนาํวิธีการ Hack ระบบนั้น ไปบอกใหเพื่อนทราบ

57 76.0% 18 24.0% 75 100%

3. เพื่อนท่ีนั่งขางๆลุกไปเขาหองน้ํา นกัเรียนจึงเขาไปอานE-mail ของเขาโดยคอมพิวเตอรของเขาไดต้ังล็อคหนาจอไวแตนักเรียนไดเขาไปอานกอนท่ีหนาจอเขาจะล็อค

59 78.7% 16 21.3% 75 100%

4. ในฐานะท่ีนกัเรียนเปนผูดแูลระบบคอมพิวเตอรของโรงเรียน ผูอํานวยการไดส่ังใหนกัเรียนดักขอมูลการสนทนา โปรแกรม Line ของเพือ่นๆ เพื่อหาดูวานักเรียนคนไหนนําขอมูลขอสอบไปเปดเผย ในฐานะผูดูแลระบบ นักเรียนมีความผิดหรือไม

17 22.7% 58 77.3% 75 100%

5. นักเรียนใจดีอยากจะทดสอบระบบการปองกันใหเพื่อน โดยนักเรียนจะทําการ Hack ระบบของเขาและทําการแกไขคําส่ังการทํางานของระบบใหถูกตองมากข้ึนโดยท่ีเจาของระบบไมทราบมากอน

69 92.0% 6 8.0% 75 100%

Page 40: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

33

ความเขาใจ ตอบถูก ตอบผดิ รอยละ

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

6. นักเรียนเปนผูติดต้ังระบบอินเทอรเน็ตใหกับโรงเรียน เม่ือติดต้ังเสร็จแลวทําใหคอมพวิเตอรของเพื่อนๆในโรงเรียนทํางานชากวาปกต ิ

38 50.7% 37 49.3% 75 100%

7. นักเรียนสง E-mail เชิญชวนใหคนอ่ืนมาเท่ียวและพักในโรงแรมของนักเรียน โดยใชช่ือใน E-mail อางวาเพื่อนของเขาเปนผูสงมาให

57 76.0% 18 24.0% 75 100%

8. นักเรียนไมไดเปนผูเจาะระบบคอมพิวเตอรแตเปนผูแจกโปรแกรมเจาะระบบใหแกคนอ่ืนๆ

57 76.0% 18 24.0% 75 100%

9. นักเรียนโพสตขอความไวท่ี Facebook ของโรงเรียนวา ”โรงเรียนประกาศหยุดทําการเรียนการสอน 1 วัน” เพื่อท่ีจะไดไมตองมาโรงเรียน

62 82.7% 13 17.3% 75 100%

10. นักเรียนเปนเจาของเว็บบอรดท่ีมีผูใชบริการมาโพสตกลาวหากันแลวมีผูเสียหายแจงใหทําการลบขอความดังกลาว ซ่ึงทานใชเวลาในการลบหลังจากท่ีมีผูแจงใหลบเปนเวลา 15 วัน

39 52.0% 36 48.0% 75 100%

11. นักเรียน Forward E-mail ท่ีไดรับโดยไมทันไดตรวจขอความในE-mail วาเปนภาพลามกใหเพื่อน

52 69.3% 23 30.7% 75 100%

กราฟท่ี 5 แสดงรอยละของการอภิปรายแปลผลคําตอบความเขาใจตอการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 2550

70.7 76.0 78.7

22.7

92.0

50.7

76.0 76.082.7

52.0

69.3

ผลคําตอบความเขาใจตอการกระทําความผิดตาม พ.ร.บ.

ตอบถูก

Page 41: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

34

จากตารางท่ี 6 และกราฟท่ี 5 พบวาผูตอบแบบสอบถามสวนใหญ ตอบถูก มากท่ีสุด การรบกวนทําลายระบบคอมพิวเตอร (มาตรา ๑๐) มากท่ีสุด คิดเปนรอยละ 92.0 รองลงมาคือ เร่ืองการนําเขาขอมูลเปนเท็จเนื้อหาไมเหมาะสม (มาตรา ๑๔) คิดเปนรอยละ 82.7 การเขาถึงคอมพิวเตอรโดยมิชอบ (มาตรา ๕) คิดเปนรอยละ 78.7 การลวงรูเปดเผยมาตรการปองกัน (มาตรา ๖) คิดเปนรอยละ 76.0 การทํา สงสแปมม สงขอมูลปกปดแหลงท่ีมา (มาตรา ๑๑) คิดเปนรอยละ 76.0 การจําหนาย เผยแพรชุดคําส่ัง (มาตรา ๑๓) คิดเปนรอยละ 76.0 การเขาถึงคอมพิวเตอรโดยมิชอบ (มาตรา ๕) คิดเปนรอยละ 70.7 การนําเขาขอมูล สงตอ ตัดตอภาพผูอ่ืนทําใหเกิดความเสียหาย (มาตรา ๑๖) คิดเปนรอยละ 69.3 ผูใหบริการสนับสนุนยินยอมใหมีการกระทําผิด (มาตรา ๑๕) คิดเปนรอยละ 52.0 การรบกวนทําลายระบบคอมพิวเตอร (มาตรา ๑๐) คิดเปนรอยละ 50.7 การดักขอมูลคอมพิวเตอร (มาตรา ๘) คิดเปนรอยละ22.7 ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถาม ตอบผิด มากที่สุด เร่ืองการดักขอมูลคอมพิวเตอร (มาตรา ๘) คิดเปนรอยละ 77.3 รองลงมาคือ รองลงมาคือ การรบกวนทําลายระบบคอมพิวเตอร (มาตรา ๑๐) คิดเปนรอยละ 49.3 ผูใหบริการสนับสนุน ยินยอมใหมีการกระทําผิด (มาตรา ๑๕) คิดเปนรอยละ 48.0 การนําเขาขอมูล สงตอ ตัดตอภาพผูอ่ืนทําใหเกิดความเสียหาย (มาตรา ๑๖) คิดเปนรอยละ 30.7 การเขาถึงคอมพิวเตอรโดยมิชอบ (มาตรา ๕) คิดเปนรอยละ 29.3 การลวงรูเปดเผยมาตรการปองกัน (มาตรา ๖) คิดเปนรอยละ 24.0 การทํา สงสแปมม สงขอมูลปกปดแหลงท่ีมา (มาตรา ๑๑) คิดเปนรอยละ 24.0 การจําหนาย เผยแพรชุดคําส่ัง (มาตรา ๑๓) คิดเปนรอยละ 24.0 การเขาถึงคอมพิวเตอรโดยมิชอบ (มาตรา ๕) คิดเปนรอยละ 21.3 เร่ืองการนําเขาขอมูลเปนเท็จเนื้อหาไมเหมาะสม (มาตรา ๑๔) คิดเปนรอยละ 17.3 การรบกวนทําลายระบบคอมพิวเตอร (มาตรา ๑๐) คิดเปนรอยละ 8.0 ตามลําดับ

แสดงถึงผูตอบแบบสอบถามมีความเขาใจใน (มาตรา ๑๔) เร่ืองการรบกวนทําลายระบบคอมพิวเตอร (มาตรา ๑๐) มากท่ีสุด และผูตอบแบบสอบถามมีความเขาใจใน (มาตรา ๘) เร่ืองการดักขอมูลคอมพิวเตอร นอยท่ีสุด

Page 42: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

35

ตารางท่ี 7 แสดงความถ่ี และรอยละของการอภิปรายแปลผลระดับความเขาใจตอการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 2550

ระดับความเขาใจ ความถ่ี รอยละ มีความเขาใจตอการกระทําความผิดตาม พ.ร.บ. ในระดับมาก คือ ตอบถูกมากกวา 80% ข้ึนไป

5 6.7%

มีความเขาใจตอการกระทําความผิดตาม พ.ร.บ. ในระดับปานกลาง คือ ตอบระหวาง 50% - 79%

57 76.0%

มีความเขาใจตอการกระทําความผิดตาม พ.ร.บ. ในระดับนอย คือ ตอบถูก นอยกวา 50%

13 17.3%

รวม 75 100%

กราฟท่ี 6 แสดงรอยละของการอภิปรายแปลผลระดับความเขาใจตอการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 2550

จากตารางท่ี 7 และกราฟท่ี 6 พบวาผูตอบแบบสอบถามสวนใหญมีความเขาใจตอการกระทําความผิด

ตาม พ.ร.บ. ในระดับปานกลาง คือ ตอบถูก คิดเปนรอยละ 76.0 รองลงมา คือ มีความเขาใจตอการกระทําความผิดตาม พ.ร.บ. ระดับนอย คือ ตอบถูก คิดเปนรอยละ17.3 และ มีความเขาใจตอการกระทําความผิดตาม พ.ร.บ. ระดับมาก คิดเปนรอยละ 6.7 ตามลําดับ

6.7%

76.0%

17.3%

ระดับความเขาใจตอการกระทําผิดตาม พ.ร.บ.

เขาใจมาก

เขาใจปานกลาง

เขาใจนอย

Page 43: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

36

สวนท่ี 2 พฤติกรรมการใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตของผูใชบริการตามกรอบ พ.ร.บ. หลังประกาศใชในปจจุบัน

ตารางท่ี 8 แสดงความถ่ี และรอยละของขอมูลคําตอบเกี่ยวกับพฤติกรรมการใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตกระทําความผิดในปจจุบัน

พฤติกรรม ควร ไมควร รอยละ

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

1. นักเรียนใช User, Password ของเพื่อนในการเขาใชคอมพิวเตอร หรือ อินเทอรเน็ต โดยเพื่อนของทานไมทราบ

4 5.3% 71 94.7% 75 100%

2. นักเรียนบอกข้ันตอนวิธีการเขาระบบของโปรแกรม หรือ ระบบตางๆ ของผูอ่ืน ท่ีนักเรียนทราบใหเพื่อนฟง

34 45.3% 41 54.7% 75 100%

3. นักเรียน สมัครสมาชิก E-mail, สมาชิกของ Game ,สมาชิกบนเว็บไซตตาง ๆโดยใชขอมูลของเพื่อนและเพื่อนไมทราบ

3 4.0% 72 96.0% 75 100%

4. นักเรียนใชโปรแกรมดักขอมูลการสง E-mail เพื่อน เพื่อแกลงเพื่อน

4 5.3% 71 94.7% 75 100%

5. นักเรียนแกไขขอความของเพ่ือนท่ีเขาพมิพเตรียมจะสงใหคนท่ีเขากําลังสนทนาอยูใน Line ตอนท่ีเขาไมอยู

5 6.7% 70 93.3% 75 100%

6. นักเรียนเสียบ Flash Drive ท่ีมี Virus เขาไปในเคร่ืองคอมพิวเตอรของเพื่อนเพื่อใหเคร่ืองของเพื่อนติด Virus

4 5.3% 71 94.7% 75 100%

7. นักเรียน Sing in เปนผูอ่ืนแลวสง E-mail หรือขอความใหผูอ่ืนเพื่อใหเคร่ืองเขาคางหรือทํางานไมได

4 5.3% 71 94.7% 75 100%

8.นักเรียนดาวนโหลดโปรแกรมชวยเลน Game จากเว็บไซตแลวนาํไปใชเองและแจกใหเพื่อนคนอ่ืนดวย

48 64.0% 27 36.0% 75 100%

Page 44: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

37

พฤติกรรม ควร ไมควร รอยละ

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

9. นักเรียน Copy ขอมูลบทความทางวิชาการท่ีไดจากเว็บไซตแลวแกไขใหเปนของตนเพ่ือสงใหคุณครูทาง E-mail

14 18.7% 61 81.3% 75 100%

10. นักเรียนตัดตอภาพเพื่อนใหดูตลก แลวนําไปโพสตไวท่ี Facebookหรือสง E-mail ใหเพื่อนอีกคนดู

12 16.0% 63 84.0% 75 100%

กราฟท่ี 7 แสดงรอยละของขอมูลคําตอบเกี่ยวกับพฤติกรรมการใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตกระทําความผิดในปจจุบัน

5.3%

45.3%

4.0% 5.3% 6.7% 5.3% 5.3%

64.0%

18.7% 16.0%

94.7%

54.7%

96.0% 94.7% 93.3% 94.7% 94.7%

36.0%

81.3% 84.0%

ตอบควร ตอบไมควร

Page 45: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

38

จากตารางท่ี 8 และกราฟท่ี 7 พบวาผูตอบแบบสอบถามสวนใหญ ตอบควร มากท่ีสุดเร่ืองนักเรียนดาวนโหลดโปรแกรมชวยเลน Game จากเว็บไซตแลวนําไปใชเองและแจกใหเพื่อนคนอ่ืนดวย คิดเปนรอยละ 64.0 รองลงมาคือ นักเรียนบอกข้ันตอนวิธีการเขาระบบของโปรแกรม หรือ ระบบตางๆ ของผูอ่ืน ท่ีนักเรียนทราบใหเพื่อนฟง คิดเปนรอยละ 45.3 นักเรียน Copy ขอมูลบทความทางวิชาการที่ไดจากเว็บไซตแลวแกไขใหเปนของตนเพ่ือสงใหคุณครูทาง E-mail คิดเปนรอยละ 18.7 นักเรียนตัดตอภาพเพื่อนใหดูตลก แลวนําไปโพสตไวท่ี Facebookหรือสง E-mail ใหเพื่อนอีกคนดู คิดเปนรอยละ 16.0 นักเรียนแกไขขอความของเพ่ือนท่ีเขาพิมพเตรียมจะสงใหคนท่ีเขากําลังสนทนาอยูใน Line ตอนท่ีเขาไมอยู คิดเปนรอยละ 6.7 นักเรียนใช User, Password ของเพื่อนในการเขาใชคอมพิวเตอร หรือ อินเทอรเน็ต โดยเพื่อนของทานไมทราบ คิดเปนรอยละ 5.3 นักเรียนใชโปรแกรมดักขอมูลการสง E-mail เพื่อน เพื่อแกลงเพื่อน คิดเปนรอยละ 5.3 นักเรียนเสียบ Flash Drive ท่ีมี Virus เขาไปในเคร่ืองคอมพิวเตอรของเพื่อนเพื่อใหเคร่ืองของเพื่อนติด Virus คิดเปนรอยละ 5.3 นักเรียน Sing in เปนผูอ่ืนแลวสง E-mail หรือขอความใหผูอ่ืนเพื่อใหเคร่ืองเขาคางหรือทํางานไมได คิดเปนรอยละ 5.3 นักเรียน สมัครสมาชิก E-mail, สมาชิกของ Game ,สมาชิกบนเว็บไซตตาง ๆโดยใชขอมูลของเพ่ือนและเพ่ือนไมทราบ คิดเปนรอยละ 4.0 ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญ ตอบไมควร มากท่ีสุดเร่ืองสมัครสมาชิก E-mail, สมาชิกของ Game ,สมาชิกบนเว็บไซตตาง ๆโดยใชขอมูลของเพ่ือนและเพื่อนไมทราบ คิดเปนรอยละ 96.0 รองลงมาคือ นักเรียนใช User, Password ของเพื่อนในการเขาใชคอมพิวเตอร หรือ อินเทอรเน็ต โดยเพื่อนของทานไมทราบ คิดเปนรอยละ 94.7 นักเรียนใชโปรแกรมดักขอมูลการสง E-mail เพื่อน เพื่อแกลงเพื่อน คิดเปนรอยละ 94.7 นักเรียนเสียบ Flash Drive ท่ีมี Virus เขาไปในเคร่ืองคอมพิวเตอรของเพื่อนเพื่อใหเคร่ืองของเพื่อนติด Virus คิดเปนรอยละ 94.7 นักเรียน Sing in เปนผูอ่ืนแลวสง E-mail หรือขอความใหผูอ่ืนเพื่อใหเคร่ืองเขาคางหรือทํางานไมได คิดเปนรอยละ 94.7 นักเรียนแกไขขอความของเพ่ือนท่ีเขาพิมพเตรียมจะสงใหคนท่ีเขากําลังสนทนาอยูใน Line ตอนท่ีเขาไมอยู คิดเปนรอยละ 93.3 นักเรียนตัดตอภาพเพื่อนใหดูตลก แลวนําไปโพสตไวท่ี Facebookหรือสง E-mail ใหเพื่อนอีกคนดู คิดเปนรอยละ 84.0 นักเรียน Copy ขอมูลบทความทางวิชาการที่ไดจากเว็บไซตแลวแกไขใหเปนของตนเพื่อสงใหคุณครูทาง E-mail คิดเปนรอยละ 81.3 นักเรียนบอกข้ันตอนวิธีการเขาระบบของโปรแกรม หรือ ระบบตางๆ ของผูอ่ืน ท่ีนักเรียนทราบใหเพื่อนฟง คิดเปนรอยละ 54.7 นักเรียนดาวนโหลดโปรแกรมชวยเลน Game จากเว็บไซตแลวนําไปใชเองและแจกใหเพื่อนคนอ่ืนดวย คิดเปนรอยละ 36.0 ตามลําดับ

Page 46: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

39

ตารางท่ี 9 แสดงความถ่ี และรอยละของการอภิปรายแปลผลคําตอบเกี่ยวกับพฤติกรรมการใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตของผูใชบริการตามกรอบ พ.ร.บ. ในปจจุบัน

พฤติกรรม ตอบถูก ตอบไมถูก รอยละ

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

1. นักเรียนใช User, Password ของเพื่อนในการเขาใชคอมพิวเตอร หรือ อินเทอรเน็ต โดยเพื่อนของทานไมทราบ

จํานวน รอยละ 4 5.3% 75 100%

2. นักเรียนบอกข้ันตอนวิธีการเขาระบบของโปรแกรม หรือ ระบบตางๆ ของผูอ่ืน ท่ีนักเรียนทราบใหเพื่อนฟง

71 94.7% 34 45.3% 75 100%

3. นักเรียน สมัครสมาชิก E-mail, สมาชิกของ Game ,สมาชิกบนเว็บไซตตาง ๆโดยใชขอมูลของเพื่อนและเพื่อนไมทราบ

41 54.7% 3 4.0% 75 100%

4. นักเรียนใชโปรแกรมดักขอมูลการสง E-mail เพื่อน เพื่อแกลงเพื่อน

72 96.0% 4 5.3% 75 100%

5. นักเรียนแกไขขอความของเพ่ือนท่ีเขาพมิพเตรียมจะสงใหคนท่ีเขากําลังสนทนาอยูใน Line ตอนท่ีเขาไมอยู

71 94.7% 5 6.7% 75 100%

6. นักเรียนเสียบ Flash Drive ท่ีมี Virus เขาไปในเคร่ืองคอมพิวเตอรของเพื่อนเพื่อใหเคร่ืองของเพื่อนติด Virus

70 93.3% 4 5.3% 75 100%

7. นักเรียน Sing in เปนผูอ่ืนแลวสง E-mail หรือขอความใหผูอ่ืนเพื่อใหเคร่ืองเขาคางหรือทํางานไมได

71 94.7% 4 5.3% 75 100%

8.นักเรียนดาวนโหลดโปรแกรมชวยเลน Game จากเว็บไซตแลวนาํไปใชเองและแจกใหเพื่อนคนอ่ืนดวย

71 94.7% 48 64.0% 75 100%

9. นักเรียน Copy ขอมูลบทความทางวิชาการท่ีไดจากเว็บไซตแลวแกไขใหเปนของตนเพ่ือสงใหคุณครูทาง E-mail

27 36.0% 14 18.7% 75 100%

10. นักเรียนตัดตอภาพเพื่อนใหดูตลก แลวนําไปโพสตไวท่ี Facebookหรือสง E-mail ใหเพื่อนอีกคน

61 81.3% 12 16.0% 75 100%

Page 47: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

40

กราฟท่ี 8 แสดงรอยละของการอภิปรายแปลผลคําตอบเกี่ยวกับพฤติกรรมการใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตของผูใชบริการตามกรอบ พ.ร.บ. ในปจจุบัน

จากตารางท่ี 9 และกราฟท่ี 8 พบวาผูตอบแบบสอบถามมีพฤติกรรมในการใชคอมพิวเตอรแลอินเทอรเน็ตท่ีถูกตองตามกรอบของ พ.ร.บ. โดยสวนใหญ คือตอบถูก มากท่ีสุดเร่ืองไมมีพฤติกรรมเขาถึงขอมูลคอมพิวเตอรโดยมิชอบตาม (มาตรา ๗) คิดเปนรอยละ 96.0 รองลงมาคือ ไมมีพฤติกรรมเขาถึงคอมพิวเตอรโดยมิชอบตาม (มาตรา ๕) คิดเปนรอยละ 94.7 ไมมีพฤติกรรมดักขอมูลคอมพิวเตอรตาม (มาตรา ๘) คิดเปนรอยละ 94.7 ไมมีพฤติกรรมรบกวน ทําลายระบบคอมพิวเตอรตาม (มาตรา ๑๐) คิดเปนรอยละ 94.7 ไมมีพฤติกรรมทํา สงสแปมม สงขอมูลปกปดแหลงท่ีมาตาม (มาตรา ๑๑) คิดเปนรอยละ 94.7 ไมมีพฤติกรรมรบกวนทําลายขอมูลคอมพิวเตอรตาม (มาตรา ๑๐) คิดเปนรอยละ 93.3 ไมมีพฤติกรรมนําเขาขอมูล ตัดตอภาพผูอ่ืนทําใหเกิดความเสียหายตาม (มาตรา ๑๖) คิดเปนรอยละ 84.0 ไมมีพฤติกรรมนําเขา เผยแพรขอมูลเท็จเนื้อหาไมเหมาะสมตาม (มาตรา ๑๔) คิดเปนรอยละ 81.3 ไมมีพฤติกรรมลวงรู เปดเผยมาตรการปองกันตาม (มาตรา ๖) คิดเปนรอยละ 54.7 ไมมีพฤติกรรมจําหนายเผยแพรชุดคําส่ังเพื่อกระทําผิดตาม (มาตรา ๑๓) คิดเปนรอยละ 36.0ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามมีพฤติกรรมในการใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตท่ีถูกตองตามกรอบของ พ.ร.บ. นอยท่ีสุด คือตอบผิด ในเร่ืองไมมีพฤติกรรมจําหนายเผยแพรชุดคําส่ัง (มาตรา๑๓) คิดเปนรอยละ 64.0 รองลงมาคือ ไมมีพฤติกรรมลวงรู เปดเผยมาตรการปองกันตาม (มาตรา ๖) คิดเปนรอยละ 45.3 ไมมีพฤติกรรมนําเขา เผยแพรขอมูลเท็จเนื้อหาไมเหมาะสมตาม (มาตรา ๑๔) คิดเปนรอยละ 18.7 ไมมีพฤติกรรมนําเขาขอมูล ตัดตอภาพผูอ่ืนทําใหเกิดความเสียหายตาม (มาตรา ๑๖) คิดเปนรอยละ 16.0 ไมมีพฤติกรรมรบกวนทําลาย

94.7%

54.7%

96.0% 94.7% 93.3% 94.7% 94.7%

36.0%

81.3% 84.0%

ตอบถูก(รอยละ)

Page 48: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

41

ขอมูลคอมพิวเตอรตาม (มาตรา ๑๐) คิดเปนรอยละ 6.7 ไมมีพฤติกรรมเขาถึงคอมพิวเตอรโดยมิชอบตาม (มาตรา ๕) คิดเปนรอยละ 5.3 ไมมีพฤติกรรมดักขอมูลคอมพิวเตอรตาม (มาตรา ๘) คิดเปนรอยละ 5.3 ไมมีพฤติกรรมรบกวน ทําลายระบบคอมพิวเตอรตาม (มาตรา ๑๐) คิดเปนรอยละ 5.3 ไมมีพฤติกรรมทํา สงสแปมม สงขอมูลปกปดแหลงท่ีมาตาม (มาตรา ๑๑) คิดเปนรอยละ 5.3 ไมมีพฤติกรรมเขาถึงขอมูลคอมพิวเตอรโดยมิชอบตาม (มาตรา ๗) คิดเปนรอยละ 4.0 ตามลําดับ

แสดงถึงผูตอบแบบสอบถามมีพฤติกรรมในการใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตท่ีถูกตองตามกรอบของ พ.ร.บ. ใน (มาตรา ๗) เร่ืองไมมีพฤติกรรมเขาถึงขอมูลคอมพิวเตอรโดยมิชอบตาม มากท่ีสุด และ ผูตอบแบบสอบถามมีพฤติกรรมในการใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตท่ีถูกตองตามกรอบของ พ.ร.บ. ใน(มาตรา๑๓) เร่ืองไมมีพฤติกรรมจําหนายเผยแพรชุดคําส่ัง นอยท่ีสุด

ตารางท่ี 10 แสดงความถ่ี และรอยละของระดับพฤติกรรมการใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตกระทําความผิดในปจจุบัน

ระดับพฤติกรรม ความถ่ี รอยละ มีพฤติกรรมการใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตตามกรอบของ พ.ร.บ. ในปจจุบัน ระดับมาก คือ ตอบถูก มากกวา 80% ข้ึนไป

59 78.7%

มีพฤติกรรมการใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตตามกรอบของ พ.ร.บ. ในปจจุบัน ระดับปานกลาง คือ ตอบถูก 50% - 79%

12 16.0%

มีพฤติกรรมการใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตตามกรอบของ พ.ร.บ. ในปจจุบัน ระดับนอย คือ ตอบถูก นอยกวา 50%

4 5.3%

รวม 75 100%

Page 49: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

42

กราฟท่ี 9 แสดงรอยละของระดับพฤติกรรมการใชคอมพวิเตอรและอินเทอรเน็ตตามกรอบพระราชบัญญัติในปจจุบัน

จากตารางท่ี 10 และกราฟท่ี 9 พบวาผูตอบแบบสอบถามสวนใหญมีพฤติกรรมการใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตตามกรอบของ พ.ร.บ. ปจจุบัน ในระดับมาก คือ ตอบถูก คิดเปนรอยละ 78.7 รองลงมา คือ มีพฤติกรรมการใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตตามกรอบของ พ.ร.บ. ปจจุบัน ในระดับปานกลาง คือ ตอบถูก คิดเปนรอยละ 16.0 และ มีพฤติกรรมการใชคอมพิวเตอร และอินเทอรเน็ตตามกรอบของ พ.ร.บ. ปจจุบัน ในระดับนอย คือ ตอบถูก คิดเปนรอยละ 5.3 ตามลําดับ

78.7%

16%

5.3%

พฤติกรรมตามกรอบ พ.ร.บ.

พฤติกรรมตามกรอบ พ.ร.บ. มาก พฤติกรรมตามกรอบ พ.ร.บ. ปานกลาง พฤติกรรมตามกรอบ พ.ร.บ. นอย

Page 50: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

43

บทท่ี 5 สรุปผล อภปิรายผล และขอเสนอแนะ

จุดมุงหมายของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาการรับรูและความเขาใจตอการกระทําความผิดตาม พ.ร.บ.วาดวยการกระทําความผิด

ทางคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 ของนักเรียนโรงเรียนอัสสัมชัญ แผนกประถม ปการศึกษา 2558 2. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6

โครงการ English Program โรงเรียนอัสสัมชัญ แผนกประถม ปการศึกษา 2558

สมมตฐิานของการวิจัย 1. นักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โครงการ English Program มีการรับรูเนื้อหาสาระของ พ.ร.บ. อยูใน

ระดับปานกลาง 2. นักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โครงการ English Program มีความเขาใจตอการกระทําความผิดตาม

พ.ร.บ. อยูในระดับปานกลาง 3. นักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โครงการ English Program มีพฤติกรรมการใชคอมพิวเตอรและ

อินเทอรเน็ตตามกรอบของ พ.ร.บ. อยูในระดับมาก

ประชากรท่ีใชในการวิจัยและกลุมตัวอยาง กลุมเปาหมายท่ีใชในการศึกษาคนควา ไดแก นักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โครงการ English

Program ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2558 โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร จานวน 75 คน

เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย เคร่ืองมือท่ีใชในการศึกษาคร้ังคือ แบบสอบถามท่ีจัดทําข้ึนโดยมีเนื้อหาท่ีครอบคลุมประเด็น

สาระสําคัญ และฐานความผิดตามพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 โดยแบงเปน 2 สวน ดังนี้

สวนท่ี 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับการรับรูและความเขาใจตอการกระทําความผิดตามพ.ร.บ. ซ่ึงประกอบดวย การรับรูเกี่ยวกับเนื้อหาสาระ ความเขาใจตอการกระทําความผิด

สวนท่ี 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตของนักเรียน

Page 51: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

44

วิธีดําเนินการวิจัย ผูวิจัยไดทําการศึกษาและรวบรวมจากเอกสาร ประกอบดวย พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิด

เกี่ยวกับคอมพวิเตอร พ.ศ. 2550 เอกสารอธิบาย วารสารส่ิงพิมพ ขอความ บทความออนไลน การเขาสัมมนา แนวคิด ทฤษฏี และงานวจิัยท่ีเกี่ยวของโดยเคร่ืองมือท่ีเปนแบบสอบถามน้ีไดมีการทดสอบความเที่ยงตรงในการนําไปใชในการเก็บขอมูลดังนี้

1. การตรวจสอบความเท่ียงตรงของเน้ือหา (Content Validity) ผูศึกษาไดนําแบบสอบถามใหท่ีผูทรง คุณวุฒิเปนผูพจิารณาตรวจสอบความถูกตองของเนื้อหาในแบบสอบถาม

2. นําขอแนะนําตาง ๆ ท่ีไดรับจากการนําแบบสอบถามไปทดสอบ และคําแนะนําจากผูทรงคุณวฒิุ มาปรับปรุงเพื่อใหมีความเหมาะสมถูกตอง และสมบูรณท่ีสุดกอนนําไปเกบ็ขอมูลจริง

การเก็บรวบรวมขอมูล 1) ขอมูลปฐมภูมิ (Primary Data) ศึกษาและรวบรวมจากแบบสอบถามนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6

โครงการ English Program โดยวิธีสุมตามความสะดวก (Convenience Sampling) จํานวน 75 ตัวอยาง โดยการเก็บขอมูล ผูจัดทําไดทําการแจกแบบสอบถามใหแกนักเรียนและรอเกบ็แบบสอบถามกลับคืน

2) ขอมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) ศึกษาและรวบรวมจากเอกสาร ประกอบดวยพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 เอกสารอธิบาย วารสาร ส่ิงพิมพ ขอความ บทความ ออนไลน การเขาสัมมนา แนวคิด ทฤษฏี และงานวจิัยท่ีเกี่ยวของ เคร่ืองมือท่ีใชในการศึกษาคร้ังคือ แบบสอบถามท่ีจัดทําข้ึนโดยมีเนื้อหาท่ีครอบคลุม ประเด็น สาระสําคัญ และฐานความผิดตามพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกีย่วกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 โดยแบงเปน 3 สวน ดังนี ้

สวนท่ี 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับการรับรูและความเขาใจตอการกระทําความผิดตาม พ.ร.บ. ซ่ึงประกอบดวย การรับรูเกี่ยวกบัเนื้อหาสาระ ความเขาใจตอการกระทําความผิด

สวนท่ี 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตของนกัเรียน หลัง พ.ร.บ. ประกาศใชแลว ซ่ึงหมายถึง การใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตตามกรอบของ พ.ร.บ.

โดยเคร่ืองมือท่ีเปนแบบสอบถามนี้ไดมีการทดสอบความเท่ียงตรงในการนําไปใชในการเก็บขอมูลดังนี้ 1. การตรวจสอบความเท่ียงตรงของเน้ือหา (Content Validity) ผูศึกษาไดนําแบบสอบถามใหท่ี

ปรึกษาและผูทรงคุณวุฒิเปนผูพิจารณาตรวจสอบความถูกตองของเนือ้หาในแบบสอบถาม 2. นําแบบสอบถามท่ีได ทําการทดสอบ (Pre-test) จํานวน 10 ชุด กับกลุมตัวอยางท่ีเปน

นักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โครงการ English Program เพื่อรับทราบความไมชัดเจนของแบบสอบถาม

3. นําขอแนะนําตาง ๆ ท่ีไดรับจากการนําแบบสอบถามไปทดสอบ และคําแนะนําจากผูทรงคุณวุฒิ มาปรับปรุงเพื่อใหมีความเหมาะสมถูกตอง และสมบูรณท่ีสุดกอนนําไปเก็บขอมูลจริง

Page 52: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

45

สรุปผลการวิจัย สวนท่ี 1 ขอมูลการรับรูและความเขาใจตอการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร 2550

การรับรูเก่ียวกับเนื้อหาสาระของ พ.ร.บ. จากการศึกษาพบวา การรับรูเนื้อหาสาระของ พ.ร.บ. ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญ ตอบถูก เกี่ยวกับ

เร่ืองสถานท่ีแจงดําเนินคดีกับผูกระทําความผิด คิดเปนรอยละ 84.0 รองลงมาคือ ความหมายของระบบคอมพิวเตอร คิดเปนรอยละ 76.0 ความหมายขอมูลคอมพิวเตอร คิดเปนรอยละ 74.7 วันท่ีประกาศใช คิดเปนรอยละ 73.3 ผูใหบริการเก็บรักษาขอมูลคอมพิวเตอร คิดเปนรอยละ 68.0 โดยผลการศึกษาพบวากลุมผูตอบแบบสอบถามสวนใหญมีการรับรูในระดับปานกลาง คือ ตอบถูก คิดเปนรอยละ 69.3 รองลงมาคือ มีการรับรูเกี่ยวกับเนื้อหาสาระของ พ.ร.บ. ในระดับมาก คือ ตอบถูก คิดเปนรอยละ 17.4 และ มีการรับรูเกี่ยวกับเนื้อหาสาระของ พ.ร.บ. ในระดับนอย คือ ตอบถูก คิดเปนรอยละ 13.3

ความเขาใจตอการกระทําความผิดตาม พ.ร.บ. จากการศึกษาพบวา ความเขาใจตอการกระทําความผิดตาม พ.ร.บ. ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญตอบถูกเกี่ยวกับ เร่ืองการรบกวนทําลายระบบคอมพิวเตอร (มาตรา ๑๐) มากท่ีสุด คิดเปนรอยละ 92.0 รองลงมาคือ เร่ืองการนําเขาขอมูลเปนเท็จเนื้อหาไมเหมาะสม (มาตรา ๑๔) คิดเปนรอยละ 82.7 การเขาถึงคอมพิวเตอรโดยมิชอบ (มาตรา ๕) คิดเปนรอยละ 78.7 การลวงรูเปดเผยมาตรการปองกัน (มาตรา ๖) คิดเปนรอยละ 76.0 การทํา สงสแปมม สงขอมูลปกปดแหลงท่ีมา (มาตรา ๑๑) คิดเปนรอยละ 76.0 โดยผลการศึกษาพบวากลุมผูตอบแบบสอบถามสวนใหญมีความเขาใจในระดับปานกลาง คิดเปนรอยละ 76.0 รองลงมาคือ มีความเขาใจตอการกระทําความผิดตาม พ.ร.บ. ในระดับนอย คิดเปนรอยละ 17.3 และ มีความเขาใจตอการกระทําความผิดตาม พ.ร.บ. ในระดับมาก คิดเปนรอยละ 6.7 สวนท่ี 2 ขอมูลพฤติกรรมการใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตตามกรอบพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร 2550 จากการศึกษาพบวา ผูตอบแบบสอบถามมีพฤติกรรมตามกรอบของ พ.ร.บ. โดยสวนใหญตอบไมสมควรทําพฤติกรรมเขาถึงขอมูลคอมพิวเตอรโดยมิชอบตาม คิดเปนรอยละ 96.0 รองลงมาคือ ไมมีพฤติกรรมเขาถึงคอมพิวเตอรโดยมิชอบตาม คิดเปนรอยละ 94.7 ไมมีพฤติกรรมดักขอมูลคอมพิวเตอรตาม คิดเปนรอยละ 94.7 โดยผลการศึกษาพบวากลุมผูตอบแบบสอบถามสวนใหญมีพฤติกรรมตามกรอบของ พ.ร.บ. อยูในระดับมาก คิดเปนรอยละ 78.7 มีพฤติกรรมตามกรอบของ พ.ร.บ. ในระดับปานกลาง คิดเปนรอยละ 16.0 และมีพฤติกรรมตามกรอบ พ.ร.บ. ในระดับนอย คิดเปนรอยละ 5.3

Page 53: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

46

อภิปรายผลการวิจัย จากผลของการศึกษาการรับรูและความเขาใจตอการกระทําความผิดตาม พ.ร.บ.วาดวยการกระทําความผิดทางคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โครงการ English Program โรงเรียนอัสสัมชัญ แผนกประถม ปการศึกษา 2558 ดังนี้

พบวาผูตอบแบบสอบถาม มีการรับรู ความเขาใจและพฤติกรรม ดานการรับรู สวนใหญอยูในระดับปานกลาง ซ่ึงเปนไปตามสมมติฐานท่ีต้ังไว โดยมีการรับรูเร่ืองของสถานท่ีแจงดําเนินคดีกับผูกระทําความผิด มากท่ีสุด และเร่ืองลักษณะขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร นอยท่ีสุด สอดคลองกับ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (2551) ท่ีจัดทําคูมือการปฏิบัติแนะแนวทางการปองกันเพื่อหลีกเล่ียงการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอรเพื่อเปนการเผยแพรความรูเกี่ยวกับวิธีการปองกันไมใหกระทําผิดตามพ.ร.บ. ไดผลวาประชาชนสวนใหญยังไมทราบวามี พ.ร.บ. สวนคนท่ีทราบวามีก็ยังไมมีความเขาใจเนื้อหาของพระราชบัญญัติ ดานความเขาใจ ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญ มีความเขาใจ อยูในระดับปานกลาง ซ่ึงเปนไปตามสมมติฐานท่ีต้ังไว โดยมีความเขาใจ มาตรา 10 ผูใดกระทําดวยประการใดโดยมิชอบ เพื่อใหการทํางานของระบบคอมพิวเตอรของผูอ่ืนถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไมสามารถทํางานตามปกติได มากท่ีสุด และ มาตรา 8 ผูใดกระทําดวยประการใดโดยมิชอบดวยวิ ธีการทางอิเล็กทรอนิกส เพื่อดักรับไว ซ่ึงขอมูลคอมพิวเตอรของผูอ่ืนท่ีอยูระหวางการสงในระบบคอมพิวเตอร และขอมูลคอมพิวเตอรนั้นมิไดมีไวเพื่อประโยชนสาธารณะหรือเพื่อใหบุคคลท่ัวไปใชประโยชนได นอยท่ีสุด ดานพฤติกรรม ผูตอบแบบสอบถามสวนมีพฤติกรรมตามกรอบของพ.ร.บ.อยูในระดับมาก ซ่ึงเปนไปตามสมมติฐานท่ีต้ังไว สอดคลองกับ นัดติกาญจน ทองบุญฤทธ์ิ (2552) ท่ีทําการวิจัยเร่ือง การรับรูและความเขาใจตอการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 ของผูใชบริการรานอินเทอรเน็ต ในอําเภอเมือง เชียงใหม” เปนการศึกษา การรับรูและความเขาใจ พฤติกรรม ของผูใชบริการรานอินเทอรเน็ต ในอําเภอเมือง เชียงใหม ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญ มีพฤติกรรมการใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตตามกรอบของ พ.ร.บ. อยูในระดับมาก โดยมีพฤติกรรมตามกรอบ พ.ร.บ. มากท่ีสุด เร่ืองไมรบกวนทําลายขอมูลคอมพิวเตอร และมีพฤติกรรมตามกรอบของ พ.ร.บ. นอยท่ีสุด เร่ืองไมจําหนายหรือเผยแพรชุดคําส่ังเพื่อการกระทําความผิด สอดคลองกับ ลัดดาวัลย ภูติอนันต (2551) ท่ีทําการวิจัย จริยธรรมการใชอินเทอรเน็ตของนักเรียนนายรอยตํารวจ รุนท่ี 63 โรงเรียนนายรอยตํารวจ ไดผลวา นักเรียนนายรอยตํารวจรุนท่ี 63 โรงเรียนนายรอยตํารวจ มีจริยธรรมในการใชอินเทอรเน็ตอยูในระดับดี โดยผูตอบแบบสอบถามมีพฤติกรรมการใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตตามกรอบของ พ.ร.บ. ใน มาตรา 7 ผูใดเขาถึงโดยมิชอบซ่ึงขอมูลคอมพิวเตอรท่ีมีมาตรการปองกันการเขาถึง โดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิไดมีไวสําหรับตน มากท่ีสุด และ มาตรา 13 การจําหนายหรือเผยแพรชุดคําส่ังท่ีจัดทําข้ึนโดยเฉพาะเพ่ือนําไปใชเปนเคร่ืองมือในการกระทําความผิด นอยท่ีสุด สอดคลองกับ องอาจ เทียนหิรัญ (2546) ท่ีทําการวิจัยอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร: กําหนดฐานความผิดทางอาญาสําหรับการกระทําตอคอมพิวเตอรไดผลการศึกษาวาตางประเทศก็ประสบกับปญหาการกระทําความผิดทางคอมพิวเตอร เพราะภาครัฐมีการจัดสรรเงินงบประมาณเปนเงินหลายรอยลานเหรียญเพื่อใหทําการวิจัยหาหาวิธีแกไขและปองกัน

Page 54: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

47

อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร โดยมีการแกไขกฎหมายใหสอดคลองกับสถานการณและพฤติกรรมผูกระทําความผิดในปจจุบันมากยิ่งข้ึน เนื่องจากไมสามารถนํากฎหมายท่ีใชอยูในขณะนั้นมาพิจารณาลงโทษผูกระทําความผิดได รูปแบบของการกระทําความผิดทางคอมพิวเตอรสามารถแบงออกเปน การเขาถึงคอมพิวเตอรโดยปราศจากอํานาจ การดักขอมูลคอมพิวเตอร การจารกรรมขอมูลคอมพิวเตอร การทํา ใหเกิดความเสียหายตอคอมพิวเตอร การปลอมขอมูลคอมพิวเตอร และการฉอโกงทางคอมพิวเตอร ขอคนพบ

1. ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญ มีการรับรูเนื้อหาสาระของ พ.ร.บ. อยูในระดับปานกลาง โดยมีการรับรูมากท่ีสุด เร่ืองดานการรับรู เร่ืองของสถานท่ีแจงดําเนินคดีกับผูกระทําความผิด มากท่ีสุด และเร่ืองลักษณะขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร นอยท่ีสุด

2. ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญ มีความเขาใจตอการกระทําความผิดตาม พ.ร.บ. อยูในระดับปานกลาง โดยมีความเขาใจมากท่ีสุด เร่ืองเร่ืองการรบกวนทําลายระบบคอมพิวเตอร มากท่ีสุด และ มีความเขาใจใน เร่ืองการดักขอมูลคอมพิวเตอร นอยท่ีสุด

3. ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญ มีพฤติกรรมการใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตตามกรอบของ พ.ร.บ. อยูในระดับมาก โดยมีพฤติกรรมตามกรอบ พ.ร.บ. มากท่ีสุด เร่ืองไมเขาถึงขอมูลคอมพิวเตอรโดยมิชอบ และ มีพฤติกรรมการใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตตามกรอบของ พ.ร.บ. นอยท่ีสุด เร่ืองไมจําหนายเผยแพรชุดคําส่ัง ขอเสนอแนะ

1. โรงเรียนหรือหนวยงานท่ีเกี่ยวของควรจัดใหมีการประชาสัมพันธเกี่ยวกับ พ.ร.บ. ใหมากข้ึน หรือ ควรมีการสอดแทรกเน้ือหาสาระการกระทําผิดเกี่ยวกับ พ.ร.บ. ใหแกนักเรียนทราบเพราะจากการศึกษาพบวานักเรียนสวนใหญยังมีระดับการรับรูเกี่ยวกับ พ.ร.บ. ในระดับปานกลาง ท้ังท่ีพระราชบัญญัตินี้มีการประกาศใชมาต้ังแต ป พ.ศ. 2550

2. เพื่อเปนการปองกันการกระทําความผิดท่ีอาจเกิดข้ึน ท้ังจากนักเรียนเองเปนผูกระทําความผิดและจากผูอ่ืนมากระทําความผิดกับนักเรียน หนวยงานท่ีเกี่ยวของและคุณครูควรเผยแพรและสรางความเขาใจตอการกระทําความผิดแกนักเรียนใหมากข้ึน ควรมีการกระจายความรูความเขาใจไปยังกลุมท่ีไมไดเปนผูใชบริการหรือไมมีความรูในการใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตดวยเพราะจากการศึกษาพบวากลุมนักเรียนท่ีเปนกลุมท่ีมีความสามารถในการใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตยังมีความเขาใจอยูในระดับปานกลาง หรือมีความเขาใจแคเพียงผิวเผินยังไมมีความเขาใจอยางทองแท ดังนั้นกลุมท่ีไมมีความรูในการใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตนาจะยังมีการรับรูเกี่ยวกับ พ.ร.บ.และมีความเขาใจตอการกระทําความผิดนอยกวากลุมดังกลาว ซ่ึงอาจกอใหเกิดการกระทําความผิดท้ังท่ีเจตนากระทําความผิดและไมเจตนากระทําความผิดได

Page 55: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

48

3. เพื่อเพิ่มพฤติกรรมการใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตตามกรอบของ พ.ร.บ.ใหมากข้ึน โรงเรียน และหนวยงานที่เกี่ยวของควรใหความสําคัญในการสงเสริมจริยธรรมและคุณธรรมในการใชเทคโนโลยีตาง ๆใหมากข้ึน

4. ผูปกครองควรใหความสนใจแกบุตรหลานของตนเองในการใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตใหมากข้ึน เพราะดวยวิถีชีวิตปจจุบันท่ีพอแมหรือผูปกครองตองทํางานนอกบาน ทําใหเวลาในการทํากิจกรรมรวมกันมีนอย เด็กจึงเลือกและตัดสินใจทํากิจกรรมตางๆ ตามอารมณและความตองการของตนเองเพียงลําพัง อาจลืมนึกถึงบุคคลอ่ืนท่ีจะไดรับผลกระทบจากการกระทําของตนเอง

Page 56: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

49

บรรณานุกรม กมลรัตน หลาสุวงศ. การศึกษาบุคคลเปนรายกรณี (Case Study): เอกสารคําสอน. กรุงเทพฯ : ภาค

วิชาการแนะแนวและจิตวิทยาการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนรินทรวิโรฒประสานมิตร, 2527. กุณฑลี เวชสาร. การวิจัยตลาด. พิมพคร้ังท่ี 4. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

,2546 ธัญชนก พิสุทธ์ิรติการุณย. การรับรูตอองคประกอบผลิตภัณฑอุปกรณไอที 'Made in China'ของ

ผูบริโภคในกรุงเทพมหานคร. สารนพินธ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนรินทรวิโรฒประสานมิตร, 2551.

ดวงเดน นุเรมรัมย. ความรูเก่ียวกับจริยธรรม. [ระบบออนไลน]. แหลงท่ีมา http://www.duangden.com/Ethics/Ethical.html (13 กันยายน 2551).

บุญสง นิลแกว. การสรางและวิเคราะหความเชื่อถือไดและความแมนตรงแบบสํารวจนิสัยและเจต คติทางการศึกษา. รายงานวิจยั ภาควิชาประเมินผลและวจิยัการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2525.

ประภาเพ็ญ สุวรรณ. ทัศนคติ: การวัดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมอนามัย. พิมพคร้ังท่ี 2. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร, 2526.

พรเพชร วิชิตชลชัย. 2551. คําอธิบายพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผดิเก่ียวกับ คอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐. [ระบบออนไลน]. แหลงท่ีมา www.mict.go.th/home/download/38_.pdf (15 สิงหาคม 2551).

ไพจิตร สวัสดสิาร. การใชคอมพิวเตอรทางกฎหมายและกฎหมายท่ีเก่ียวกับคอมพิวเตอร(ฉบับ ปรับปรุง. พิมพคร้ังท่ี 2. กรุงเทพฯ : หางหุนสวนจํากดั โรงพิมพชวนพิมพ, 2547.

นัดติกาญจน ทองบุญฤทธ์ิ. การรับรูและความเขาใจตอการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผดิเก่ียวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 ของผูใชบริการรานอินเทอรเน็ต ในอําเภอเมือง เชียงใหม. รายงานวิจยั วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต เทคโนโลยีสารสนเทศและการจดัการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม,2552.

นิภา เมธธาวีชัย. การประเมินผลการเรียน. พิมพคร้ังท่ี 2. ฝายเอกสารตํารา มหาวิทยาลัยราชภัฎ ธนบุรี, 2536

ลัดดาวัลย ภูติอนันต. จริยธรรมการใชอินเทอรเน็ตของนกัเรียนนายรอยตํารวจ รุนท่ี 63 โรงเรียน นายรอยตํารวจ. รายงานวิจยั ภาควิชาสังคมศาสตร กลุมงานวิชาสังคมศาสตรและท่ัวไป กองบังคับการวิชาการโรงเรียนนายรอยตํารวจ, 2551.

Page 57: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

50

มนัส สุวรรณ. แนวทางในการทําวิจัย. เชียงใหม: นพบุรีการพิมพ เชียงใหม, 2541. ศูนยประสานงานการรักษาความปลอดภยัคอมพิวเตอร ประเทศไทย 2544. Home Network Security. [ระบบออนไลน]. แหลงท่ีมา http://www.cert.org/tech_tip/home_networks.htm (18 สิงหาคม 2551)

ศิระ บุญภินนท. ความรับผดิชอบทางอาญาของผูใหบริการอินเตอรเน็ตในการกระทําผิดทางอาญา ของผูใชบริการฯ. รายงานวจิัย นิติศาสตรมหาบัณฑติ คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2542.

ฤทธ์ิธี อวมธรรม. ความรู ความเขาใจ และความคิดเห็นของผูประกอบการสงออกท่ีมีตอโครงการ สรางภาพลักษณประเทศ และสินคาไทย. การคนควาแบบอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑติ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย, 2544.

สถิติ วงศสวรรค. จิตวิทยาสังคม. กรุงเทพฯ : บํารุงสาสน, 2529. สุรางค จันทรเอม. จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ : แพรพทิยา, 2518. องอาจ เทียนหรัิญ. อาชญากรรมทางคอมพวิเตอร : การกําหนดฐานความผิดทางอาญาสําหรับการ

กระทําตอคอมพิวเตอร. วิจยั นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร, 2546.

อารีย พันธมณ.ี จิตวิทยาการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพเลิฟแอนดลิฟเพรส, 2534. Ronald. Perception the Basic Process in Cognitive Development. New York : McGraw-Hill,

pp. 366, 1966.

Page 58: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

51

ภาคผนวก

Page 59: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

52

ภาคผนวก ก

พระราชบัญญัติ วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

พ.ศ. ๒๕๕๐

_______________ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.

ใหไว ณ วันท่ี ๑๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๐ เปนปท่ี ๖๒ ในรัชกาลปจจุบัน

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯใหประกาศวา โดยท่ีเปนการสมควรมีกฎหมายวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหตราพระราชบัญญัติข้ึนไวโดยคําแนะนําและยินยอม ของสภานิติ

บัญญัติแหงชาติ ดังตอไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

พ.ศ. ๒๕๕๐” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเม่ือพนกําหนดสามสิบวันนับแตวันประกาศในราชกิจจา

นุเบกษาเปนตนไป มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้

“ระบบคอมพิวเตอร” หมายความวา อุปกรณหรือชุดอุปกรณของคอมพิวเตอรท่ีเช่ือมการทํางานเขาดวยกัน โดยไดมีการกําหนดคําส่ัง ชุดคําส่ัง หรือส่ิงอ่ืนใด และแนวทางปฏิบัติงานใหอุปกรณ หรือชุดอุปกรณทําหนาท่ีประมวลผลขอมูลโดยอัตโนมัติ

“ขอมูลคอมพิวเตอร” หมายความวา ขอมูล ขอความ คําส่ัง ชุดคําส่ัง หรือส่ิงอ่ืนใดบรรดาท่ีอยูในระบบคอมพิวเตอรในสภาพที่ระบบคอมพิวเตอรอาจประมวลผลได และใหหมายความรวมถึง ขอมูลอิเล็กทรอนิกสตามกฎหมายวาดวยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสดวย

Page 60: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

53

“ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร” หมายความวา ขอมูลเกี่ยวกับการติดตอส่ือสารของระบบคอมพิวเตอร ซ่ึงแสดงถึงแหลงกําเนิด ตนทาง ปลายทาง เสนทาง เวลา วันท่ี ปริมาณ ระยะเวลา ชนิดของบริการ หรืออ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวของกับการติดตอส่ือสารของระบบคอมพิวเตอรนั้น

“ผูใหบริการ” หมายความวา (๑) ผูใหบริการแกบุคคลอื่นในการเขาสูอินเทอรเน็ต หรือใหสามารถติดตอถึงกันโดยประการ

อ่ืน โดยผานทางระบบคอมพิวเตอร ท้ังนี้ ไมวาจะเปนการใหบริการในนามของตนเอง หรือในนามหรือเพื่อประโยชนของบุคคลอ่ืน

(๒) ผูใหบริการเก็บรักษาขอมูลคอมพิวเตอรเพื่อประโยชนของบุคคลอ่ืน “ผูใชบริการ” หมายความวา ผูใชบริการของผูใหบริการไมวาตองเสียคาใชบริการหรือไมก็ตาม “พนักงานเจาหนาท่ี” หมายความวา ผูซ่ึงรัฐมนตรีแตงต้ังใหปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ “รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้

มาตรา ๔ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารรักษาการ ตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจออกกฎกระทรวงเพ่ือปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้กฎกระทรวงน้ัน เม่ือไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได

หมวด ๑ ความผดิเก่ียวกับคอมพิวเตอร

มาตรา ๕ ผูใดเขาถึงโดยมิชอบซ่ึงระบบคอมพิวเตอรท่ีมีมาตรการปองกันการเขาถึงโดยเฉพาะและ

มาตรการนั้นมิไดมีไวสําหรับตน ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกินหนึ่งหม่ืนบาท หรือท้ังจําท้ังปรับ

มาตรา ๖ ผูใดลวงรูมาตรการปองกันการเขาถึงระบบคอมพิวเตอรท่ีผูอ่ืนจัดทําข้ึนเปนการเฉพาะถานํามาตรการดังกลาวไปเปดเผยโดยมิชอบในประการท่ีนาจะเกิดความเสียหายแกผูอ่ืนตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหม่ืนบาท หรือท้ังจําท้ังปรับ

มาตรา ๗ ผูใดเขาถึงโดยมิชอบซ่ึงขอมูลคอมพิวเตอรท่ีมีมาตรการปองกันการเขาถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิไดมีไวสําหรับตน ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสองปหรือปรับไมเกินส่ีหม่ืนบาทหรือท้ังจําท้ังปรับ

มาตรา ๘ ผูใดกระทําดวยประการใดโดยมิชอบดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสเพื่อดักรับไวซ่ึงขอมูลคอมพิวเตอรของผูอ่ืนท่ีอยูระหวางการสงในระบบคอมพิวเตอร และขอมูลคอมพิวเตอรนั้นมิไดมีไวเพื่อประโยชนสาธารณะหรือเพื่อใหบุคคลท่ัวไปใชประโยชนไดตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหกหม่ืนบาท หรือท้ังจําท้ังปรับ

Page 61: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

54

มาตรา ๙ ผูใดทําใหเสียหาย ทําลาย แกไข เปล่ียนแปลง หรือเพิ่มเติมไมวาท้ังหมดหรือบางสวน ซ่ึงขอมูลคอมพิวเตอรของผูอ่ืนโดยมิชอบ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหาป หรือปรับไมเกินหนึ่งแสนบาท หรือท้ังจําท้ังปรับ

มาตรา ๑๐ ผูใดกระทําดวยประการใดโดยมิชอบ เพื่อใหการทํางานของระบบคอมพิวเตอรของผูอ่ืนถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไมสามารถทํางานตามปกติไดตองระวางโทษจําคุกไมเกินหาป หรือปรับไมเกินหนึ่งแสนบาท หรือท้ังจําท้ังปรับ

มาตรา ๑๑ ผูใดสงขอมูลคอมพิวเตอรหรือจดหมายอิเล็กทรอนิกสแกบุคคลอ่ืนโดยปกปดหรือปลอมแปลงแหลงท่ีมาของการสงขอมูลดังกลาว อันเปนการรบกวนการใชระบบคอมพิวเตอรของบุคคลอ่ืนโดยปกติสุข ตองระวางโทษปรับไมเกินหนึ่งแสนบาท

มาตรา ๑๒ ถาการกระทําความผิดตามมาตรา ๙ หรือมาตรา ๑๐ (๑) กอใหเกิดความเสียหายแกประชาชน ไมวาความเสียหายนั้นจะเกิดข้ึนในทันทีหรือใน

ภายหลังและไมวาจะเกิดข้ึนพรอมกันหรือไม ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสิบป และปรับไมเกินสองแสนบาท

(๒) เปนการกระทําโดยประการท่ีนาจะเกิดความเสียหายตอขอมูลคอมพิวเตอร หรือระบบคอมพิวเตอรท่ีเกี่ยวกับการรักษาความม่ันคงปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะความม่ันคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือการบริการสาธารณะ หรือเปนการกระทําตอขอมูลคอมพิวเตอรหรือระบบคอมพิวเตอรท่ีมีไวเพื่อประโยชนสาธารณะ ตองระวางโทษจําคุกต้ังแตสามปถึงสิบหาป และปรับต้ังแตหกหม่ืนบาทถึงสามแสนบาทถาการกระทําความผิดตาม (๒) เปนเหตุใหผูอ่ืนถึงแกความตาย ตองระวางโทษจําคุกต้ังแตสิบปถึงยี่สิบป มาตรา ๑๓ ผูใดจําหนายหรือเผยแพรชุดคําส่ังท่ีจัดทําข้ึนโดยเฉพาะเพื่อนําไปใชเปนเครื่องมือในการ

กระทําความผิดตามมาตรา ๕ มาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๘ มาตรา ๙ มาตรา ๑๐หรือมาตรา ๑๑ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหม่ืนบาท หรือท้ังจําท้ังปรับ

มาตรา ๑๔ ผูใดกระทําความผิดท่ีระบุไวดังตอไปนี้ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหาปหรือปรับไมเกินหนึ่งแสนบาท หรือท้ังจําท้ังปรับ

(๑) นําเขาสูระบบคอมพิวเตอรซ่ึงขอมูลคอมพิวเตอรปลอมไมวาท้ังหมดหรือบางสวนหรือขอมูลคอมพิวเตอรอันเปนเท็จ โดยประการที่นาจะเกิดความเสียหายแกผูอ่ืนหรือประชาชน

(๒) นําเขาสูระบบคอมพิวเตอรซ่ึงขอมูลคอมพิวเตอรอันเปนเท็จ โดยประการที่นาจะเกิดความเสียหายตอความม่ันคงของประเทศหรือกอใหเกิดความต่ืนตระหนกแกประชาชน

(๓) นําเขาสูระบบคอมพิวเตอรซ่ึงขอมูลคอมพิวเตอรใด ๆ อันเปนความผิดเกี่ยวกับความม่ันคงแหงราชอาณาจักรหรือความผิดเกี่ยวกับการกอการรายตามประมวลกฎหมายอาญา

(๔) นําเขาสูระบบคอมพิวเตอร ซ่ึงขอมูลคอมพิวเตอรใด ๆ ท่ีมีลักษณะอันลามกและขอมูลคอมพิวเตอรนั้นประชาชนท่ัวไปอาจเขาถึงได

Page 62: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

55

(๕) เผยแพรหรือสงตอซ่ึงขอมูลคอมพิวเตอรโดยรูอยูแลววาเปนขอมูลคอมพิวเตอรตาม(๑)(๒) (๓) หรือ (๔) มาตรา ๑๕ ผูใหบริการผูใดจงใจสนับสนุนหรือยินยอมใหมีการกระทําความผิดตามมาตรา ๑๔ในระบบ

คอมพิวเตอรท่ีอยูในความควบคุมของตน ตองระวางโทษเชนเดียวกับผูกระทําความผิดตามมาตรา ๑๔ มาตรา ๑๖ ผูใดนํา เขาสูระบบคอมพิวเตอรท่ีประชาชนท่ัวไปอาจเขาถึงไดซ่ึงขอมูลคอมพิวเตอรท่ี

ปรากฏเปนภาพของผูอ่ืน และภาพนั้นเปนภาพท่ีเกิดจากการสรางข้ึน ตัดตอเติม หรือดัดแปลงดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสหรือวิธีการอ่ืนใด ท้ังนี้ โดยประการที่นาจะทําใหผูอ่ืนนั้น เสียช่ือเสียง ถูกดูหม่ิน ถูกเกลียดชัง หรือไดรับความอับอาย ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามป หรือ ปรับไมเกินหกหม่ืนบาท หรือท้ังจําท้ังปรับถาการกระทําตามวรรคหน่ึง เปนการนําเขาขอมูลคอมพิวเตอรโดยสุจริต ผูกระทําไมมีความผิด ความผิดตามวรรคหนึ่งเปนความผิดอันยอมความได ถาผูเสียหายในความผิดตามวรรคหน่ึงตายเสียกอนรองทุกข ใหบิดา มารดา คูสมรสหรือบุตรของผูเสียหายรองทุกขได และใหถือวาเปนผูเสียหาย

มาตรา ๑๗ ผูใดกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้นอกราชอาณาจักรและ (๑) ผูกระทําความผิดนั้นเปนคนไทย และรัฐบาลแหงประเทศท่ีความผิดไดเกิดข้ึนหรือ

ผูเสียหายไดรองขอใหลงโทษ หรือ (๒) ผูกระทําความผิดนั้นเปนคนตางดาว และรัฐบาลไทยหรือคนไทยเปนผูเสียหายและ

ผูเสียหายไดรองขอใหลงโทษจะตองรับโทษภายในราชอาณาจักร

หมวด ๒ พนักงานเจาหนาท่ี

มาตรา ๑๘ ภายใตบังคับมาตรา ๑๙ เพื่อประโยชนในการสืบสวนและสอบสวนในกรณีท่ีมีเหตุอันควรเช่ือไดวามีการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ใหพนักงานเจาหนาท่ีมีอํานาจอยางหนึ่งอยางใด ดังตอไปนี้ เฉพาะท่ีจําเปนเพื่อประโยชนในการใชเปนหลักฐานเกี่ยวกับการกระทําความผิดและหาตัวผูกระทําความผิด

(๑) มีหนังสือสอบถามหรือเรียกบุคคลท่ีเกี่ยวของกับการกระทํา ความผิดตามพระราชบัญญัตินี้มาเพื่อใหถอยคํา สงคําช้ีแจงเปนหนังสือ หรือสงเอกสาร ขอมูล หรือหลักฐานอ่ืนใดที่อยูในรูปแบบท่ีสามารถเขาใจได

(๒) เรียกขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรจากผูใหบริการเกี่ยวกับการติดตอส่ือสารผานระบบคอมพิวเตอรหรือจากบุคคลอ่ืนท่ีเกี่ยวของ

(๓) ส่ังใหผูใหบริการสงมอบขอมูลเกี่ยวกับผูใชบริการที่ตองเก็บตามมาตรา ๒๖ หรือท่ีอยูในความครอบครองหรือควบคุมของผูใหบริการใหแกพนักงานเจาหนาท่ี

(๔) ทําสําเนาขอมูลคอมพิวเตอร ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร จากระบบคอมพิวเตอรท่ีมีเหตุอันควรเช่ือไดวามีการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ในกรณีท่ีระบบคอมพิวเตอรนั้นยังมิไดอยูในความครอบครองของพนักงานเจาหนาท่ี

Page 63: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

56

(๕) ส่ังใหบุคคลซ่ึงครอบครองหรือควบคุมขอมูลคอมพิวเตอร หรืออุปกรณท่ีใชเก็บขอมูลคอมพิวเตอร สงมอบขอมูลคอมพิวเตอร หรืออุปกรณดังกลาวใหแกพนักงานเจาหนาท่ี

(๖) ตรวจสอบหรือเขาถึงระบบคอมพิวเตอร ขอมูลคอมพิวเตอร ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรหรืออุปกรณท่ีใชเก็บขอมูลคอมพิวเตอรของบุคคลใด อันเปนหลักฐานหรืออาจใชเปนหลักฐานเกี่ยวกับการกระทําความผิด หรือเพื่อสืบสวนหาตัวผูกระทําความผิดและส่ังใหบุคคลนั้นสงขอมูลคอมพิวเตอรขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร ท่ีเกี่ยวของเทาท่ีจําเปนใหดวยก็ได

(๗) ถอดรหัสลับของขอมูลคอมพิวเตอรของบุคคลใด หรือส่ังใหบุคคลท่ีเกี่ยวของกับการเขารหัสลับของขอมูลคอมพิวเตอร ทําการถอดรหัสลับ หรือใหความรวมมือกับพนักงานเจาหนาท่ีในการถอดรหัสลับดังกลาว

(๘) ยึดหรืออายัดระบบคอมพิวเตอรเทาท่ีจําเปนเฉพาะเพื่อประโยชนในการทราบรายละเอียดแหงความผิดและผูกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๑๙ การใชอํานาจของพนักงานเจาหนาท่ีตามมาตรา ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ(๘) ใหพนักงาน

เจาหนาท่ียื่นคํารองตอศาลท่ีมีเขตอํานาจเพื่อมีคําส่ังอนุญาตใหพนักงานเจาหนาท่ีดําเนินการตามคํารอง ท้ังนี้ คํารองตองระบุเหตุอันควรเช่ือไดวาบุคคลใดกระทําหรือกําลังจะกระทําการอยางหนึ่งอยางใดอันเปนความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ เหตุท่ีตองใชอํานาจ ลักษณะของการกระทําความผิด รายละเอียดเกี่ยวกับอุปกรณท่ีใชในการกระทําความผิดและผูกระทําความผิด เทาท่ีสามารถจะระบุได ประกอบคํารองดวยในการพิจารณาคํารองใหศาลพิจารณาคํารองดังกลาวโดยเร็ว

เม่ือศาลมีคําส่ังอนุญาตแลว กอนดําเนินการตามคําส่ังของศาล ใหพนักงานเจาหนาท่ีสงสําเนาบันทึกเหตุอันควรเช่ือท่ีทําใหตองใชอํานาจตามมาตรา ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) มอบใหเจาของหรือผูครอบครองระบบคอมพิวเตอรนั้นไวเปนหลักฐาน แตถาไมมีเจาของหรือผูครอบครองเคร่ืองคอมพิวเตอรอยู ณ ท่ีนั้น ใหพนักงานเจาหนาท่ีสงมอบสําเนาบันทึกนั้นใหแกเจาของหรือผูครอบครองดังกลาวในทันทีท่ีกระทําได

ใหพนักงานเจาหนาท่ีผูเปนหัวหนาในการดําเนินการตามมาตรา ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗)และ(๘) สงสําเนาบันทึกรายละเอียดการดําเนินการและเหตุผลแหงการดําเนินการใหศาลที่มีเขตอํานาจภายในส่ีสิบแปดช่ัวโมงนับแตเวลาลงมือดําเนินการ เพื่อเปนหลักฐาน

การทําสําเนาขอมูลคอมพิวเตอรตามมาตรา ๑๘ (๔) ใหกระทําไดเฉพาะเม่ือมีเหตุอันควรเช่ือไดวามีการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ และตองไมเปนอุปสรรคในการดําเนินกิจการของเจาของหรือผูครอบครองขอมูลคอมพิวเตอรนั้นเกินความจําเปน

การยึดหรืออายัดตามมาตรา ๑๘ (๘) นอกจากจะตองสงมอบสําเนาหนังสือแสดงการยึดหรืออายัดมอบใหเจาของหรือผูครอบครองระบบคอมพิวเตอรนั้นไวเปนหลักฐานแลวพนักงานเจาหนาท่ีจะส่ังยึดหรืออายัดไวเกินสามสิบวันมิได ในกรณีจําเปนท่ีตองยึดหรืออายัดไวนานกวานั้นใหยื่นคํารองตอศาลท่ีมีเขตอํานาจเพื่อขอขยายเวลายึดหรืออายัดได แตศาลจะอนุญาตใหขยายเวลาคร้ังเดียวหรือหลายคร้ังรวมกันไดอีกไมเกินหกสิบวัน

Page 64: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

57

เม่ือหมดความจําเปนท่ีจะยึดหรืออายัดหรือครบกําหนดเวลาดังกลาวแลว พนักงานเจาหนาท่ีตองสงคืนระบบคอมพิวเตอรท่ียึดหรือถอนการอายัดโดยพลัน

หนังสือแสดงการยึดหรืออายัดตามวรรคหาใหเปนไปตามท่ีกําหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๒๐ ในกรณีท่ีการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ เปนการทําใหแพรหลายซ่ึง

ขอมูลคอมพิวเตอรท่ีอาจกระทบกระเทือนตอความม่ันคงแหงราชอาณาจักรตามท่ีกําหนดไวในภาคสองลักษณะ ๑ หรือลักษณะ ๑/๑ แหงประมวลกฎหมายอาญา หรือท่ีมีลักษณะขัดตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน พนักงานเจาหนาท่ีโดยได รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรีอาจยื่นคํารองพรอมแสดงพยานหลักฐานตอศาลท่ีมีเขตอํานาจขอใหมีคําส่ังระงับการทําใหแพรหลายซ่ึงขอมูลคอมพิวเตอรนั้นได

ในกรณีท่ีศาลมีคําส่ังใหระงับการทําใหแพรหลายซ่ึงขอมูลคอมพิวเตอรตามวรรคหน่ึงใหพนักงานเจาหนาท่ีทําการระงับการทําใหแพรหลายนั้นเอง หรือส่ังใหผูใหบริการระงับการทําใหแพรหลายซ่ึงขอมูลคอมพิวเตอรนั้นก็ได

มาตรา ๒๑ ในกรณีท่ีพนักงานเจาหนาท่ีพบวา ขอมูลคอมพิวเตอรใดมีชุดคําส่ังไมพึงประสงครวมอยูดวย พนักงานเจาหนาท่ีอาจยื่นคํารองตอศาลท่ีมีเขตอํานาจเพ่ือขอใหมีคําส่ังหามจําหนายหรือเผยแพร หรือส่ังใหเจาของหรือผูครอบครองขอมูลคอมพิวเตอรนั้นระงับการใช ทําลายหรือแกไขขอมูลคอมพิวเตอรนั้นได หรือจะกําหนดเง่ือนไขในการใช มีไวในครอบครอง หรือเผยแพรชุดคําส่ังไมพึงประสงคดังกลาวก็ได

ชุดคําส่ังไมพึงประสงคตามวรรคหนึ่งหมายถึงชุดคําส่ังท่ีมีผลทําใหขอมูลคอมพิวเตอรหรือระบบคอมพิวเตอรหรือชุดคําส่ังอ่ืนเกิดความเสียหาย ถูกทําลาย ถูกแกไขเปล่ียนแปลงหรือเพิ่มเติมขัดของ หรือปฏิบัติงานไมตรงตามคําส่ังท่ีกําหนดไว หรือโดยประการอ่ืนตามท่ีกําหนดในกฎกระทรวงท้ังนี้ เวนแตเปนชุดคําส่ังท่ีมุงหมายในการปองกันหรือแกไขชุดคําส่ังดังกลาวขางตนตามท่ีรัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา

มาตรา ๒๒ หามมิใหพนักงานเจาหนาท่ีเปดเผยหรือสงมอบขอมูลคอมพิวเตอร ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร หรือขอมูลของผูใชบริการ ท่ีไดมาตามมาตรา ๑๘ ใหแกบุคคลใด

ความในวรรคหน่ึงมิใหใชบังคับกับการกระทําเพื่อประโยชนในการดําเนินคดีกับผูกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ หรือเพื่อประโยชนในการดําเนินคดีกับพนักงานเจาหนาท่ีเกี่ยวกับการใชอํานาจหนาท่ีโดยมิชอบ หรือเปนการกระทําตามคําส่ังหรือท่ีไดรับอนุญาตจากศาล

พนักงานเจาหนาท่ีผูใดฝาฝนวรรคหน่ึงตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหกหม่ืนบาท หรือท้ังจําท้ังปรับ

มาตรา ๒๓ พนักงานเจาหนาท่ีผูใดกระทําโดยประมาทเปนเหตุใหผูอ่ืนลวงรูขอมูลคอมพิวเตอรขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร หรือขอมูลของผูใชบริการ ท่ีไดมาตามมาตรา ๑๘ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือท้ังจําท้ังปรับมาตรา ๒๔ ผูใดลวงรูขอมูลคอมพิวเตอร ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรหรือขอมูลของผูใชบริการ ท่ีพนักงานเจาหนาท่ีไดมาตามมาตรา ๑๘ และเปดเผยขอมูลนั้นตอผูหนึ่งผูใด ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสองป หรือปรับไมเกินส่ีหม่ืนบาท หรือท้ังจําท้ังปรับมาตรา ๒๕ ขอมูล

Page 65: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

58

ขอมูลคอมพิวเตอร หรือขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรท่ีพนักงานเจาหนาท่ีไดมาตามพระราชบัญญัตินี้ ใหอางและรับฟงเปนพยานหลักฐานตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาหรือกฎหมายอ่ืนอันวาดวยการสืบพยานได แตตองเปนชนิดท่ีมิไดเกิดขึ้นจากการจูงใจมีคําม่ันสัญญา ขูเข็ญ หลอกลวง หรือโดยมิชอบประการอ่ืน

มาตรา ๒๖ ผูใหบริการตองเก็บรักษาขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรไวไมนอยกวาเกาสิบวันนับแตวันท่ีขอมูลนั้นเขาสูระบบคอมพิวเตอร แตในกรณีจําเปนพนักงานเจาหนาท่ีจะส่ังใหผูใหบริการผูใดเก็บรักษาขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรไวเกินเกาสิบวันแตไมเกินหนึ่งปเปนกรณีพิเศษเฉพาะรายและเฉพาะคราวก็ได

ผูใหบริการจะตองเก็บรักษาขอมูลของผูใชบริการเทาท่ีจําเปนเพื่อใหสามารถระบุตัวผูใชบริการนับต้ังแตเร่ิมใชบริการและตองเก็บรักษาไวเปนเวลาไมนอยกวาเกาสิบวันนับต้ังแตการใชบริการส้ินสุดลง

ความในวรรคหน่ึงจะใชกับผูใหบริการประเภทใด อยางไร และเม่ือใด ใหเปนไปตามท่ีรัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษาผูใหบริการผูใดไมปฏิบัติตามมาตรานี้ ตองระวางโทษปรับไมเกินหาแสนบาท

มาตรา ๒๗ ผูใดไมปฏิบัติตามคําส่ังของศาลหรือพนักงานเจาหนาท่ีท่ีส่ังตามมาตรา ๑๘หรือมาตรา ๒๐ หรือไมปฏิบัติตามคําส่ังของศาลตามมาตรา ๒๑ ตองระวางโทษปรับไมเกินสองแสนบาทและปรับเปนรายวันอีกไมเกินวันละหาพันบาทจนกวาจะปฏิบัติใหถูกตอง

มาตรา ๒๘ การแตงต้ังพนักงานเจาหนาท่ีตามพระราชบัญญัตินี้ ใหรัฐมนตรีแตงต้ังจากผูมีความรูและความชํานาญเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอรและมีคุณสมบัติตามท่ีรัฐมนตรีกําหนด

มาตรา ๒๙ ในการปฏิบัติหนาท่ีตามพระราชบัญญัตินี้ ใหพนักงานเจาหนาท่ีเปนพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจช้ันผูใหญตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามีอํานาจรับคํารองทุกขหรือรับคํากลาวโทษ และมีอํานาจในการสืบสวนสอบสวนเฉพาะความผิดตามพระราชบัญญัตินี้

ในการจับ ควบคุม คน การทําสํานวนสอบสวนและดําเนินคดีผูกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ บรรดาท่ีเปนอํานาจของพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจช้ันผูใหญ หรือพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ใหพนักงานเจาหนาท่ีประสานงานกับพนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบเพื่อดําเนินการตามอํานาจหนาท่ีตอไป

ใหนายกรัฐมนตรีในฐานะผูกํากับดูแลสํานักงานตํารวจแหงชาติและรัฐมนตรีมีอํานาจรวมกันกําหนดระเบียบเกี่ยวกับแนวทางและวิธีปฏิบัติในการดําเนินการตามวรรคสอง

มาตรา ๓๐ ในการปฏิบัติหนาท่ี พนักงานเจาหนาท่ีตองแสดงบัตรประจําตัวตอบุคคลซ่ึงเกี่ยวของ บัตรประจําตัวของพนักงานเจาหนาท่ีใหเปนไปตามแบบท่ีรัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา

ผูรับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก สุรยุทธ จุลานนท นายกรัฐมนตรี

Page 66: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

59

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากในปจจุบันระบบคอมพิวเตอรไดเปนสวนสําคัญของการประกอบกิจการและการดํารงชีวิตของมนุษย หากมีผูกระทําดวยประการใด ๆ ใหระบบคอมพิวเตอรไมสามารถทํางานตามคําส่ังท่ีกําหนดไวหรือทําใหการทํางานผิดพลาดไปจากคําส่ังท่ีกําหนดไว หรือใชวิธีการใด ๆ เขาลวงรูขอมูล แกไข หรือทําลายขอมูลของบุคคลอ่ืนในระบบคอมพิวเตอรโดยมิชอบ หรือใชระบบคอมพิวเตอรเพื่อเผยแพรขอมูลคอมพิวเตอรอันเปนเท็จหรือมีลักษณะอันลามกอนาจาร ยอมกอใหเกิดความเสียหายกระทบกระเทือนตอเศรษฐกิจ สังคม และความม่ันคงของรัฐ รวมท้ังความสงบสุขและศีลธรรมอันดีของประชาชน สมควรกําหนดมาตรการเพ่ือปองกันและปราบปรามการกระทําดังกลาว จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้

Page 67: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

60

ภาคผนวก ข

แบบสอบถาม

การรับรูและความเขาใจตอการกระทําความผิดตาม พ.ร.บ.วาดวยการกระทําความผิดทางคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 โครงการ English Program

โรงเรียนอัสสัมชัญ แผนกประถม ปการศึกษา 2558

คําชี้แจง : แบบสอบถามนี้จัดทําข้ึนเพื่อ ศึกษาการรับรูและความเขาใจตอการกระทําความผิดตาม พ.ร.บ.วาดวยการกระทําความผิดทางคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โครงการ English Program ขอมูลท่ีไดจากแบบสอบถามจะนํามาใชในการวิเคราะหแบบภาพรวมโดย ไมแจกแจงรายบุคคล สวนท่ี 1 การรับรูและความเขาใจตอการกระทําความผิดตาม พ.ร.บ.วาดวยการกระทําความผิดทางคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 1.1 นักเรียนคิดวาเนื้อหาตอไปนีใ้ช หรือ ไมใช เนื้อหาของพระราชบัญญัติฯ โปรดใสเคร่ืองหมาย ลงในชอง

ขอท่ี เนื้อหาสาระของพระราชบญัญัติ ใช ไมใช

1.1.1 ประเทศไทยไดประกาศใหใชพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 2550 ใน วันท่ี 18 มิถุนายน 2550

1.1.2 มีผลบังคับใหใช พ.ร.บ. ดังกลาวหลังจากวันท่ีประกาศเปน เวลา 20 วัน คือวันท่ี 8 กรกฎาคม 2550

1.1.3 มีการผอนผันระยะเวลา ในการจัดเก็บขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรของผูใหบริการ เปนเวลาคร่ึงปหลังจากวันท่ีประกาศใชพระราชบัญญัติฯ

1.1.4 ระบบคอมพิวเตอร คือ อุปกรณหรือชุดอุปกรณของคอมพิวเตอรท่ีทําหนาท่ีรับเขา สงออก หรือบันทึกขอมูลโดยเช่ือมการทํางานเขาดวยกัน

1.1.5 ขอมูลคอมพิวเตอร คือ ขอมูล ขอความ คําส่ัง หรือชุดคําส่ังท่ีอยูในระบบคอมพิวเตอรในสภาพท่ี ระบบคอมพิวเตอรอาจประมวลผลได

Page 68: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

61

ขอท่ี เนื้อหาสาระของพระราชบญัญัติ ใช ไมใช

1.1.6

ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร คือ ขอมูลการใชงานของเราท่ีรถบรรทุกจะนําขอมูลของนั้นไปสงใหบริษัทท่ีเราเขาไปใชระบบของเขาโดยใชคอมพิวเตอรเปนผูควบคุมการเดินรถของรถคันดังกลาว

1.1.7 ผูใหบริการ ท่ีกลาวใน พ.ร.บ. คือ ผูใหบริการแกบุคคลอ่ืนใหเขาสูอินเทอรเน็ตหรือระบบคอมพิวเตอรท้ังในนามของตนเองและของผูอ่ืน เชน รานอินเทอรเน็ต, มหาวิทยาลัย

1.1.8 ผูใหบริการ ท่ีกลาวใน พ.ร.บ. คือ เปนผูใหบริการเก็บรักษาขอมูลคอมพิวเตอรเพื่อประโยชนของบุคคลอ่ืน เชน web board หรือ web service ฯลฯ

1.1.9 ผูใชบริการ ท่ีกลาวใน พ.ร.บ. คือ ผูใชบริการของผูใหบริการไมวาตองเสียคาใชบริการหรือไมเสียคาใชบริการ เชน ลูกคารานอินเทอรเน็ต นิสิตนักศึกษา ฯลฯ

1.1.10

พนักงานเจาหนาท่ี ท่ีกลาวใน พ.ร.บ. คือ ผูท่ีมีความรูและความเช่ียวชาญเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร มีอํานาจในการสืบสวนสอบสวนการกระทําความผิด โดยรัฐมนตรีเปนผูแตงต้ังใหปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้

1.1.11 ผูใหบริการ ไมตองจัดเก็บขอมูลการจราจรทางคอมพิวเตอรซ่ึงไดแก ขอมูลผูใชบริการ ขอมูลการติดตอระหวางตนทางและปลายทาง เวลาท่ีติดตอฯลฯ เปนเวลาอยางนอย 90 วัน

1.1.12 การแจงดําเนินคดีแกผูกระทําความผิดทางคอมพิวเตอรแจงไดท่ีสถานีตํารวจท่ัวประเทศ และสํานักงานกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ

1.1.13 ผูท่ีกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร ท่ีเปนคนไทยตองถูกลงโทษในประเทศไทย สวนคนตางดาวท่ีอยูในประเทศไทยไมตองถูกลงโทษ

Page 69: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

62

1.2 นักเรียนคิดวาการกระทําตอไปนี้มีความผิดตามพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกีย่วกับ คอมพิวเตอร 2550 หรือไม โปรดใสเคร่ืองหมาย ลงในชอง

ขอท่ี เนื้อหาสาระของพระราชบญัญัติ มี

ความผดิ ไมมี

ความผดิ

1.2.1 นักเรียนเห็น Password ท่ีเคร่ือง iPad ของเพื่อนติดอยู นักเรียนจึงนํารหัส Login เขาใช iPad ของเพื่อนในการ search หาขอมูลเพื่อทํารายงาน

1.2.2 มีการ Hack ระบบของโรงเรียน คนรายไดนําวิธีการ Hackไปโพสตไวในกระทู นักเรียนเขาไปอานเจอแลวนําวิธีการ Hack ระบบนั้น ไปบอกใหเพื่อนทราบ

1.2.3 เพื่อนท่ีนั่งขางๆลุกไปเขาหองน้ํา นักเรียนจึงเขาไปอานE-mail ของเขาโดยคอมพิวเตอรของเขาไดต้ังล็อคหนาจอไวแตนักเรียนไดเขาไปอานกอนท่ีหนาจอเขาจะล็อค

1.2.4

ในฐานะท่ีนักเรียนเปนผูดูแลระบบคอมพิวเตอรของโรงเรียน ผูอํานวยการไดส่ังใหนักเรียนดักขอมูลการสนทนา โปรแกรม Line ของเพื่อนๆ เพื่อหาดูวานักเรียนคนไหนนําขอมูลขอสอบไปเปดเผย ในฐานะผูดูแลระบบ นักเรียนมีความผิดหรือไม

1.2.5 นักเรียนใจดีอยากจะทดสอบระบบการปองกันใหเพื่อน โดยนักเรียน จะทําการ Hack ระบบของเขาและทําการแกไขคําส่ังการทํางานของระบบใหถูกตองมากข้ึนโดยท่ีเจาของระบบไมทราบมากอน

1.2.6 นักเรียนเปนผูติดต้ังระบบอินเทอรเน็ตใหกับโรงเรียน เม่ือติดต้ังเสร็จแลวทําใหคอมพิวเตอรของเพื่อนๆในโรงเรียนทํางานชากวาปกติ

1.2.7 นักเรียนสง E-mail เชิญชวนใหคนอ่ืนมาเท่ียวและพักในโรงแรมของนักเรียน โดยใชช่ือใน E-mail อางวาเพื่อนของเขาเปนผูสงมาให

1.2.8 นักเรียนไมไดเปนผูเจาะระบบคอมพิวเตอรแตเปนผูแจกโปรแกรมเจาะระบบใหแกคนอ่ืนๆ

1.2.9 นักเรียนโพสตขอความไวท่ี Facebook ของโรงเรียนวา ”โรงเรียนประกาศหยุดทําการเรียนการสอน 1 วัน” เพื่อท่ีจะไดไมตองมาโรงเรียน

Page 70: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

63

ขอท่ี เนื้อหาสาระของพระราชบญัญัติ มี

ความผดิ ไมมี

ความผดิ

1.2.10 นักเรียนเปนเจาของเว็บบอรดท่ีมีผูใชบริการมาโพสตกลาวหากัน แลวมีผูเสียหายแจงใหทําการลบขอความดังกลาว ซ่ึงทานใชเวลาในการลบหลังจากท่ีมีผูแจงใหลบเปนเวลา 15 วัน

1.2.11 นักเรียน Forward E-mail ท่ีไดรับโดยไมทันไดตรวจขอความใน E-mail วาเปนภาพลามกใหเพื่อน

สวนท่ี 2 ทานคิดวาพฤติกรรมตอไปนี้ ควร หรือไมควรทาํ โปรดใสเคร่ืองหมาย ลงในชอง

ขอท่ี พฤติกรรมของทาน ควร ไมควร

2.1 นักเรียนใช User, Password ของเพื่อนในการเขาใชคอมพิวเตอร หรือ อินเทอรเน็ต โดยเพื่อนของทานไมทราบ

2.2 นักเรียนบอกข้ันตอนวิธีการเขาระบบของโปรแกรม หรือ ระบบ ตางๆ ของผูอ่ืน ท่ีนักเรียนทราบใหเพื่อนฟง

2.3 นักเรียน สมัครสมาชิก E-mail, สมาชิกของ Game ,สมาชิกบนเว็บไซตตาง ๆโดยใชขอมูลของเพ่ือนและเพื่อนไมทราบ

2.4 นักเรียนใชโปรแกรมดักขอมูลการสง E-mail เพื่อน เพื่อแกลงเพื่อน

2.5 นักเรียนแกไขขอความของเพ่ือนท่ีเขาพิมพเตรียมจะสงใหคนท่ี เขากําลังสนทนาอยูใน Line ตอนท่ีเขาไมอยู

2.6 นักเรียนเสียบ Flash Drive ท่ีมี Virus เขาไปในเคร่ืองคอมพิวเตอรของเพื่อนเพื่อใหเคร่ืองของเพื่อนติด Virus

2.7 นักเรียน Sing in เปนผูอ่ืนแลวสง E-mail หรือขอความใหผูอ่ืน เพื่อใหเคร่ืองเขาคางหรือทํางานไมได

2.8 นักเรียนดาวนโหลดโปรแกรมชวยเลน Game จากเว็บไซตแลวนําไปใชเองและแจกใหเพื่อนคนอ่ืนดวย

2.9 นักเรียน Copy ขอมูลบทความทางวิชาการที่ไดจากเว็บไซตแลวแกไขใหเปนของตนเพ่ือสงใหคุณครูทาง E-mail

2.10 นักเรียนตัดตอภาพเพื่อนใหดูตลก แลวนําไปโพสตไวท่ี Facebook หรือสง E-mail ใหเพื่อนอีกคนดู

Page 71: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ...swis.acp.ac.th/pdf/research2558/58-38.pdfป การศ กษา 2558 ช องานว จ ย

64

ประวัติยอของผูวิจัย ชื่อ - ชื่อสกุล นางสาวนัดติกาญจน ทองบุญฤทธ์ิ วัน เดือน ป เกิด 11 มิถุนายน 2526 สถานท่ีเกิด โพธ์ิทอง อางทอง สถานท่ีอยูปจจุบัน 34 หมู 4 ตําบลบางระกํา อําเภอโพธ์ิทอง จงัหวัดอางทอง ตําแหนงในปจจุบัน ครูฝายเทคโนโลยีและประชาสัมพันธ English Program และ

ครูผูสอนคอมพิวเตอร ระดับช้ันประถมศึกษาปท่ี 3,4 English Program สถานท่ีทางานในปจจุบัน โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ประวัติการศึกษา

พ.ศ. 2541 มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนบางมดวิทยา สีสุกหวาดจวนอุปถัมภ พ.ศ. 2545 มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา พ.ศ. 2552 มหาบัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการจดัการ

มหาวิทยาลัยเชียงใหม